SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
บทที่ 4
พัฒนาการทางการเมือง (Political Development)
คําวา พัฒนาการทางการเมือง เปนคําใหม ยังไมมีความหมายอันหนึ่งอันเดียวที่ยอมรับกันในหมู
นักวิชาการ นักรัฐศาสตรไดพยายามใหความหมายไวตาง ๆ กันและความหมายที่ใหกับอยูไวเปนจํานวนมาก
ลูเซียน พาย (Lucian W. Pye) ไดรวบรวมความหมายของการพัฒนาการทางการเมืองที่นักรัฐศาสตร
ใหไว พอสรุปไดดังนี้0
(1)
1. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเมืองอันจําเปนตอการปรับปรุงและพัฒนาทางเศรษฐกิจ
2. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเมืองในสังคมอุตสาหกรรม
3. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงการเมืองใหเปนสมัยใหม
4. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการดําเนินงานของรัฐชาติ ซึ่งมีลักษณะที่รัฐบาลมีอํานาจ
ครอบคลุมทั้งประเทศ ประชาชนมีความรูสึกอันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยอิทธิพลของลัทธิ
ชาตินิยม และมีความเปนพลเมืองของรัฐอยางแทจริง สถาบันของรัฐจะตองสามารถดําเนิน
นโยบายที่สะทอนใหเห็นถึงลัทธิชาตินิยม และความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ
5. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการพัฒนาระบบบริหารและกฎหมาย
6. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการระดมประชาชนใหมีสวนรวมทางการเมือง
7. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
8. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของความมีเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงที่เปนระเบียบ
9. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการระดมกําลังและอํานาจ อันหมายถึงประสิทธิภาพของ
ระบบการเมืองในการทํางาน
10. พัฒนาการทางการเมือง เปนลักษณะอันหนึ่งของกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แอลมอนด และเพาเวล1
(2) (A;mond and Powell) ในหนังสือของเขาชื่อ Comperative Politic : A
Development Approach ไดวางลักษณะของการพัฒนาการทางการเมืองไวดังนี้
1. การแบงแยกความแตกตางในโครงสรางทางการเมือง ลักษณะเชนเดียวกันกับที่ พายกลาวไว
2. วัฒนธรรมทางการเมืองที่เปนแบบโลก (Socularization of Political Culture) วัฒนธรรมทาง
การเมืองในสังคม จารีตประเพณีมักเปนแบบที่ไมมีเหตุผล ยึดถือในเรื่องโชคลางหรือความเชื่อถือ
ที่มีติดตอกันมาโดยไมคํานึงถึงเหตุผล
3. ความเปนอิสระของระบบยอย (Subsystem Autonomy) หมายถึง ความเปนอิสระของหนวยงาน
ตางๆ ในระบบ เชน หนวยงานปกครองทองถิ่น ระบบพรรคการเมือง ตลอดจนกลุมผลประโยชนมี
ลักษณะเปนตัวของตัวเอง มีการจัดองคกรที่ดี และสามารถดําเนินงานไดโดยมีอิสระพอสมควร
ลิขิต ธีรเวคิน2
(3) ไดพยายามเสนอแนะแนวความคิดหรือทฤษฎีการพัฒนาการทางการเมือง โดยไดเนน
ถึงลักษณะสองประการคือ ทฤษฎีควรมีลักษณะสากล และจะตองมีการวางแผนพัฒนาทางการเมือง ในสวนที่
ทฤษฎีเปนลักษณะสากลนั้น ลิขิตไดเนนเรื่องความสามารถของระบบการเมืองที่จะสามารถตอบสนองความ
(1) Lucian W. Pye, Aspects of Political Development (Boston : Little Brown, 1966). pp. 33-45
(2) Gabriel Almond and Bingham Powell, Comparative Politics : A Development Approach (Boston : Little, Brown, 1966), pp. 299-300
(3)ลิขิต ธีรเวคิน, การพัฒนาทางการเมือง เอกสารทางวิชาการ ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
22
ตองการที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา และความเจริญของสังคมได ความสามารถของระบบนี้ขึ้นอยูกับผูนํา
ทางการเมือง อุดมการณ และการพัฒนาสถาบันทางการเมือง สวนการวางแผนพัฒนาทางการเมืองนั้น ลิขิตได
ใชประเทศไทยเปนกรณีศึกษา โดยเสนอแนะการสรางพรรคการเมืองเดนพรรคเดียว
แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเมืองขางตน ยังไดสะทอนใหเห็นถึงปญหาสําคัญประหารหนึ่ง
ของการพัฒนาทางการเมืองในประเทศกําลังพัฒนา คือ เรื่องเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
นักทฤษฎีทางดานการพัฒนาทางการเมืองจะไดมีความคิดแตกตางกันในดานวิธีการศึกษา การพัฒนาทาง
การเมือง แตสิ่งที่เห็นพองตองกัน คือ เรื่องการมีสวนรวมทางการเมือง พาย พูดถึงความเทาเทียมกัน แอ
ลมอนด พูดถึงวัฒนธรรมทางการเมืองที่เปนแบบทางโลก (Secular Political Culture) ทั้งหมดนี้เปนเรื่อง
แสดงถึงการตื่นตัวทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเปนปญหาสําคัญของประเทศที่
กําลังพัฒนา และเปนสิ่งที่นักทฤษฎีทางดานนี้ใหความสนใจรวมกัน
การมีสวนรวมทางการเมืองกับการพัฒนาทางการเมือง : ทฤษฎีและแนวคิด
ในจํานวนปญหาที่สําคัญของกระบวนการพัฒนาทางการเมือง คือ ปญหาที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม
ทางการเมือง (Political Participation) เมื่อพิจารณาจากขอบเขตและความหมายของการพัฒนาทาง
การเมืองที่กลาวมาแลวในตอนตน เห็นไดวาพัฒนาการทางการเมืองมีสวนเกี่ยวของกับความเทาเทียมกันของ
ประชาชน ความสามารถของระบบการเมืองที่จะดูดซึมกลุมทางสังคมตาง ๆ ที่มีความตองการเขามีบทบาทใน
กระบวนการตัดสินใจของรัฐบาล การพัฒนาประชาธิปไตยตอลดจนการเสริมสรางระบบการเมืองใหม ทั้งหมด
นี้มีสวนเกี่ยวพันกับการมีสวนรวมทางการเมืองทั้งสิ้น
ความหมายของการมีสวนรวมทางการเมือง3
(4)
1. เปนเรื่องของกิจกรรมไมใชทัศนคติ การมีสวนรวมทางการเมืองในที่นี้ไมใชเปนเรื่องของความคิด
ความรูสึก หรือความเชื่อทางการเมือง
2. การมีสวนรวมทางการเมืองนี้ เราใชสําหรับบุคคลธรรมดาเทานั้น สวนนักการเมืองหรือผูนําทาง
การเมืองนั้น การเกี่ยวของกับการเมืองเปนงานอาชีพของเรา เปนเรื่องของการมีบทบาททาง
การเมือง (Political Role)
3. การมีสวนรวมทางการเมืองเปนเรื่องการแสดงออก เพื่อใหมีผลตอการตัดสินใจของรัฐบาลหรือ
ผูนําประเทศ
4. การมีสวนรวมทางการเมืองอาจไมมีผลเปลี่ยนแปลงตอการตัดสินใจของผูนํา หรือรัฐบาลแตอยาง
ใด
การมีสวนรวมทางการเมือง อาจเปนไดทั้งจุดหมาย (Goals) และวิธีการของการพัฒนาที่เปน
จุดมุงหมายนั้น เปนเพราะความเชื่อที่วา การมีสวนรวมทางการเมืองเปนลักษณะสําคัญของสังคมที่พัฒนาแลว
ดังนั้น เมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมก็ตองพัฒนามีสวนรวมทางการเมืองดวย สําหรับการมีสวนรวม
ทางการเมืองที่ถือวาเปนวิธีการอยางหนึ่งนั้น หมายถึง วิธีการของผูนําเพื่อนําไปสูจุดประสงคอีกอยางหนึ่ง เชน
เพื่อเสริมอํานาจของผูนําหรือเพื่อพัฒนาประเทศ เปนตน หรือในประการที่สาม การมีสวนรวมทางการเมือง
เปนผลพลอยไดของการพัฒนา เชน เมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มีผลใหประชาชนมีความตื่นตัวทาง
การเมืองและนําไปสูการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมือง
(4) Huntington and Nelson, No Easy Choice : Political Participation in Development Countries (Cambridge : Haiversity Press, 1977), pp.4, 17-41
23
ดังนั้น ในการพิจารณาเรื่องการมีสวนรวมทางการเมืองในประเทศกําลังพัฒนาจําตองพิจารณาถึงกลุม
ผูนําตาง ๆ ที่ชวงชิงอํานาจหรือที่ตองการเขามามีสวนควบคุมรัฐบาล กลุมผูนําเหลานี้อาจแบงไดอยางกวาง ๆ
เปน 2 กลุม คือ ทหารกับพลเรือน
สําหรับกลุมทหารนั้นมักเปนกลุมที่ไมเห็นดวยกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนและเมื่อ
ขึ้นมามีอํานาจมักอางวา การใหมีการเลือกตั้งก็ดี การมีการเมืองในระบบพรรคก็ดี กอใหเกิดความแตกแยก
ดังนั้น จึงมีระงับหรือลดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนลง ในกรณีของประเทศไทย จอมพลสฤษดิ์
ธนะรัชต เปนตัวองอันดีในเรื่องนี้ สําหรับผูนําทหารคนอื่น ๆ ก็เชนกัน เชน อายุบขาน และเซีย อูล ฮัค แหง
ปากีสถาน หรือปก จุง ฮี แหงเกาหลีใต ในตอนแรกของการปกครองของตนไดใชวิธีการลดการมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชนลง
อยางไรก็ตาม ผูนําทหารในหลายประเทศในระยะหลังไดใหความสนใจในเรื่องการมีสวนรวมทางการ
เมืองของประชาชน และกลุมทางสังคมอื่น ๆ มากขึ้น เพียงแตการเปลี่ยนแปลงทาทีนั้นเปนเรื่องของความ
พยายามที่จะดูดซึมการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชน ในขณะเดียวกันเปนความพยายามที่จะสรางฐาน
สนับสนุนในหมูประชาชน เพื่อรักษาอํานาจของตนไว รวมทั้งแยงชิงฐานสนับสนุนจากฝายพลเรือน
สําหรับผูนําพลเรือน4
(5) สวนใหญตองใหมีการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เพราะ
เปนลูทางที่สําคัญที่ตนสามารถใชเปนฐานสนับสนุนบทบาททางการเมืองของตนได นอกจากนั้นในการทาทาย
อํานาจของผูนําทหารที่ครอบงําการเมืองอยูเดิม ผูนําพลเรือนมักใชประชาชนเปนฐานอํานาจ ผูนําพลเรือนจึง
กระตุนใหมีการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน จึงเปนตัวแปรสําคัญตอความมีเสถียรภาพทางการเมือง
การตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนมีผลใหระบบการเมืองสั่นสะเทือน ผูนําฝายตรงขามอาจใชประชาชนเปน
เครื่องมือทาทายอํานาจของผูนําในอํานาจ ซึ่งอาจนํามาซึ่งความวุนวายทางการเมืองได นักทฤษฎีตะวันตก
หลายคน ไดพยายามแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมทางการเมืองกับความไมมีเสถียรภาพ
ทางการเมือง โดยไดแสดงใหเห็นวา เมื่อประชาชนมีความหวังขึ้น มีความตองการมากขึ้นในสิ่งตาง ๆ ในชีวิต
เนื่องจากสังคมมีความเจริญขึ้น จะเปนผลใหประชาชนเรียกรองตอระบบการเมืองใหตอบสนองความตองการ
ของคนที่เพิ่มมากขึ้น และมักปรากฏอยูระบบการมักตอบสนองไดไมเต็มที่ จุดนี้เองทําใหเกิดความไมพอใจหรือ
ความคับของใจขึ้น ทําใหประชาชนเริ่มตื่นตัวทางการเมือง และผลักดันใหประชาชนตัดสินใจตามความตองการ
ของตัว เมื่อระบบการเมืองยังไมสามารถสนองตอบใหเปนที่พอใจได ประชาชนจะเปลี่ยนการกดดันแบบสันติ
มาเปนแบบการใชความรุนแรงและเมื่อถึงจุดนี้ ระบบการเมืองจะพบกับความระส่ําระสาย ไรเสถียรภาพได
อยางไรก็ตาม ทฤษฎีตะวันตกไมไดคํานึงถึงขอเท็จจริงที่วาในประเทศกําลังพัฒนาหลายประเทศ
รวมทั้งประเทศไทยเอง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเปนเรื่องที่ถูกชักจูง หรือปลุกปนโดยผูนํา
มากกวาเปนเรื่องของความตองการของประชาชนเอง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนจึงเปน
เครื่องมือของผูนําทางการเมืองในการสรางฐานอํานาจใหกับตน และโคนลมผูนําฝายตรงขาม การมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชนเปนเรื่องที่ผูนําบางกลุมหยิบยื่นใหกับประชาชน เพื่อประโยชนทางการเมืองของ
กลุมตน
การที่ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งหลักจากเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อป พ.ศ. 2475 ไมไดเกิดจากการ
เรียกรองของประชาชนเอง แตเปนเรื่องที่คณะราษฎรใชเพื่อสรางความชอบธรรมใหกับการปกครองของตน
และหลังจากนั้นเปนตนมา การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนไดกลายเปนเครื่องมือทางการเมืองของ
(5) สุจิต บุญบงการ, การพัฒนาทางการเมืองของไทย (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537) หน้า 43-43, 72-79
24
ผูนํากลุมตาง ๆ การตอสูระหวางผูนําทหารและผูนําพลเรือนไดเปนเรื่องของการตอสูระหวางการเพิ่มกับการ
ลด การมีสวนรวมทางการเมือง และแมวาในตอนหลังฝายทหารจะไดยอมรับการมีสวนรวมทางการเมืองแลวก็
ตาม การมีสวนรวมทางการเมืองกับสถาบันทางการเมืองตาง ๆ จึงนาสนใจที่จะศึกษาเพื่ออธิบายการพัฒนา
ทางการเมืองของไทยใหกระจางชัดเจน
ในการวิเคราะหการพัฒนาทางการเมืองของไทย ประเด็นแรกที่จะตองทําความกระจางเสียกอน คือ
ความหมายและแนวคิดหรือทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเมืองที่จะนํามาใชวิเคราะหในเรื่องของ
ปฏิสัมพันธของสถาบันทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนในระบบการเมืองของไทย
นักรัฐศาสตรตะวันตก ในระยะ 20 ปที่ผานมาไดพัฒนากรอบแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทาง
การเมืองทั้งในสวนที่เกี่ยวของกับสถาบันทางการเมือง และการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนไวเปน
จํานวนมาก ทฤษฎีเหลานี้ไดพัฒนาจากประสบการณทั้งจากประเทศที่พัฒนาแลว และประเทศที่กําลังพัฒนา
ดังนั้น ในบทนี้ จะไดกลาวถึงความหมาย วิธีการศึกษาและทฤษฎีของการพัฒนาทางการเมือง โดยเฉพาะ จะได
เนนถึงความหมายและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมทางการเมืองกับสถาบันทาง
การเมืองที่จะไดนํามาใชเปนกรอบในการวิเคราะหการพัฒนาการเมืองไทยตอไป
ผลกระทบของปญหาการมีสวนรวมทางการเมือง
1. ผลกระทบที่มีตอพรรคการเมืองและรัฐสภา
พรรคการเมืองและรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง จําตองพึ่งพาอาศัยการมีสวนรวมของประชาชน
ทั้งสิ้น พรรคการเมืองและรัฐสภาจําตองมีมวลชนเปนฐานอํานาจของตน ถาปราศจากการสนับสนุนจาก
มวลชนแลวพรรคจะมีความเขมแข็งไดยาก ดังนั้น ผลกระทบที่สําคัญอันเกิดจากการมีสวนรวมทางการเมือง
ของประชาชนยังมีระดับต่ําเชนนี้ คือ ทําใหพรรคการเมืองเจริญเติบโตชาและพัฒนาไดลําบาก
อันที่จริงความออนแอของพรรคการเมือง ทําใหพรรคไมสามารถกระตุนใหประชาชนเกิดความ
ตื่นตัวทางการเมืองได แตในขณะเดียวกันการที่คนมีความนิ่งเฉยทางการเมือง ก็เปนสาเหตุใหพรรคการเมือง
ขาดฐานการสนับสนุนของประชาชน เปนผลใหพรรคการเมืองออนแอ ในกรณีประเทศไทยเราจะเห็นไดวา
พรรคการเมืองมักเกิดขึ้นจากกลุมคนจํานวนไมมากนักที่มีความสนใจตื่นตัวทางการเมือง ประชาชนไมไดมีสวน
รวมในการจัดตั้งพรรคการเมืองแตอยางใด เพราะประชาชนยังไมสนใจเขามีสวนรวมทางการเมืองดังนั้น ไมวา
จะเปนพรรคที่ใหญโต จะมีอายุยืนนานมากเทาใดก็ตาม เชน พรรคประชาธิปตย พรรคกิจสังคมหรือ
พรรคชาติไทย ก็หาไดมีสมาชิกเปนจํานวนมากกระจายอยูตามทั่วประเทศในเวลาลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
ประชาชนทั่วไปยกเวนกรุงเทพฯ เลือกตั้งโดยบุคคลไมไดคํานึงถึงพรรค เปนการแสดงใหเห็นวา แมในกลุมของ
ผูมีสวนรวมทางการเมือง หาไดมีความสนใจในการสนับสนุนการเมืองอยางที่ควรจะเปนไปไม ถาประชาชนมี
ความตื่นตัวทางการเมืองแลว พรรคจะไมประสบกับความลําบากในการแสวงหาสมาชิกใหกวางขวางออกไปทั่ว
ประเทศ และนอกจากจะไดจํานวนสมาชิกเพิ่มเติมแลว ยังจะไดสมาชิกที่มีความตื่นตัวและมีความจงรักภักดีตอ
พรรคดวย อันจะทําใหพรรคมีความเขมแข็งมากขึ้น การที่ประชาชนสวนใหญไมมีสวนรวมทางการเมืองแสดง
วาไมมีความสนใจทางการเมือง ซึ่งมีผลใหถูกชักจูงหรือระดมหรือจางวานใหเขามาสนับสนุนพรรคการเมืองได
เชน ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เปนตน แตการสนับสนุนเชนนั้นเปนเรื่องชั่วครั้งชั่วคราวเทานั้น และไมมี
ความจงรักภักดีตอพรรคแตอยางใด เพราะเปนเรื่องใหการสนับสนุนที่ไมไดเกิดจากความศรัทธา แตเกิดจาก
การจูงใจ หรือแลกเปลี่ยนผลประโยชนเปนครั้ง ๆ ไป
ระบบพรรคจะมีความเขมแข็งไดก็ตอเมื่อมีพรรคการเมืองจํานวนนอย และมีฐานสนับสนุนที่กวาง
ซึ่งในเรื่องนี้จะทําไดก็ตอเมื่อมีประชาชนสนับสนุนเปนจํานวนมาก การที่ประชาชนไมมีสวนรวมทางการเมือง
หรือมีแตไมมากนัก ทําใหพรรคการเมืองเกิดขึ้นไดงายและลมเลิกไปไดงาย เพราะพรรคการเมืองเปนเรื่องของ
25
คนกลุมเล็ก ๆ แคบ ๆ การรวมตัวกันตั้งพรรคการเมืองแบบนี้จึงไมใชเรื่องที่ยากเย็นนัก แตในขณะเดียวกันคน
เหลานี้ที่จัดตั้งพรรคขึ้นมาแตกแยกกับพรรคนั้น อาจตองลมไปในที่สุด ประวัติศาสตรพรรคการเมืองไทยที่ผาน
มาเปนไปในลักษณะนี้ทั้งสิ้น คือ พรรคการเมืองเปนเรื่องของคนกลุมนอย มีอายุสั้น การแตกแยกตัวเองออก
จากพรรคหนึ่งไปรวมตัวกับอีกพรรคหนึ่ง หรือตั้งพรรคขึ้นมาใหมเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนปกติ ปรากฏการณ
เชนนี้เกิดขึ้นไดงายเพราะประชาชนยังมีความนิ่งเฉยทางการเมือง และไมไดยุงเกี่ยวกับการดําเนินงานของ
พรรคการเมืองแตอยางใด เมื่อบรรดานักการเมืองตั้งพรรคการเมืองใหมขึ้นมา หรือแยกตัวออกจากพรรคหนึ่ง
ไปสังกัดอีกพรรคหนึ่ง ไมจําเปนตองคิดถึงประชาชนมากนักวา จะใหการสนับสนุนหรือไม พวกนี้เห็นวา
ธรรมดาประชาชนมีความนิ่งเฉยทางการเมืองอยูแลว หรือมีความสนใจตัวบุคคลมากกวาพรรค ดังนั้นจะยาย
พรรคกันอยางไร ประชาชนไมเกี่ยวของดวย แตถาพรรคมีสมาชิกเปนจํานวนมาก ไดรับการสนับสนุนจาก
ประชาชนอยางกวางขวางและแนนแฟนแลว ใครก็ตามที่คิดแยกตัวออกจากพรรคเดิมจะตองคิดหนัก เพราะไม
แนใจวาจะสามารถไดรับเสียงสนับสนุนจากประชาชนอยางที่เคยไดรับเมื่อตนสังกัดอยูกับพรรคเกาหรือไม การ
จัดตั้งพรรคการเมืองในปจจุบันของนักการเมืองหลายคนจึงมีลักษณะเปนเพียงแตงตั้งขึ้นมาเพื่อใชเปน
เครื่องมือตอรองเพื่อตําแหนงทางการเมืองที่สําคัญ ๆ เทานั้น เชน ตําแหนงรัฐมนตรี เปนตน นักการเมือง
จํานวนไมนอยที่ตองการตั้งพรรคการเมืองของตนขึ้นมา เพื่อใหตนไดดํารงตําแหนงสําคัญ ๆ ของพรรค เมื่อ
พรรคของตนเขารวมรัฐบาลตนจะไดเปนรัฐมนตรี แตถาไปรวมอยูในพรรคใหญ ตนเองมักไมไดเปนผูนําพรรค
โอกาสเปนรัฐมนตรียอมมีนอยเปนธรรมดา
ผลกระทบตอมาที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การที่ประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองนอย ยอมทํา
ใหนักการเมืองทั้งที่เปนผูนําพรรค หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไมไดอยูในความควบคุมดูแลของประชาชน
อยางแทจริง ปจจุบันแมวาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทบทุกคนไดพยายามชวยเหลือประชาชนในเขตเลือกตั้ง
ของตน แตความรับผิดชอบสมาชิกสภาผูแทนฯ ก็ดี พรรคการเมืองก็ดี ไมจําเปนตองระวังมากนักในการทํางาน
ยกเวนเรื่องการชวยเหลือประชาชนเทานั้น พฤติกรรมอื่น ๆ ที่บรรดาสมาชิกสภาแสดงออกในสภาก็ดี
การเมืองก็ดี เปนเรื่องที่ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะในเขตชนบทไมไดใหความสนใจ
การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ถามีมากแลวพรรคการเมืองก็ดี สมาชิกผูแทนราษฎรก็
ดี จะมีพลังเพื่อแสดงมติของพรรคการเมืองและรัฐสภาไดอยางดี ไมวาจะเปนเรื่องของการชุมนุมพลังเพื่อแสดง
มติหรือแสดงพลังของพรรค สิ่งเหลานี้ยอมมีผลชวยใหใหสถาบันที่มาจากประชาชนมีความเขมแข็งขึ้น
โดยเฉพาะในการแสดงพลังเพื่อตอตานกับผูนําเผด็จการ พรรคการเมืองและรัฐสภา ไมมีทางตอสูกับพลังของ
ผูนําทหารได ถาสถาบันทั้งสองปราศจากการสนับสนุนอยางเขมแข็งของประชาชนเปนจํานวนมาก และการ
สนับสนุนเชนนี้เกิดขึ้นไมได ถาประชาชนไมมีความสนใจเขามามีสวนรวมทางการเมือง นอกจากนั้น พรรคและ
สมาชิกรัฐสภาก็ยังสามารถไดรับการสนับสนุนในรูปแบบอื่น ๆ ได ถาประชาชนมีความสนใจทางการเมืองมาก
ขึ้น เชน ในเรื่องการเงิน หรือการหาเสียงเลือกตั้ง เปนตน ปจจุบันทุกพรรคยอมรับวาประสบปญหาทางดาน
การเงิน ไมสามารถไดรับเงินสนับสนุนเพียงพอแกการดําเนินงานของพรรคทางแกไขของพรรคการเมืองในเรื่อง
นี้จึงมักเปนไปในแบบของการดึงเอาตัวผูนําทางธุรกิจที่มีฐานะดีเขามารวมมือกับพรรคโดยแลกเปลี่ยนกับ
ผลประโยชนที่สําคัญ เชน ตําแหนงผูนําพรรค หรือตําแหนงรัฐมนตรี เปนตน และบางทีผูที่เต็มใจสนับสนุนทาง
การเงินเชนนี้มีไมมากนัก พรรคจําตองยอมตามความตองการของบรรดานักธุรกิจ หรือผูมีเงินเหลานี้อยูดี แต
ถาประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองเปนจํานวนมาก พรรคยอมมีโอกาสมากขึ้นที่จะแสวงหาการสนับสนุนทาง
การเงินจากคนในวงกวาง หรืออาจไดอาสาสมัครมาชวยงาน โดยไมยอมรับเงิน ซึ่งจะชวยทุนคาใชจายในการ
ดําเนินงาน
26
โดยสรุปการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนแบบสมัครใจ หรือแบบเสรีนั้นเปนเครื่องระบุ
วาประชาชนตองการประชาธิปไตย การมีสวนรวมทางการเมืองแบบเสรี เปนสิ่งที่เขาไมไดกับการปกครองแบบ
เผด็จการ ดังนั้น ถาการมีสวนรวมของประชาชนมีนอยแลว สถาบันการเมืองแบบประชาธิปไตยพัฒนาได
ลําบาก แตถาการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนมีกวางขวางขึ้น สถาบันอยางพรรค
การเมืองและรัฐสภาพยอมไดรับการพัฒนาตามไปดวย เพราะเปนสถาบันหลักของระบอบประชาธิปไตยนั่นเอง
2. ผลกระทบที่มีตอการพัฒนาประชาธิปไตย
จากลักษณะที่กลาวขางตน การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนที่ไดกลาวมาแลวขางตน มี
ผลกระทบตอการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพเปนอยางมาก
ผลกระทบที่เห็นไดชัด คือ
1) เปนการเปดโอกาสใหมีการยึดอํานาจบอยครั้งโดยฝายทหาร นับตั้งแตประชาชนไทยไดรับ
สิทธิทางการเมือง และไดรับโอกาสใหมีสวนรวมทางการเมือง เมื่อป พ.ศ. 2475 เปนตนมา
ประชาชนคนไทยไดแสดงความสนใจ ความตื่นตัว รวมทั้งไดเขามีสวนรวมทางการเมืองนอย
มาก เมื่อความสนใจทางการเมืองของประชาชนอยูในระดับต่ําเชนนี้ จึงไมเปนอุปสรรคแก
การเขายึดอํานาจฝายทหาร แทบมุกครั้งที่มีรัฐประหารเกิดขึ้นไมวาจะสําเร็จหรือไมก็ตาม
ประชาชนไมมีสวนยุงเกี่ยวแตอยางใด ไมมีการแสดงอาการวาเห็นดวย หรือคัดคาน ในการทํา
รัฐประหารเหลานั้น ผูทํารัฐประหารจึงมักไมตองพะวงมากนักวาจะมีประชาชนลุกฮือขึ้นมา
ตอตานการทํารัฐประหารของตน แมวาในระยะหลัง ๆ มีประชาชนเขามายุงเกี่ยวมากขึ้น ทั้ง
ในดานการสนับสนุนและการคัดคานในการทํารัฐประหาร โดยเฉพาะตั้งแตวันที่ 6 ตุลาคม
พ.ศ. 2519 เปนตนมา อยางไรก็ตาม การขยายตัวของการมีสวนรวมของประชาชนในเรื่องนี้
ยังไมมากพอที่จะทําใหความเปนไปไดของการรัฐประหารหมดสิ้นไป การที่ประชาชนใหความ
สนใจทางการเมืองมากขึ้นนั้นยังไมถึงระดับที่ขัดขวางการทํารัฐประหารได
2) ทําใหรัฐบาลพลเรือนสรางความชอบธรรมไดลําบาก ปจจัยที่ชวยสงเสริมเสถียรภาพของ
ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ รัฐบาลพลเรือนประชาธิปไตยตองมีความชอบธรรม
ของรัฐบาลนั้นหมายความวา ประชาชนสวนใหญและกลุมหลัก ๆ ที่มีพลังทางการเมืองให
การสนับสนุนและเห็นวา รัฐบาลนั้นมีความเหมาะสมถูกตอง รัฐบาลที่ไดรับการสนับสนุนจาก
ประชาชนอยางกวางขวางเชนนี้ ยอมทําใหรัฐบาลมีความมั่นคง มีเสถียรภาพและถามีความ
พยายามจากกลุมหนึ่งกลุมใดที่ตะโคนลมรัฐบาลนั้น โดยพลการหรือโดยอาศัยกําลังแลว
ประชาชนจะพรอมเขาตอตาน ประชาชนที่มีประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ เชน
อังกฤษ หรือสหรัฐอเมริกา ฯลฯ นั้นเปนประเทศที่มีทั้งระบบการเมืองและรัฐบาล ถามี
ความชอบธรรมสูง และมีประชาชนสนับสนุนอยางกวางขวาง อันเปนผลใหการลมลางรัฐบาล
หรือระบบการเมืองโดยกําลังหรือการทําการรัฐประหาร เปนเรื่องที่เปนไปไมได แมแตใน
ความฝน แตสําหรับกรณีของประเทศไทยนั้น ระบบประชาธิปไตยและรัฐบาลพลเรือนไดรับ
การสนับสนุนจากประชาชนไมกวางนัก หรือมาลงคะแนนเสียงโดยไมคํานึงถึงวาอยากใหใคร
เปนรัฐบาลหรือไปลงคะแนนเพราะถูกเกณฑ หรือถูกจางวาน รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
เชนนี้ ยอมไมมีฐานมั่นคงในหมูประชาชนเปนรัฐบาลที่มีความเปราะบาง และมักอางลําบาก
วาเปนรัฐบาลที่ประชาชนใหการสนับสนุน นอกจากนี้ยังมักถูกโจมตีอยูเสมอ ๆ จากกลุมที่ไม
ชอบประชาธิปไตยวาเปนรัฐบาลที่ไมไดรับการรับรองและรับการสนับสนุนจากประชาชน
อยางแทจริง
27
3) ในกรณีที่ประชาชนมีความสนใจและมีสวนรวมทางการเมืองต่ํา ประชาชนสวนใหญที่มีความ
นิ่งเฉยทางการเมือง อาจถูกชักจูงหรือถูกระดมใหหันมาสนับสนุนระบอบเผด็จการ หรือ
ระบอบการปกครองโดยทหาร ซึ่งเปนผลเสียตอการพัฒนาประชาธิปไตยเปนอยางมาก
โดยทั่วไปการชักจูงใหประชาชนมีบทบาท หรือมีสวนรวมทางการเมืองเปนลักษณะสําคัญ
ของระบบการเมืองสมัยใหม ไมวาจะเปนระบบเผด็จการหรือประชาธิปไตยสมัยใหม จะมีการ
มีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนอยูเสมอ จะผิดกันก็แตเพียงวาการมีสวนรวมในระบบ
เผด็จการนั้นเปนเรื่องของการถูกระดม สวนในระบอบประชาธิปไตยเปนเรื่องของความสมัคร
ใจ ถาระบบการเมืองไทยมีการระดมใหประชาชนสนับสนุนการปกครองของทหารหรือเผด็จ
การในรูปตาง ๆ แลวจะกลายเปนอุปสรรคอยางสําคัญตอการพัฒนาประชาธิปไตย
รัฐสภากับการพัฒนาทางการเมืองไทย
1. รัฐสภากับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
ความสัมพันธระหวางรัฐสภากับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เปนอีกประเด็นหนึ่งที่
จะชวยอธิบายถึงลักษณะการพัฒนาทางการเมืองของไทย โดยทั่วไปแลวรัฐสภาหรือสถาบันนิติบัญญัติมักมี
ความเชื่อมโยงอยางใกลชิดกับการมีสวนรวมทางการเมือง เพราะเปนสถาบันที่มาจากการเลือกตั้งของ
ประชาชน ยกเวนในบางชวงที่สภานิติบัญญัติมาจากการแตงตั้ง ความตอเนื่องของการปฏิบัติงานของรัฐสภา
อํานาจและบทบาททางการเมืองของรัฐสภา ยอมสะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของการมีสวนรวมทางการเมือง
ของประชาชน ในกรณีที่สถาบันนิติบัญญัติไดรับการเลือกตั้งมีบทบาทอยางตอเนื่อง เปนระยะเวลาอันยาวนาน
และมีอํานาจมีบทบาทในทางการเมืองอยางเขมแข็งและกวางขวางแลวยอมเปนเครื่องชี้ไดวา การมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชนมีความหมาย
นับตั้งแตประเทศไทยมีรัฐสภาเปนตนมา ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป พงศ. 2475 นั้น
ปรากฏวามีเพียงชวงระยะเวลาสั้น ๆ ที่สภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้ง มีบทบาทและอํานาจทางการ
เมืองทั้งในทางพฤตินัยและนิตินัย คือ สภาผูแทนฯ ในชวงป 2489-2490 และในชวงป พ.ศ. 2518-2519 สภา
ผูแทนฯ ในชวงป พ.ศ. 2489 ถึงรัฐประหารในป พ.ศ. 2490 เปนสภาที่จัดตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญฉบับใหม
ประกาศใชในป พ.ศ. 2489 ตามความตองการของนายปรีดี พนมยงค และคณะ ซึ่งเปนกลุมที่มีอํานาจทาง
การเมืองมากที่สุดในขณะนั้นที่ตองการจะจัดรูปแบบรัฐบาลเสียใหม ใหกลุมของตนมีพื้นฐานทางการเมืองที่
มั่นคง และขจัดนักการเมืองที่สนับสนุนจอมพล ป. ที่ยังคงมีอยูบางในสภาผูแทนฯ ชุดเดิมรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได
ระบุใหมีสภา 2 สภา คือ สภาผูแทนราษฎรเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และพฤฒิสภาเลือกตั้งโดยทางออม
สวนรัฐสภาในชวงป พ.ศ. 2518-2519 ประกอบดวย 2 สภา เชนเดียวกัน คือ สภาผูแทนราษฎร เลือกตั้ง
โดยตรงจากประชาชนและวุฒิสภา แตงตั้งโดยรัฐบาล แตทั้งวุฒิสภาและพฤฒิสภาขางตนมีอํานาจนอยมาก
อํานาจสวนใหญอยูที่สภาผูแทนราษฎร นอกจากนี้ขอบัญญัติในรัฐธรรมนูญที่หามขาราชการประจําเปนสมาชิก
สภาสูงทั้งสองชวงนี้ ทําใหอํานาจที่แทจริงของสภาสูงทั้งสองลดนอยลงไปอีก ถาสภาทั้งสองนี้มีขาราชการ
ประจําทั้งทหารและพลเรือนเปนสมาชิก สมาชิกสภาโดยอาศัยความเปนขาราชการอาจแสดงอิทธิพลทาง
การเมืองไดมากขึ้น
สภาผูแทนราษฎรที่อยูในชวงนี้มีอํานาจในการควบคุมรัฐบาลอยางมาก รัฐบาลตองขอความ
ไววางใจตอสภากอนจึงจะเขามาบริหารประเทศ สภาผูแทนมีอํานาจลงมติไมไววางใจคณะรัฐมนตรีทั้ง
รายบุคคลและทั้งคณะ โดยเฉพาะรัฐธรรมนูญป พ.ศ. 2517 ไดกําหนดใหนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีจํานวน
หนึ่งตองเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อันที่จริงสภาผูแทนในชวงหลังรัฐประหารป พ.ศ. 2490-2493 ซึ่งใช
28
รัฐธรรมนูญป 2492 ไดใหอํานาจสภาผูแทนราษฎรไวไมนอยไปกวาสองชวงที่ไดกลาวมากอนหนานี้ ตาม
รัฐธรรมนูญป 2490 คณะรัฐมนตรีตองขอความไวใจจากรัฐสภา ซึ่งประกอบดวยวุฒิสภาและสภาผูแทนฯ
เสียกอนจึงจะเขาบริหารประเทศ สวนรัฐธรรมนูญป 2492 ใหอํานาจนี้แกสภาผูแทนฯ เชนเดียวกัน แต
การเมืองในชวง พ.ศ. 2492-2495 ถูกคณะรัฐประหารครอบงํา ดังนั้นรัฐสภาทําอะไรที่ขัดแยงกับฝายทหารนัก
ไมได การที่คณะรัฐประหารไดสงนายทหารมาบังคับใหนายควง อภัยวงศ ลาออกจากนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่
8 เมษายน 2491 หรือจากการที่จอมพล ป. ไดยึดอํานาจเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ก็ดวยเหตุผลที่
คลายคลึงกัน คือ สภาผูแทนฯ ไดแสดงบทบาทที่คอนขางเปนอิสระมากเกินไป
การเปลี่ยนจากระบบรัฐสภาซึ่งใชมาตั้งแตป พ.ศ. 2475 มาเปนแบบกึ่งรัฐสภาหรือแบบแบงแยก
อํานาจในชวงป พ.ศ. 2511-2514 นั้น เปนเรื่องของความพยายามของผูนําทหารและขาราชการพลเรือนที่จะ
รักษาอํานาจทางกรเมืองไว ระบบการแบงแยกอํานาจเชนนี้ เปนการยืนยันความเชื่อของผูนําทางการเมืองที่มา
จากระบบราชการที่เห็นวา สมาชิกสภาผูแทนยังไมมีความสามารถพอที่จะบริหารประเทศได ควรมีอํานาจแต
เพียงการออกกฎหมายเทานั้น อยางไรก็ตาม วิธีการเชนนี้มีอายุอยูไมนานและถูกยกเลิกไป เมื่อ จอมพลถนอม
ยึดอํานาจตัวเองเมื่อปลายป พ.ศ. 2514
หลังจากพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท ยึดอํานาจจากรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร เมื่อปลายป
พ.ศ. 2520 นั้น ปญหาเกาไดเขาสูผูนําทางทหารอีกครั้งหนึ่งคือ รูปแบบความสัมพันธระหวางฝายบริหารกับ
ฝายนิติบัญญัติควรเปนอยางไร จึงจะใหมีภาพพจนประชาธิปไตย ในขณะเดียวกันสามารถรักษาเสถียรภาพ
ทางการเมืองและผูนําทหารยังสามารถรักษาอํานาจอยูไดอยางชั่วระยะเวลาหนึ่ง
รูปแบบที่ใชตามรัฐธรรมนูญป 2521 นี้ ยังไมปลอยอํานาจใหกับสภาผูแทนราษฎรและพรรค
การเมืองอยางเต็มที่เหมือนในชวงป พ.ศ. 2518-2519 แตไดพยายามยึดแบบรัฐสภาเปนหลัก แตยืมหลัก
แบงแยกอํานาจมาใชบาง เชน ในประเด็นที่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีไมตองมาจากรัฐสภาก็ได และสามารถ
เขาบริหารประเทศไดโดยไมตองขอความไววางใจจากสภากอน สวนในเรื่องอื่น ๆ ยังคงรูปแบบของรัฐสภาไว
เชน เรื่องของการใหอํานาจสภาผูแทนราษฎรในการเปดอภิปรายลงมติไมไววางใจคณะรัฐมนตรี ทั้งที่เปน
รายบุคคลและเปนคณะ วุฒิสภาซึ่งเปนสภาแตงตั้งนั้นมีอํานาจหลัก ๆ เพียงใหความเห็นชอบแกรางกฎหมายที่
ผานสภาผูแทนราษฎรแลว อํานาจอีกประการหนึ่งที่มีเทาเทียมกับสภาผูแทนราษฎร คือ อํานาจในการแกไข
รัฐธรรมนูญ และตีความการทํางานของรัฐสภา ซึ่งตองใชการประชุมกับสภาผูแทนราษฎร การที่สภา
ผูแทนราษฎรถูกยุบได ก็เปนลักษณะของระบบรัฐสภาอีกเชนกัน แตในชวง 4 ป แรกที่มีการใชบทเฉพาะกาลที่
ใหวุฒิสภามีอํานาจเทากับสภาผูแทนฯ ในการควบคุมรัฐบาลและยินยอมใหขาราชการประจําดํารงตําแหนงใน
คณะรัฐมนตรี และตําแหนงทางการเมืองอื่น ๆ นั้นเปนความพยายามของฝายผูนําทหารก็จะมีบทบาททาง
การเมืองอยูชั่วระยะเวลาหนึ่ง
สวนรูปแบบของรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 รัฐสภามีหนาที่สําคัญ คือ การบัญญัติ
กฎหมายและควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ประกอบดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีการ
ขยายสมัยประชุมเดิมจาก 90 วัน เปน 120 วัน ประกอบดวยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจาก
ประชาชนทั้งสองสภา โดยสภาผูแทนราษฎรมีจํานวน 500 คน คงที่ มาจากการเลือกตั้ง 2 แบบ คือ
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวน 400 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงแบบเขตเดียวเบอรเดียวและการเลือกตั้ง
แบบบัญชีรายชื่อจํานวน 100 คน สวนวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง โดยใชเขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั้ง
จํานวน 200 คน คงที่ ดํารงตําแหนงคราวละ 6 ป สวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป
29
นับเปนรัฐธรรมนูญฉบับที่เปนประวัติศาสตรการเมืองไทยที่ไดมีการพัฒนาขึ้นมาเปนประชาธิปไตย และมีการ
ถวงดุลอํานาจมากขึ้น5
(6)
ดังนั้นเราจะเห็นไดวา ลักษณะของรัฐสภาจะเปนเชนไรนั้น ขึ้นอยูกับผลการตอสูระหวางทหารกับ
พรรคการเมืองในชวงที่ทหารเพลี่ยงพล้ํา สภาผูแทนฯ จะมีอํานาจมาก และถาในชวงที่ทหารมีอํานาจมากสภา
ผูแทนฯ มักจะมีบทบาทจํากัด ดังนั้นลักษณะของรัฐสภาจึงสะทอนบทบาทหรือความสําคัญของการมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชนไดเปนอยางดี
2. บทบาทของรัฐสภา
รัฐสภาในประเทศไทยที่กําลังพัฒนา มักมีอํานาจและบทบาทจํากัด เพราะการเมืองในประเทศ
เหลานี้ถูกครอบงําดวยระบบราชการ หรือไมก็ดวยพรรคการเมืองพรรคเดียว อยางไรก็ตาม บทบาทของรัฐสภา
ไทยมีทั้งที่มีอิทธิพลและไมมีอิทธิพล ทั้งนี้ยอมแลวแตสภาพการเมืองในชวงระยะเวลานั้น ๆ
2.1 บทบาทในดานความชอบธรรม
หนาที่หรือบทบาทประการแรกคือ หนาที่ในการสรางความชอบธรรมใหกับระบบการเมือง
โดยทั่วไปรัฐสภามักไมคอยมีความเขมแข็งทางการเมือง แตมีบทบาทที่สําคัญ คือ สรางความชอบธรรมใหกับ
ระบบการเมืองที่เปนอยู และผูนําทางการเมืองในขณะนั้น การจัดตั้งสภารางรัฐธรรมนูญในป พ.ศ. 2502 ใน
สมัยการปกครองของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนตัวอยางอันดีในเรื่องนี้ เพื่อแสดงวาผูนําทหารยอมรับอยาง
นอยหลักการบางแยกอํานาจ แมวาสภารางรัฐธรรมนูญไมมีอํานาจทางการเมืองแตอยางใด อาจกลาวไดวาเปน
สภาตรายาง แตอยางนอยทําใหระบบการเมืองและกฎหมายตาง ๆ ที่ออกมาบังคับใช มีความชอบธรรม เพราะ
อนุมัติโดยสภานิติบัญญัติ ไมใชฝายทหาร นอกจากนั้นการมีรัฐสภาก็เพื่อแสดงวามีลักษณะของ
“ประชาธิปไตย” อยู การเลือกตั้งใหมีสภาผูแทนราษฎรในชวงป 2495-2500 ก็ดี หรือในชวงป พ.ศ. 2512-
2514 ก็ดี ก็เปนความพยายามของผูนําทหารที่แสดงวาตนยอมรับใหมีหลักการประชาธิปไตย เพื่อลดความตึง
เครียดทางการเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในป พ.ศ. 2512 ไดมีแรงกดดันเพิ่มมากขึ้น เพื่อใหมีการเลือกตั้ง
จนกระทั่งรัฐบาลตองยินยอมตามรัฐสภาในชวงป พ.ศ. 2521 เปนตนมามีสวนชวยสรางความชอบธรรมใหกับ
ประเทศเปนอยางมากเชนกัน เพราะเปนการลดความไมพึงพอใจในการปกครองแบบรวมอํานาจในสมัยรัฐบาล
นายธานินทร กรัยวิเชียร
2.2 บทบาทในดานอิทธิพล
หนาที่หรือบทบาทในประการตอมาเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับอิทธิพบของรัฐสภา (Influence
Function) รัฐสภาที่มาจากการแตงตั้งมักมีอิทธิพลทางการเมือง และในดานการตัดสินใจนอยกวาสภาที่มา
จากการเลือกตั้ง ยกเวนสภานิติบัญญัติในชวงหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งถึงแมวาเปนสภาที่มา
จากการแตงตั้ง แตมีบทบาทที่เขมแข็ง และมีอิทธิพลสูงเพราะวาระบบการเมืองมีเสรีภาพมากขึ้น เนื่องจาก
จอมพลถนอมและจอมพลประภาส ถูกโคนลมไป
แตสําหรับในชวงที่สภามาจากการเลือกตั้ง ปรากฏวารัฐสภามีบทบาทอยางสําคัญในการ
แสดงออกซึ่งอิทธิพลของตน และเมื่อพรรคการเมืองไมมีเอกภาพเทาที่ควร สมาชิกสภาจึงมีอิสระในการแสดง
บทบาทของตนเองไดดีพอสมควร ทําใหสถาบันรัฐสภามีอิทธิพลมากขึ้น
อยางไรก็ตาม สภาผูแทนฯ ยังสามารถลมรางกฎหมายของรัฐบาลไดบาง แตความสามารถ
เชนนี้ไมไดเปนเพราะสภาผูแทนมีความเขมแข็งมากขึ้นแตอยางใดไม แตเปนเพราะความออนแอของรัฐบาลเอง
(6)เอกสารสรุปสาระข้อสังเกตของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่, คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปการเมือง 2540, หน้า 7-11
30
เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 สภาผูแทนฯ ไดลงมติไมรับพระราชกําหนดขึ้นภาษีทะเบียนรถยนตดีเซล
เปนผลใหสภาผูแทนราษฎรถูกยุบลงในที่สุด
2.3 บทบาทในการควบคุมดูแลการบริหารงานของรัฐบาล
วิธีการที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรใชเพื่อควบคุมการทํางานของรัฐบาลคือการเปดอภิปรายไม
ไววางใจรัฐบาลเปนรายบุคคลและเปนคณะ การตั้งกระทูถาม ในเรื่องการเปดอภิปรายไมไววางใจนั้น ฝายคาน
มีโอกาสชนะนอยมาก เนื่องจากมีเสียงในสภาผูแทนนอยกวาพรรครวมรัฐบาล แตการอภิปรายซักถามยอยทํา
ใหฝายรัฐบาลตองระมัดระวังตัวในการบริหารงานมากขึ้น ฝายคานมักใชการอภิปรายในสภากระตุนความรูสึก
ของประชาชน และเพื่อสรางประชามติกดดันรัฐบาล ถาไมสามารถตอบขอซักถามไดอยางกระจางแลว วิธีการ
เชนนี้ทําใหรัฐบาลขาดแคลนการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไปได
2.4 บทบาทในดานอื่น ๆ
นอกจากนี้รัฐสภายังมีบทบาทในดานอื่น ๆ อีก เชน บทบาทในดานการปกปองรักษา
ผลประโยชนของประชาชน หรือบทบาทในเรื่องการแสดงความเดือดรอนของประชาชนใหเปนที่ประจักษ
(Interest Articulation Function) การอภิปรายและกระทูถามในชวงป พ.ศ. 2511-2514, 2518-2519 และ
2522 เปนตนมา ไดสะทอนถึงความทุกขของประชาชนอยูไมนอย การพบปะกับราษฎรในทองถิ่นของตนเปน
สิ่งสําคัญอยางมาก เพื่อทราบขอเดือดรอนของเขา สมาชิกสภาจําเปนตองสละเวลาไมนอยเพื่อการนี้
3. รัฐสภากับสถาบันทหาร
เนื่องจากทหารเปนกลุมพลังที่สําคัญ ความสัมพันธระหวางรัฐสภากับทหารจึงเปนสิ่งสะทอนให
เห็นวา รัฐสภามีอํานาจและบทบาททางการเมืองมากนอยเพียงใด ความสัมพันธระหวางทหารกับรัฐสภาที่นา
ศึกษา คือ การพิจารณางบประมาณทาการทหารของรัฐสภา6
(8) สมาชิกรัฐสภาพยายามหาทางตัดทอน
งบประมาณของทหารลงใหได แตจากเหตุการณที่ผานมาเกือบทุกสมัยไมมีรัฐสภาใดสามารถตัดงบราชการของ
กองทัพบกได แสดงวาทหารยังมีบารมีหรือิทธิพลทางการเมืองอยูไมนอย บรรดาสมาชิกสภาผูแทนฯเหลานี้
ยอมรับวา ทหารยังมีบทบาทในการกําหนดเกมการเมือง จึงยังตองการมีความสัมพันธที่ดีกับผูนําทหารได
นอกจากนั้นจากการที่นักธุรกิจและนายทุนไดเขามามีบทบาทมากขึ้นในพรรคการเมือง และไดรับ
การเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไดเปนเปาหมายของการวิพากษวิจารณของฝายทหารวา สภา
ผูแทนราษฎรกําลังเปนแหลงแสวงหาผลประโยชนของบรรดานักธุรกิจบางคน ทําใหสภาผูแทนราษฎรไมไดเปน
ผูทําหนาที่เปนตัวแทนของประชาชนอยางแทจริง ขอโจมตีอันนี้เองที่แสดงวา ความสัมพันธระหวางสภา
ผูแทนราษฎรยังไมราบรื่นเทาที่ควร แตในขณะเดียวกันก็แสดงใหเห็นวานักธุรกิจกําลังกาวเขาสูวงการเมือง
และอาจเปนพลังที่สําคัญในทางการเมืองในอนาคตที่ทาทายอํานาจของฝายทหาร
กลุมผลประโยชนกับการมีสวนรวมทางการเมือง
ในประเทศประชาธิปไตยตะวันตก รัฐสภา พรรคการเมือง และกลุมผลประโยชน มีความสัมพันธกัน
อยางใกลชิดในประเทศเหลานี้กลุมผลประโยชนเปนตัวเชื่อมที่สําคัญระหวางพรรคการเมืองและประชาชนเปน
องคกรที่ทําหนาที่จัดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ชวยกระตุนและดึงประชาชนเขามามีสวนใน
การตัดสินใจของรัฐบาล เปนสื่อหรือตัวกลางของประชาชนในการเรียกรองความตองการของคนตอหนวยงาน
ของรัฐ แตสําหรับประเทศไทยแลว กลุมผลประโยชนมีไมมากนัก และไมไดมีการรวมกลุมกันอยางเขมแข็งแต
ประการใด ยกเวนในระยะหลังที่มีกลุมกดดัน และกลุมผลประโยชนบางกลุมที่มีอิทธิพลทางการเมืองมากขึ้น
(8)รายละเอียดดูสุจิต บุญบงการ, อ้างแล้ว, หน้า 80-95
31
กลุมที่มีบทบาททางการเมืองที่มีสวนเกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน และมี
สวนกําหนดความสัมพันธระหวางพรรคการเมืองกับทหาร คือ กลุมนักศึกษาและกลุมนักธุรกิจ
1. กลุมนิสิตนักศึกษากับการตอสูเพื่อการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
กลุมนักศึกษาถือไดวาเปนหัวหอกสําคัญในการตอสู เพื่อการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของ
ประชาชนซึ่งมีผลใหพรรคการเมืองและกลุมนักธุรกิจไดใชการมีสวนรวมทางการเมืองนี้เปนฐานสรางอํานาจ
ใหกับตัวเอง กลาวอีกนับหนึ่ง กลุมนักศึกษาไดเปนกลุมที่ตอสูเพื่อประชาธิปไตย สวนกลุมนักธุรกิจเปนกลุมที่
ไดประโยชนจากผลการตอสูของกลุมนิสิตนักศึกษา
โดยทั่วไปบทบาททางการเมืองของนิสิตนักศึกษาของไทยนั้นมีลักษณะที่ตอตานการปกครองแบบ
เผด็จการ และสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บทบาททางดานนี้เห็นไดชัดเจน คือ บทบาทของ
ศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ในการตอสูทางการเมืองมานับตั้งแตป พ.ศ. 2514 จนกระทั่งไดเปน
แกนนําในการเรียกรองความเปนธรรมใหชนชั้นผูยากไร อันไดแก ชาวไร ชาวนา กรรมกร ซึ่งถูกบีบคั้นมาเปน
เวลานาน นอกจากนั้นขบวนการนิสิตนักศึกษายังไดประทวงการปราบปรามผูกอการรายอยางรุนแรง โดยไม
เลือกวาเปนผูกอการรายจริงหรือเปลา และไดรณรงคตอตานนโยบายของสหรัฐอเมริกา การตั้งฐานทัพของ
สหรัฐอเมริกาในประเทศไทย7
(9) ฯลฯ ปรากฏวาในชวงเดือนพฤศจิกายน 2516 ถึงกันยายน 2517 ปรากฏวาได
มีการเดินขบวนและชุมนุมประทวงของบรรดานิสิตนักศึกษา เฉพาะนอกเขตกรุงเทพมหานครถึง 365 ครั้ง8
(10)
ซึ่งกวาครึ่งหนึ่งเปนการประทวงการบริหารงานของจังหวัด นอกจากนั้นยังมีการประทวงการกลับมาของจอม
พลประภาส จนเปนผลทําใหจอมพลประภาสตองเดินทางออกนอกประเทศอีกครั้งหนึ่ง และสุดทายการกลับมา
ของจอมพลถนอม จนเกิดเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 ขึ้น
ความสําเร็จของนักศึกษาในการโคนลมรัฐบาลทหารของจอมพลถนอมและจอมพลประภาสเมื่อ
14 ตุลาคม 2516 และการเคลื่อนไหวเรียกรองในเรื่องตาง ๆ นั้น ทําใหเกิดประเด็นที่นาสนใจวาอะไรเปน
ปจจัยที่สําคัญอันทําใหนักศึกษามีพลังทางการเมืองจนสามารถเคลื่อนไหวทางการเมืองไดถึงระดับนั้น ปจจัย
ดังกลาวอาจแยกใหเห็นไดดังนี้
1) การยอมรับจากสังคม นิสิตนักศึกษาเปนกลุมที่ไดรับการยกยองและยอมรับจากสังคมสูง
โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองแลว สังคมยอมรับวานิสิตนักศึกษาไมไดผูกพันหรือไม
ไดรับใชกลุมการเมืองกลุมใดกลุมหนึ่ง การเคลื่อนไหวทางการเมืองครั้งใดก็ตาม ถาประชาชน
มีความเชื่อวาเปนไปเพื่อรับใชผูนําทางการเมืองใดแลว จะไมสามารถระดมการสนับสนุนจาก
ประชาชนไดอยางกวางขวาง
2) การรวมกลุมในสังคมที่กําลังพัฒนา การรวมกลุมมีอยูไมมากนัก กลุมอาชีพหรือกลุมทาง
สังคมใดที่รวมตัวกันไดอยางเขมแข็ง ยอมทําใหมีพลังทางการเมือง สามารถเคลื่อนไหวทาง
การเมืองไดดี ในกรณีของไทยนั้น เห็นไดวาระบบราชการและทหารเปนกลุมที่มีการรวมตัว
กันอยางดี ในขณะที่พรรคการเมืองและกลุมผลประโยชนอื่น ๆ มีการรวมตัวกันอยางหลวม ๆ
จึงไมสามารถตานทางอํานาจของทหารและระบบราชการได ยิ่งบรรดานักธุรกิจ นัก
อุตสาหกรรมแลวแทบจะไมมีการรวมเปนกลุมผลประโยชนเลย สวนนิสิตนักศึกษาเปนกลุมที่
มีจํานวนไมนอย และไดมีการรวมกลุมกันอยางจริงจังในระยะนับตั้งแต พ.ศ. 2511 เปนตน
มา
(9)ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, วีรชนหาญกล้า (ไม่ปรากฏโรงพิมพ์2518). หน้า 125-134
(10) David Morell and Chai-anan Samudavanija, Political Conflicts in Thailand (Cambridge, Mass : Oelgeschlarger, Gunn Hain, 19841). p. 157
บทที่ 4
บทที่ 4
บทที่ 4
บทที่ 4

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การบะห์ บาตู
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of PoliticsKan Yuenyong
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNathpong Tanpan
 

What's hot (13)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of Politics
 
7.0
7.07.0
7.0
 
Lesson1 bp
Lesson1 bpLesson1 bp
Lesson1 bp
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Lesson6 bp
Lesson6 bpLesson6 bp
Lesson6 bp
 

Viewers also liked (16)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
2
22
2
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 4

ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politicpailinsarn
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334CUPress
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdfPattie Pattie
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 

Similar to บทที่ 4 (20)

ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdf
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 

บทที่ 4

  • 1. บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมือง (Political Development) คําวา พัฒนาการทางการเมือง เปนคําใหม ยังไมมีความหมายอันหนึ่งอันเดียวที่ยอมรับกันในหมู นักวิชาการ นักรัฐศาสตรไดพยายามใหความหมายไวตาง ๆ กันและความหมายที่ใหกับอยูไวเปนจํานวนมาก ลูเซียน พาย (Lucian W. Pye) ไดรวบรวมความหมายของการพัฒนาการทางการเมืองที่นักรัฐศาสตร ใหไว พอสรุปไดดังนี้0 (1) 1. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเมืองอันจําเปนตอการปรับปรุงและพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเมืองในสังคมอุตสาหกรรม 3. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงการเมืองใหเปนสมัยใหม 4. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการดําเนินงานของรัฐชาติ ซึ่งมีลักษณะที่รัฐบาลมีอํานาจ ครอบคลุมทั้งประเทศ ประชาชนมีความรูสึกอันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยอิทธิพลของลัทธิ ชาตินิยม และมีความเปนพลเมืองของรัฐอยางแทจริง สถาบันของรัฐจะตองสามารถดําเนิน นโยบายที่สะทอนใหเห็นถึงลัทธิชาตินิยม และความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ 5. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการพัฒนาระบบบริหารและกฎหมาย 6. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการระดมประชาชนใหมีสวนรวมทางการเมือง 7. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย 8. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของความมีเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงที่เปนระเบียบ 9. พัฒนาการทางการเมือง เปนเรื่องของการระดมกําลังและอํานาจ อันหมายถึงประสิทธิภาพของ ระบบการเมืองในการทํางาน 10. พัฒนาการทางการเมือง เปนลักษณะอันหนึ่งของกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แอลมอนด และเพาเวล1 (2) (A;mond and Powell) ในหนังสือของเขาชื่อ Comperative Politic : A Development Approach ไดวางลักษณะของการพัฒนาการทางการเมืองไวดังนี้ 1. การแบงแยกความแตกตางในโครงสรางทางการเมือง ลักษณะเชนเดียวกันกับที่ พายกลาวไว 2. วัฒนธรรมทางการเมืองที่เปนแบบโลก (Socularization of Political Culture) วัฒนธรรมทาง การเมืองในสังคม จารีตประเพณีมักเปนแบบที่ไมมีเหตุผล ยึดถือในเรื่องโชคลางหรือความเชื่อถือ ที่มีติดตอกันมาโดยไมคํานึงถึงเหตุผล 3. ความเปนอิสระของระบบยอย (Subsystem Autonomy) หมายถึง ความเปนอิสระของหนวยงาน ตางๆ ในระบบ เชน หนวยงานปกครองทองถิ่น ระบบพรรคการเมือง ตลอดจนกลุมผลประโยชนมี ลักษณะเปนตัวของตัวเอง มีการจัดองคกรที่ดี และสามารถดําเนินงานไดโดยมีอิสระพอสมควร ลิขิต ธีรเวคิน2 (3) ไดพยายามเสนอแนะแนวความคิดหรือทฤษฎีการพัฒนาการทางการเมือง โดยไดเนน ถึงลักษณะสองประการคือ ทฤษฎีควรมีลักษณะสากล และจะตองมีการวางแผนพัฒนาทางการเมือง ในสวนที่ ทฤษฎีเปนลักษณะสากลนั้น ลิขิตไดเนนเรื่องความสามารถของระบบการเมืองที่จะสามารถตอบสนองความ (1) Lucian W. Pye, Aspects of Political Development (Boston : Little Brown, 1966). pp. 33-45 (2) Gabriel Almond and Bingham Powell, Comparative Politics : A Development Approach (Boston : Little, Brown, 1966), pp. 299-300 (3)ลิขิต ธีรเวคิน, การพัฒนาทางการเมือง เอกสารทางวิชาการ ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2. 22 ตองการที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา และความเจริญของสังคมได ความสามารถของระบบนี้ขึ้นอยูกับผูนํา ทางการเมือง อุดมการณ และการพัฒนาสถาบันทางการเมือง สวนการวางแผนพัฒนาทางการเมืองนั้น ลิขิตได ใชประเทศไทยเปนกรณีศึกษา โดยเสนอแนะการสรางพรรคการเมืองเดนพรรคเดียว แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเมืองขางตน ยังไดสะทอนใหเห็นถึงปญหาสําคัญประหารหนึ่ง ของการพัฒนาทางการเมืองในประเทศกําลังพัฒนา คือ เรื่องเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน นักทฤษฎีทางดานการพัฒนาทางการเมืองจะไดมีความคิดแตกตางกันในดานวิธีการศึกษา การพัฒนาทาง การเมือง แตสิ่งที่เห็นพองตองกัน คือ เรื่องการมีสวนรวมทางการเมือง พาย พูดถึงความเทาเทียมกัน แอ ลมอนด พูดถึงวัฒนธรรมทางการเมืองที่เปนแบบทางโลก (Secular Political Culture) ทั้งหมดนี้เปนเรื่อง แสดงถึงการตื่นตัวทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเปนปญหาสําคัญของประเทศที่ กําลังพัฒนา และเปนสิ่งที่นักทฤษฎีทางดานนี้ใหความสนใจรวมกัน การมีสวนรวมทางการเมืองกับการพัฒนาทางการเมือง : ทฤษฎีและแนวคิด ในจํานวนปญหาที่สําคัญของกระบวนการพัฒนาทางการเมือง คือ ปญหาที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม ทางการเมือง (Political Participation) เมื่อพิจารณาจากขอบเขตและความหมายของการพัฒนาทาง การเมืองที่กลาวมาแลวในตอนตน เห็นไดวาพัฒนาการทางการเมืองมีสวนเกี่ยวของกับความเทาเทียมกันของ ประชาชน ความสามารถของระบบการเมืองที่จะดูดซึมกลุมทางสังคมตาง ๆ ที่มีความตองการเขามีบทบาทใน กระบวนการตัดสินใจของรัฐบาล การพัฒนาประชาธิปไตยตอลดจนการเสริมสรางระบบการเมืองใหม ทั้งหมด นี้มีสวนเกี่ยวพันกับการมีสวนรวมทางการเมืองทั้งสิ้น ความหมายของการมีสวนรวมทางการเมือง3 (4) 1. เปนเรื่องของกิจกรรมไมใชทัศนคติ การมีสวนรวมทางการเมืองในที่นี้ไมใชเปนเรื่องของความคิด ความรูสึก หรือความเชื่อทางการเมือง 2. การมีสวนรวมทางการเมืองนี้ เราใชสําหรับบุคคลธรรมดาเทานั้น สวนนักการเมืองหรือผูนําทาง การเมืองนั้น การเกี่ยวของกับการเมืองเปนงานอาชีพของเรา เปนเรื่องของการมีบทบาททาง การเมือง (Political Role) 3. การมีสวนรวมทางการเมืองเปนเรื่องการแสดงออก เพื่อใหมีผลตอการตัดสินใจของรัฐบาลหรือ ผูนําประเทศ 4. การมีสวนรวมทางการเมืองอาจไมมีผลเปลี่ยนแปลงตอการตัดสินใจของผูนํา หรือรัฐบาลแตอยาง ใด การมีสวนรวมทางการเมือง อาจเปนไดทั้งจุดหมาย (Goals) และวิธีการของการพัฒนาที่เปน จุดมุงหมายนั้น เปนเพราะความเชื่อที่วา การมีสวนรวมทางการเมืองเปนลักษณะสําคัญของสังคมที่พัฒนาแลว ดังนั้น เมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมก็ตองพัฒนามีสวนรวมทางการเมืองดวย สําหรับการมีสวนรวม ทางการเมืองที่ถือวาเปนวิธีการอยางหนึ่งนั้น หมายถึง วิธีการของผูนําเพื่อนําไปสูจุดประสงคอีกอยางหนึ่ง เชน เพื่อเสริมอํานาจของผูนําหรือเพื่อพัฒนาประเทศ เปนตน หรือในประการที่สาม การมีสวนรวมทางการเมือง เปนผลพลอยไดของการพัฒนา เชน เมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มีผลใหประชาชนมีความตื่นตัวทาง การเมืองและนําไปสูการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมือง (4) Huntington and Nelson, No Easy Choice : Political Participation in Development Countries (Cambridge : Haiversity Press, 1977), pp.4, 17-41
  • 3. 23 ดังนั้น ในการพิจารณาเรื่องการมีสวนรวมทางการเมืองในประเทศกําลังพัฒนาจําตองพิจารณาถึงกลุม ผูนําตาง ๆ ที่ชวงชิงอํานาจหรือที่ตองการเขามามีสวนควบคุมรัฐบาล กลุมผูนําเหลานี้อาจแบงไดอยางกวาง ๆ เปน 2 กลุม คือ ทหารกับพลเรือน สําหรับกลุมทหารนั้นมักเปนกลุมที่ไมเห็นดวยกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนและเมื่อ ขึ้นมามีอํานาจมักอางวา การใหมีการเลือกตั้งก็ดี การมีการเมืองในระบบพรรคก็ดี กอใหเกิดความแตกแยก ดังนั้น จึงมีระงับหรือลดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนลง ในกรณีของประเทศไทย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนตัวองอันดีในเรื่องนี้ สําหรับผูนําทหารคนอื่น ๆ ก็เชนกัน เชน อายุบขาน และเซีย อูล ฮัค แหง ปากีสถาน หรือปก จุง ฮี แหงเกาหลีใต ในตอนแรกของการปกครองของตนไดใชวิธีการลดการมีสวนรวม ทางการเมืองของประชาชนลง อยางไรก็ตาม ผูนําทหารในหลายประเทศในระยะหลังไดใหความสนใจในเรื่องการมีสวนรวมทางการ เมืองของประชาชน และกลุมทางสังคมอื่น ๆ มากขึ้น เพียงแตการเปลี่ยนแปลงทาทีนั้นเปนเรื่องของความ พยายามที่จะดูดซึมการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชน ในขณะเดียวกันเปนความพยายามที่จะสรางฐาน สนับสนุนในหมูประชาชน เพื่อรักษาอํานาจของตนไว รวมทั้งแยงชิงฐานสนับสนุนจากฝายพลเรือน สําหรับผูนําพลเรือน4 (5) สวนใหญตองใหมีการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เพราะ เปนลูทางที่สําคัญที่ตนสามารถใชเปนฐานสนับสนุนบทบาททางการเมืองของตนได นอกจากนั้นในการทาทาย อํานาจของผูนําทหารที่ครอบงําการเมืองอยูเดิม ผูนําพลเรือนมักใชประชาชนเปนฐานอํานาจ ผูนําพลเรือนจึง กระตุนใหมีการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน จึงเปนตัวแปรสําคัญตอความมีเสถียรภาพทางการเมือง การตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนมีผลใหระบบการเมืองสั่นสะเทือน ผูนําฝายตรงขามอาจใชประชาชนเปน เครื่องมือทาทายอํานาจของผูนําในอํานาจ ซึ่งอาจนํามาซึ่งความวุนวายทางการเมืองได นักทฤษฎีตะวันตก หลายคน ไดพยายามแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมทางการเมืองกับความไมมีเสถียรภาพ ทางการเมือง โดยไดแสดงใหเห็นวา เมื่อประชาชนมีความหวังขึ้น มีความตองการมากขึ้นในสิ่งตาง ๆ ในชีวิต เนื่องจากสังคมมีความเจริญขึ้น จะเปนผลใหประชาชนเรียกรองตอระบบการเมืองใหตอบสนองความตองการ ของคนที่เพิ่มมากขึ้น และมักปรากฏอยูระบบการมักตอบสนองไดไมเต็มที่ จุดนี้เองทําใหเกิดความไมพอใจหรือ ความคับของใจขึ้น ทําใหประชาชนเริ่มตื่นตัวทางการเมือง และผลักดันใหประชาชนตัดสินใจตามความตองการ ของตัว เมื่อระบบการเมืองยังไมสามารถสนองตอบใหเปนที่พอใจได ประชาชนจะเปลี่ยนการกดดันแบบสันติ มาเปนแบบการใชความรุนแรงและเมื่อถึงจุดนี้ ระบบการเมืองจะพบกับความระส่ําระสาย ไรเสถียรภาพได อยางไรก็ตาม ทฤษฎีตะวันตกไมไดคํานึงถึงขอเท็จจริงที่วาในประเทศกําลังพัฒนาหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทยเอง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเปนเรื่องที่ถูกชักจูง หรือปลุกปนโดยผูนํา มากกวาเปนเรื่องของความตองการของประชาชนเอง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนจึงเปน เครื่องมือของผูนําทางการเมืองในการสรางฐานอํานาจใหกับตน และโคนลมผูนําฝายตรงขาม การมีสวนรวม ทางการเมืองของประชาชนเปนเรื่องที่ผูนําบางกลุมหยิบยื่นใหกับประชาชน เพื่อประโยชนทางการเมืองของ กลุมตน การที่ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งหลักจากเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อป พ.ศ. 2475 ไมไดเกิดจากการ เรียกรองของประชาชนเอง แตเปนเรื่องที่คณะราษฎรใชเพื่อสรางความชอบธรรมใหกับการปกครองของตน และหลังจากนั้นเปนตนมา การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนไดกลายเปนเครื่องมือทางการเมืองของ (5) สุจิต บุญบงการ, การพัฒนาทางการเมืองของไทย (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537) หน้า 43-43, 72-79
  • 4. 24 ผูนํากลุมตาง ๆ การตอสูระหวางผูนําทหารและผูนําพลเรือนไดเปนเรื่องของการตอสูระหวางการเพิ่มกับการ ลด การมีสวนรวมทางการเมือง และแมวาในตอนหลังฝายทหารจะไดยอมรับการมีสวนรวมทางการเมืองแลวก็ ตาม การมีสวนรวมทางการเมืองกับสถาบันทางการเมืองตาง ๆ จึงนาสนใจที่จะศึกษาเพื่ออธิบายการพัฒนา ทางการเมืองของไทยใหกระจางชัดเจน ในการวิเคราะหการพัฒนาทางการเมืองของไทย ประเด็นแรกที่จะตองทําความกระจางเสียกอน คือ ความหมายและแนวคิดหรือทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเมืองที่จะนํามาใชวิเคราะหในเรื่องของ ปฏิสัมพันธของสถาบันทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนในระบบการเมืองของไทย นักรัฐศาสตรตะวันตก ในระยะ 20 ปที่ผานมาไดพัฒนากรอบแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทาง การเมืองทั้งในสวนที่เกี่ยวของกับสถาบันทางการเมือง และการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนไวเปน จํานวนมาก ทฤษฎีเหลานี้ไดพัฒนาจากประสบการณทั้งจากประเทศที่พัฒนาแลว และประเทศที่กําลังพัฒนา ดังนั้น ในบทนี้ จะไดกลาวถึงความหมาย วิธีการศึกษาและทฤษฎีของการพัฒนาทางการเมือง โดยเฉพาะ จะได เนนถึงความหมายและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมทางการเมืองกับสถาบันทาง การเมืองที่จะไดนํามาใชเปนกรอบในการวิเคราะหการพัฒนาการเมืองไทยตอไป ผลกระทบของปญหาการมีสวนรวมทางการเมือง 1. ผลกระทบที่มีตอพรรคการเมืองและรัฐสภา พรรคการเมืองและรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง จําตองพึ่งพาอาศัยการมีสวนรวมของประชาชน ทั้งสิ้น พรรคการเมืองและรัฐสภาจําตองมีมวลชนเปนฐานอํานาจของตน ถาปราศจากการสนับสนุนจาก มวลชนแลวพรรคจะมีความเขมแข็งไดยาก ดังนั้น ผลกระทบที่สําคัญอันเกิดจากการมีสวนรวมทางการเมือง ของประชาชนยังมีระดับต่ําเชนนี้ คือ ทําใหพรรคการเมืองเจริญเติบโตชาและพัฒนาไดลําบาก อันที่จริงความออนแอของพรรคการเมือง ทําใหพรรคไมสามารถกระตุนใหประชาชนเกิดความ ตื่นตัวทางการเมืองได แตในขณะเดียวกันการที่คนมีความนิ่งเฉยทางการเมือง ก็เปนสาเหตุใหพรรคการเมือง ขาดฐานการสนับสนุนของประชาชน เปนผลใหพรรคการเมืองออนแอ ในกรณีประเทศไทยเราจะเห็นไดวา พรรคการเมืองมักเกิดขึ้นจากกลุมคนจํานวนไมมากนักที่มีความสนใจตื่นตัวทางการเมือง ประชาชนไมไดมีสวน รวมในการจัดตั้งพรรคการเมืองแตอยางใด เพราะประชาชนยังไมสนใจเขามีสวนรวมทางการเมืองดังนั้น ไมวา จะเปนพรรคที่ใหญโต จะมีอายุยืนนานมากเทาใดก็ตาม เชน พรรคประชาธิปตย พรรคกิจสังคมหรือ พรรคชาติไทย ก็หาไดมีสมาชิกเปนจํานวนมากกระจายอยูตามทั่วประเทศในเวลาลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ประชาชนทั่วไปยกเวนกรุงเทพฯ เลือกตั้งโดยบุคคลไมไดคํานึงถึงพรรค เปนการแสดงใหเห็นวา แมในกลุมของ ผูมีสวนรวมทางการเมือง หาไดมีความสนใจในการสนับสนุนการเมืองอยางที่ควรจะเปนไปไม ถาประชาชนมี ความตื่นตัวทางการเมืองแลว พรรคจะไมประสบกับความลําบากในการแสวงหาสมาชิกใหกวางขวางออกไปทั่ว ประเทศ และนอกจากจะไดจํานวนสมาชิกเพิ่มเติมแลว ยังจะไดสมาชิกที่มีความตื่นตัวและมีความจงรักภักดีตอ พรรคดวย อันจะทําใหพรรคมีความเขมแข็งมากขึ้น การที่ประชาชนสวนใหญไมมีสวนรวมทางการเมืองแสดง วาไมมีความสนใจทางการเมือง ซึ่งมีผลใหถูกชักจูงหรือระดมหรือจางวานใหเขามาสนับสนุนพรรคการเมืองได เชน ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เปนตน แตการสนับสนุนเชนนั้นเปนเรื่องชั่วครั้งชั่วคราวเทานั้น และไมมี ความจงรักภักดีตอพรรคแตอยางใด เพราะเปนเรื่องใหการสนับสนุนที่ไมไดเกิดจากความศรัทธา แตเกิดจาก การจูงใจ หรือแลกเปลี่ยนผลประโยชนเปนครั้ง ๆ ไป ระบบพรรคจะมีความเขมแข็งไดก็ตอเมื่อมีพรรคการเมืองจํานวนนอย และมีฐานสนับสนุนที่กวาง ซึ่งในเรื่องนี้จะทําไดก็ตอเมื่อมีประชาชนสนับสนุนเปนจํานวนมาก การที่ประชาชนไมมีสวนรวมทางการเมือง หรือมีแตไมมากนัก ทําใหพรรคการเมืองเกิดขึ้นไดงายและลมเลิกไปไดงาย เพราะพรรคการเมืองเปนเรื่องของ
  • 5. 25 คนกลุมเล็ก ๆ แคบ ๆ การรวมตัวกันตั้งพรรคการเมืองแบบนี้จึงไมใชเรื่องที่ยากเย็นนัก แตในขณะเดียวกันคน เหลานี้ที่จัดตั้งพรรคขึ้นมาแตกแยกกับพรรคนั้น อาจตองลมไปในที่สุด ประวัติศาสตรพรรคการเมืองไทยที่ผาน มาเปนไปในลักษณะนี้ทั้งสิ้น คือ พรรคการเมืองเปนเรื่องของคนกลุมนอย มีอายุสั้น การแตกแยกตัวเองออก จากพรรคหนึ่งไปรวมตัวกับอีกพรรคหนึ่ง หรือตั้งพรรคขึ้นมาใหมเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนปกติ ปรากฏการณ เชนนี้เกิดขึ้นไดงายเพราะประชาชนยังมีความนิ่งเฉยทางการเมือง และไมไดยุงเกี่ยวกับการดําเนินงานของ พรรคการเมืองแตอยางใด เมื่อบรรดานักการเมืองตั้งพรรคการเมืองใหมขึ้นมา หรือแยกตัวออกจากพรรคหนึ่ง ไปสังกัดอีกพรรคหนึ่ง ไมจําเปนตองคิดถึงประชาชนมากนักวา จะใหการสนับสนุนหรือไม พวกนี้เห็นวา ธรรมดาประชาชนมีความนิ่งเฉยทางการเมืองอยูแลว หรือมีความสนใจตัวบุคคลมากกวาพรรค ดังนั้นจะยาย พรรคกันอยางไร ประชาชนไมเกี่ยวของดวย แตถาพรรคมีสมาชิกเปนจํานวนมาก ไดรับการสนับสนุนจาก ประชาชนอยางกวางขวางและแนนแฟนแลว ใครก็ตามที่คิดแยกตัวออกจากพรรคเดิมจะตองคิดหนัก เพราะไม แนใจวาจะสามารถไดรับเสียงสนับสนุนจากประชาชนอยางที่เคยไดรับเมื่อตนสังกัดอยูกับพรรคเกาหรือไม การ จัดตั้งพรรคการเมืองในปจจุบันของนักการเมืองหลายคนจึงมีลักษณะเปนเพียงแตงตั้งขึ้นมาเพื่อใชเปน เครื่องมือตอรองเพื่อตําแหนงทางการเมืองที่สําคัญ ๆ เทานั้น เชน ตําแหนงรัฐมนตรี เปนตน นักการเมือง จํานวนไมนอยที่ตองการตั้งพรรคการเมืองของตนขึ้นมา เพื่อใหตนไดดํารงตําแหนงสําคัญ ๆ ของพรรค เมื่อ พรรคของตนเขารวมรัฐบาลตนจะไดเปนรัฐมนตรี แตถาไปรวมอยูในพรรคใหญ ตนเองมักไมไดเปนผูนําพรรค โอกาสเปนรัฐมนตรียอมมีนอยเปนธรรมดา ผลกระทบตอมาที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การที่ประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองนอย ยอมทํา ใหนักการเมืองทั้งที่เปนผูนําพรรค หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไมไดอยูในความควบคุมดูแลของประชาชน อยางแทจริง ปจจุบันแมวาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทบทุกคนไดพยายามชวยเหลือประชาชนในเขตเลือกตั้ง ของตน แตความรับผิดชอบสมาชิกสภาผูแทนฯ ก็ดี พรรคการเมืองก็ดี ไมจําเปนตองระวังมากนักในการทํางาน ยกเวนเรื่องการชวยเหลือประชาชนเทานั้น พฤติกรรมอื่น ๆ ที่บรรดาสมาชิกสภาแสดงออกในสภาก็ดี การเมืองก็ดี เปนเรื่องที่ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะในเขตชนบทไมไดใหความสนใจ การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ถามีมากแลวพรรคการเมืองก็ดี สมาชิกผูแทนราษฎรก็ ดี จะมีพลังเพื่อแสดงมติของพรรคการเมืองและรัฐสภาไดอยางดี ไมวาจะเปนเรื่องของการชุมนุมพลังเพื่อแสดง มติหรือแสดงพลังของพรรค สิ่งเหลานี้ยอมมีผลชวยใหใหสถาบันที่มาจากประชาชนมีความเขมแข็งขึ้น โดยเฉพาะในการแสดงพลังเพื่อตอตานกับผูนําเผด็จการ พรรคการเมืองและรัฐสภา ไมมีทางตอสูกับพลังของ ผูนําทหารได ถาสถาบันทั้งสองปราศจากการสนับสนุนอยางเขมแข็งของประชาชนเปนจํานวนมาก และการ สนับสนุนเชนนี้เกิดขึ้นไมได ถาประชาชนไมมีความสนใจเขามามีสวนรวมทางการเมือง นอกจากนั้น พรรคและ สมาชิกรัฐสภาก็ยังสามารถไดรับการสนับสนุนในรูปแบบอื่น ๆ ได ถาประชาชนมีความสนใจทางการเมืองมาก ขึ้น เชน ในเรื่องการเงิน หรือการหาเสียงเลือกตั้ง เปนตน ปจจุบันทุกพรรคยอมรับวาประสบปญหาทางดาน การเงิน ไมสามารถไดรับเงินสนับสนุนเพียงพอแกการดําเนินงานของพรรคทางแกไขของพรรคการเมืองในเรื่อง นี้จึงมักเปนไปในแบบของการดึงเอาตัวผูนําทางธุรกิจที่มีฐานะดีเขามารวมมือกับพรรคโดยแลกเปลี่ยนกับ ผลประโยชนที่สําคัญ เชน ตําแหนงผูนําพรรค หรือตําแหนงรัฐมนตรี เปนตน และบางทีผูที่เต็มใจสนับสนุนทาง การเงินเชนนี้มีไมมากนัก พรรคจําตองยอมตามความตองการของบรรดานักธุรกิจ หรือผูมีเงินเหลานี้อยูดี แต ถาประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองเปนจํานวนมาก พรรคยอมมีโอกาสมากขึ้นที่จะแสวงหาการสนับสนุนทาง การเงินจากคนในวงกวาง หรืออาจไดอาสาสมัครมาชวยงาน โดยไมยอมรับเงิน ซึ่งจะชวยทุนคาใชจายในการ ดําเนินงาน
  • 6. 26 โดยสรุปการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนแบบสมัครใจ หรือแบบเสรีนั้นเปนเครื่องระบุ วาประชาชนตองการประชาธิปไตย การมีสวนรวมทางการเมืองแบบเสรี เปนสิ่งที่เขาไมไดกับการปกครองแบบ เผด็จการ ดังนั้น ถาการมีสวนรวมของประชาชนมีนอยแลว สถาบันการเมืองแบบประชาธิปไตยพัฒนาได ลําบาก แตถาการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนมีกวางขวางขึ้น สถาบันอยางพรรค การเมืองและรัฐสภาพยอมไดรับการพัฒนาตามไปดวย เพราะเปนสถาบันหลักของระบอบประชาธิปไตยนั่นเอง 2. ผลกระทบที่มีตอการพัฒนาประชาธิปไตย จากลักษณะที่กลาวขางตน การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนที่ไดกลาวมาแลวขางตน มี ผลกระทบตอการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพเปนอยางมาก ผลกระทบที่เห็นไดชัด คือ 1) เปนการเปดโอกาสใหมีการยึดอํานาจบอยครั้งโดยฝายทหาร นับตั้งแตประชาชนไทยไดรับ สิทธิทางการเมือง และไดรับโอกาสใหมีสวนรวมทางการเมือง เมื่อป พ.ศ. 2475 เปนตนมา ประชาชนคนไทยไดแสดงความสนใจ ความตื่นตัว รวมทั้งไดเขามีสวนรวมทางการเมืองนอย มาก เมื่อความสนใจทางการเมืองของประชาชนอยูในระดับต่ําเชนนี้ จึงไมเปนอุปสรรคแก การเขายึดอํานาจฝายทหาร แทบมุกครั้งที่มีรัฐประหารเกิดขึ้นไมวาจะสําเร็จหรือไมก็ตาม ประชาชนไมมีสวนยุงเกี่ยวแตอยางใด ไมมีการแสดงอาการวาเห็นดวย หรือคัดคาน ในการทํา รัฐประหารเหลานั้น ผูทํารัฐประหารจึงมักไมตองพะวงมากนักวาจะมีประชาชนลุกฮือขึ้นมา ตอตานการทํารัฐประหารของตน แมวาในระยะหลัง ๆ มีประชาชนเขามายุงเกี่ยวมากขึ้น ทั้ง ในดานการสนับสนุนและการคัดคานในการทํารัฐประหาร โดยเฉพาะตั้งแตวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เปนตนมา อยางไรก็ตาม การขยายตัวของการมีสวนรวมของประชาชนในเรื่องนี้ ยังไมมากพอที่จะทําใหความเปนไปไดของการรัฐประหารหมดสิ้นไป การที่ประชาชนใหความ สนใจทางการเมืองมากขึ้นนั้นยังไมถึงระดับที่ขัดขวางการทํารัฐประหารได 2) ทําใหรัฐบาลพลเรือนสรางความชอบธรรมไดลําบาก ปจจัยที่ชวยสงเสริมเสถียรภาพของ ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ รัฐบาลพลเรือนประชาธิปไตยตองมีความชอบธรรม ของรัฐบาลนั้นหมายความวา ประชาชนสวนใหญและกลุมหลัก ๆ ที่มีพลังทางการเมืองให การสนับสนุนและเห็นวา รัฐบาลนั้นมีความเหมาะสมถูกตอง รัฐบาลที่ไดรับการสนับสนุนจาก ประชาชนอยางกวางขวางเชนนี้ ยอมทําใหรัฐบาลมีความมั่นคง มีเสถียรภาพและถามีความ พยายามจากกลุมหนึ่งกลุมใดที่ตะโคนลมรัฐบาลนั้น โดยพลการหรือโดยอาศัยกําลังแลว ประชาชนจะพรอมเขาตอตาน ประชาชนที่มีประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ เชน อังกฤษ หรือสหรัฐอเมริกา ฯลฯ นั้นเปนประเทศที่มีทั้งระบบการเมืองและรัฐบาล ถามี ความชอบธรรมสูง และมีประชาชนสนับสนุนอยางกวางขวาง อันเปนผลใหการลมลางรัฐบาล หรือระบบการเมืองโดยกําลังหรือการทําการรัฐประหาร เปนเรื่องที่เปนไปไมได แมแตใน ความฝน แตสําหรับกรณีของประเทศไทยนั้น ระบบประชาธิปไตยและรัฐบาลพลเรือนไดรับ การสนับสนุนจากประชาชนไมกวางนัก หรือมาลงคะแนนเสียงโดยไมคํานึงถึงวาอยากใหใคร เปนรัฐบาลหรือไปลงคะแนนเพราะถูกเกณฑ หรือถูกจางวาน รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง เชนนี้ ยอมไมมีฐานมั่นคงในหมูประชาชนเปนรัฐบาลที่มีความเปราะบาง และมักอางลําบาก วาเปนรัฐบาลที่ประชาชนใหการสนับสนุน นอกจากนี้ยังมักถูกโจมตีอยูเสมอ ๆ จากกลุมที่ไม ชอบประชาธิปไตยวาเปนรัฐบาลที่ไมไดรับการรับรองและรับการสนับสนุนจากประชาชน อยางแทจริง
  • 7. 27 3) ในกรณีที่ประชาชนมีความสนใจและมีสวนรวมทางการเมืองต่ํา ประชาชนสวนใหญที่มีความ นิ่งเฉยทางการเมือง อาจถูกชักจูงหรือถูกระดมใหหันมาสนับสนุนระบอบเผด็จการ หรือ ระบอบการปกครองโดยทหาร ซึ่งเปนผลเสียตอการพัฒนาประชาธิปไตยเปนอยางมาก โดยทั่วไปการชักจูงใหประชาชนมีบทบาท หรือมีสวนรวมทางการเมืองเปนลักษณะสําคัญ ของระบบการเมืองสมัยใหม ไมวาจะเปนระบบเผด็จการหรือประชาธิปไตยสมัยใหม จะมีการ มีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนอยูเสมอ จะผิดกันก็แตเพียงวาการมีสวนรวมในระบบ เผด็จการนั้นเปนเรื่องของการถูกระดม สวนในระบอบประชาธิปไตยเปนเรื่องของความสมัคร ใจ ถาระบบการเมืองไทยมีการระดมใหประชาชนสนับสนุนการปกครองของทหารหรือเผด็จ การในรูปตาง ๆ แลวจะกลายเปนอุปสรรคอยางสําคัญตอการพัฒนาประชาธิปไตย รัฐสภากับการพัฒนาทางการเมืองไทย 1. รัฐสภากับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ความสัมพันธระหวางรัฐสภากับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เปนอีกประเด็นหนึ่งที่ จะชวยอธิบายถึงลักษณะการพัฒนาทางการเมืองของไทย โดยทั่วไปแลวรัฐสภาหรือสถาบันนิติบัญญัติมักมี ความเชื่อมโยงอยางใกลชิดกับการมีสวนรวมทางการเมือง เพราะเปนสถาบันที่มาจากการเลือกตั้งของ ประชาชน ยกเวนในบางชวงที่สภานิติบัญญัติมาจากการแตงตั้ง ความตอเนื่องของการปฏิบัติงานของรัฐสภา อํานาจและบทบาททางการเมืองของรัฐสภา ยอมสะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของการมีสวนรวมทางการเมือง ของประชาชน ในกรณีที่สถาบันนิติบัญญัติไดรับการเลือกตั้งมีบทบาทอยางตอเนื่อง เปนระยะเวลาอันยาวนาน และมีอํานาจมีบทบาทในทางการเมืองอยางเขมแข็งและกวางขวางแลวยอมเปนเครื่องชี้ไดวา การมีสวนรวม ทางการเมืองของประชาชนมีความหมาย นับตั้งแตประเทศไทยมีรัฐสภาเปนตนมา ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป พงศ. 2475 นั้น ปรากฏวามีเพียงชวงระยะเวลาสั้น ๆ ที่สภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้ง มีบทบาทและอํานาจทางการ เมืองทั้งในทางพฤตินัยและนิตินัย คือ สภาผูแทนฯ ในชวงป 2489-2490 และในชวงป พ.ศ. 2518-2519 สภา ผูแทนฯ ในชวงป พ.ศ. 2489 ถึงรัฐประหารในป พ.ศ. 2490 เปนสภาที่จัดตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญฉบับใหม ประกาศใชในป พ.ศ. 2489 ตามความตองการของนายปรีดี พนมยงค และคณะ ซึ่งเปนกลุมที่มีอํานาจทาง การเมืองมากที่สุดในขณะนั้นที่ตองการจะจัดรูปแบบรัฐบาลเสียใหม ใหกลุมของตนมีพื้นฐานทางการเมืองที่ มั่นคง และขจัดนักการเมืองที่สนับสนุนจอมพล ป. ที่ยังคงมีอยูบางในสภาผูแทนฯ ชุดเดิมรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได ระบุใหมีสภา 2 สภา คือ สภาผูแทนราษฎรเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และพฤฒิสภาเลือกตั้งโดยทางออม สวนรัฐสภาในชวงป พ.ศ. 2518-2519 ประกอบดวย 2 สภา เชนเดียวกัน คือ สภาผูแทนราษฎร เลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชนและวุฒิสภา แตงตั้งโดยรัฐบาล แตทั้งวุฒิสภาและพฤฒิสภาขางตนมีอํานาจนอยมาก อํานาจสวนใหญอยูที่สภาผูแทนราษฎร นอกจากนี้ขอบัญญัติในรัฐธรรมนูญที่หามขาราชการประจําเปนสมาชิก สภาสูงทั้งสองชวงนี้ ทําใหอํานาจที่แทจริงของสภาสูงทั้งสองลดนอยลงไปอีก ถาสภาทั้งสองนี้มีขาราชการ ประจําทั้งทหารและพลเรือนเปนสมาชิก สมาชิกสภาโดยอาศัยความเปนขาราชการอาจแสดงอิทธิพลทาง การเมืองไดมากขึ้น สภาผูแทนราษฎรที่อยูในชวงนี้มีอํานาจในการควบคุมรัฐบาลอยางมาก รัฐบาลตองขอความ ไววางใจตอสภากอนจึงจะเขามาบริหารประเทศ สภาผูแทนมีอํานาจลงมติไมไววางใจคณะรัฐมนตรีทั้ง รายบุคคลและทั้งคณะ โดยเฉพาะรัฐธรรมนูญป พ.ศ. 2517 ไดกําหนดใหนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีจํานวน หนึ่งตองเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อันที่จริงสภาผูแทนในชวงหลังรัฐประหารป พ.ศ. 2490-2493 ซึ่งใช
  • 8. 28 รัฐธรรมนูญป 2492 ไดใหอํานาจสภาผูแทนราษฎรไวไมนอยไปกวาสองชวงที่ไดกลาวมากอนหนานี้ ตาม รัฐธรรมนูญป 2490 คณะรัฐมนตรีตองขอความไวใจจากรัฐสภา ซึ่งประกอบดวยวุฒิสภาและสภาผูแทนฯ เสียกอนจึงจะเขาบริหารประเทศ สวนรัฐธรรมนูญป 2492 ใหอํานาจนี้แกสภาผูแทนฯ เชนเดียวกัน แต การเมืองในชวง พ.ศ. 2492-2495 ถูกคณะรัฐประหารครอบงํา ดังนั้นรัฐสภาทําอะไรที่ขัดแยงกับฝายทหารนัก ไมได การที่คณะรัฐประหารไดสงนายทหารมาบังคับใหนายควง อภัยวงศ ลาออกจากนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2491 หรือจากการที่จอมพล ป. ไดยึดอํานาจเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ก็ดวยเหตุผลที่ คลายคลึงกัน คือ สภาผูแทนฯ ไดแสดงบทบาทที่คอนขางเปนอิสระมากเกินไป การเปลี่ยนจากระบบรัฐสภาซึ่งใชมาตั้งแตป พ.ศ. 2475 มาเปนแบบกึ่งรัฐสภาหรือแบบแบงแยก อํานาจในชวงป พ.ศ. 2511-2514 นั้น เปนเรื่องของความพยายามของผูนําทหารและขาราชการพลเรือนที่จะ รักษาอํานาจทางกรเมืองไว ระบบการแบงแยกอํานาจเชนนี้ เปนการยืนยันความเชื่อของผูนําทางการเมืองที่มา จากระบบราชการที่เห็นวา สมาชิกสภาผูแทนยังไมมีความสามารถพอที่จะบริหารประเทศได ควรมีอํานาจแต เพียงการออกกฎหมายเทานั้น อยางไรก็ตาม วิธีการเชนนี้มีอายุอยูไมนานและถูกยกเลิกไป เมื่อ จอมพลถนอม ยึดอํานาจตัวเองเมื่อปลายป พ.ศ. 2514 หลังจากพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท ยึดอํานาจจากรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร เมื่อปลายป พ.ศ. 2520 นั้น ปญหาเกาไดเขาสูผูนําทางทหารอีกครั้งหนึ่งคือ รูปแบบความสัมพันธระหวางฝายบริหารกับ ฝายนิติบัญญัติควรเปนอยางไร จึงจะใหมีภาพพจนประชาธิปไตย ในขณะเดียวกันสามารถรักษาเสถียรภาพ ทางการเมืองและผูนําทหารยังสามารถรักษาอํานาจอยูไดอยางชั่วระยะเวลาหนึ่ง รูปแบบที่ใชตามรัฐธรรมนูญป 2521 นี้ ยังไมปลอยอํานาจใหกับสภาผูแทนราษฎรและพรรค การเมืองอยางเต็มที่เหมือนในชวงป พ.ศ. 2518-2519 แตไดพยายามยึดแบบรัฐสภาเปนหลัก แตยืมหลัก แบงแยกอํานาจมาใชบาง เชน ในประเด็นที่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีไมตองมาจากรัฐสภาก็ได และสามารถ เขาบริหารประเทศไดโดยไมตองขอความไววางใจจากสภากอน สวนในเรื่องอื่น ๆ ยังคงรูปแบบของรัฐสภาไว เชน เรื่องของการใหอํานาจสภาผูแทนราษฎรในการเปดอภิปรายลงมติไมไววางใจคณะรัฐมนตรี ทั้งที่เปน รายบุคคลและเปนคณะ วุฒิสภาซึ่งเปนสภาแตงตั้งนั้นมีอํานาจหลัก ๆ เพียงใหความเห็นชอบแกรางกฎหมายที่ ผานสภาผูแทนราษฎรแลว อํานาจอีกประการหนึ่งที่มีเทาเทียมกับสภาผูแทนราษฎร คือ อํานาจในการแกไข รัฐธรรมนูญ และตีความการทํางานของรัฐสภา ซึ่งตองใชการประชุมกับสภาผูแทนราษฎร การที่สภา ผูแทนราษฎรถูกยุบได ก็เปนลักษณะของระบบรัฐสภาอีกเชนกัน แตในชวง 4 ป แรกที่มีการใชบทเฉพาะกาลที่ ใหวุฒิสภามีอํานาจเทากับสภาผูแทนฯ ในการควบคุมรัฐบาลและยินยอมใหขาราชการประจําดํารงตําแหนงใน คณะรัฐมนตรี และตําแหนงทางการเมืองอื่น ๆ นั้นเปนความพยายามของฝายผูนําทหารก็จะมีบทบาททาง การเมืองอยูชั่วระยะเวลาหนึ่ง สวนรูปแบบของรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 รัฐสภามีหนาที่สําคัญ คือ การบัญญัติ กฎหมายและควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ประกอบดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีการ ขยายสมัยประชุมเดิมจาก 90 วัน เปน 120 วัน ประกอบดวยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจาก ประชาชนทั้งสองสภา โดยสภาผูแทนราษฎรมีจํานวน 500 คน คงที่ มาจากการเลือกตั้ง 2 แบบ คือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวน 400 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงแบบเขตเดียวเบอรเดียวและการเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อจํานวน 100 คน สวนวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง โดยใชเขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั้ง จํานวน 200 คน คงที่ ดํารงตําแหนงคราวละ 6 ป สวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป
  • 9. 29 นับเปนรัฐธรรมนูญฉบับที่เปนประวัติศาสตรการเมืองไทยที่ไดมีการพัฒนาขึ้นมาเปนประชาธิปไตย และมีการ ถวงดุลอํานาจมากขึ้น5 (6) ดังนั้นเราจะเห็นไดวา ลักษณะของรัฐสภาจะเปนเชนไรนั้น ขึ้นอยูกับผลการตอสูระหวางทหารกับ พรรคการเมืองในชวงที่ทหารเพลี่ยงพล้ํา สภาผูแทนฯ จะมีอํานาจมาก และถาในชวงที่ทหารมีอํานาจมากสภา ผูแทนฯ มักจะมีบทบาทจํากัด ดังนั้นลักษณะของรัฐสภาจึงสะทอนบทบาทหรือความสําคัญของการมีสวนรวม ทางการเมืองของประชาชนไดเปนอยางดี 2. บทบาทของรัฐสภา รัฐสภาในประเทศไทยที่กําลังพัฒนา มักมีอํานาจและบทบาทจํากัด เพราะการเมืองในประเทศ เหลานี้ถูกครอบงําดวยระบบราชการ หรือไมก็ดวยพรรคการเมืองพรรคเดียว อยางไรก็ตาม บทบาทของรัฐสภา ไทยมีทั้งที่มีอิทธิพลและไมมีอิทธิพล ทั้งนี้ยอมแลวแตสภาพการเมืองในชวงระยะเวลานั้น ๆ 2.1 บทบาทในดานความชอบธรรม หนาที่หรือบทบาทประการแรกคือ หนาที่ในการสรางความชอบธรรมใหกับระบบการเมือง โดยทั่วไปรัฐสภามักไมคอยมีความเขมแข็งทางการเมือง แตมีบทบาทที่สําคัญ คือ สรางความชอบธรรมใหกับ ระบบการเมืองที่เปนอยู และผูนําทางการเมืองในขณะนั้น การจัดตั้งสภารางรัฐธรรมนูญในป พ.ศ. 2502 ใน สมัยการปกครองของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนตัวอยางอันดีในเรื่องนี้ เพื่อแสดงวาผูนําทหารยอมรับอยาง นอยหลักการบางแยกอํานาจ แมวาสภารางรัฐธรรมนูญไมมีอํานาจทางการเมืองแตอยางใด อาจกลาวไดวาเปน สภาตรายาง แตอยางนอยทําใหระบบการเมืองและกฎหมายตาง ๆ ที่ออกมาบังคับใช มีความชอบธรรม เพราะ อนุมัติโดยสภานิติบัญญัติ ไมใชฝายทหาร นอกจากนั้นการมีรัฐสภาก็เพื่อแสดงวามีลักษณะของ “ประชาธิปไตย” อยู การเลือกตั้งใหมีสภาผูแทนราษฎรในชวงป 2495-2500 ก็ดี หรือในชวงป พ.ศ. 2512- 2514 ก็ดี ก็เปนความพยายามของผูนําทหารที่แสดงวาตนยอมรับใหมีหลักการประชาธิปไตย เพื่อลดความตึง เครียดทางการเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในป พ.ศ. 2512 ไดมีแรงกดดันเพิ่มมากขึ้น เพื่อใหมีการเลือกตั้ง จนกระทั่งรัฐบาลตองยินยอมตามรัฐสภาในชวงป พ.ศ. 2521 เปนตนมามีสวนชวยสรางความชอบธรรมใหกับ ประเทศเปนอยางมากเชนกัน เพราะเปนการลดความไมพึงพอใจในการปกครองแบบรวมอํานาจในสมัยรัฐบาล นายธานินทร กรัยวิเชียร 2.2 บทบาทในดานอิทธิพล หนาที่หรือบทบาทในประการตอมาเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับอิทธิพบของรัฐสภา (Influence Function) รัฐสภาที่มาจากการแตงตั้งมักมีอิทธิพลทางการเมือง และในดานการตัดสินใจนอยกวาสภาที่มา จากการเลือกตั้ง ยกเวนสภานิติบัญญัติในชวงหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งถึงแมวาเปนสภาที่มา จากการแตงตั้ง แตมีบทบาทที่เขมแข็ง และมีอิทธิพลสูงเพราะวาระบบการเมืองมีเสรีภาพมากขึ้น เนื่องจาก จอมพลถนอมและจอมพลประภาส ถูกโคนลมไป แตสําหรับในชวงที่สภามาจากการเลือกตั้ง ปรากฏวารัฐสภามีบทบาทอยางสําคัญในการ แสดงออกซึ่งอิทธิพลของตน และเมื่อพรรคการเมืองไมมีเอกภาพเทาที่ควร สมาชิกสภาจึงมีอิสระในการแสดง บทบาทของตนเองไดดีพอสมควร ทําใหสถาบันรัฐสภามีอิทธิพลมากขึ้น อยางไรก็ตาม สภาผูแทนฯ ยังสามารถลมรางกฎหมายของรัฐบาลไดบาง แตความสามารถ เชนนี้ไมไดเปนเพราะสภาผูแทนมีความเขมแข็งมากขึ้นแตอยางใดไม แตเปนเพราะความออนแอของรัฐบาลเอง (6)เอกสารสรุปสาระข้อสังเกตของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่, คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปการเมือง 2540, หน้า 7-11
  • 10. 30 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 สภาผูแทนฯ ไดลงมติไมรับพระราชกําหนดขึ้นภาษีทะเบียนรถยนตดีเซล เปนผลใหสภาผูแทนราษฎรถูกยุบลงในที่สุด 2.3 บทบาทในการควบคุมดูแลการบริหารงานของรัฐบาล วิธีการที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรใชเพื่อควบคุมการทํางานของรัฐบาลคือการเปดอภิปรายไม ไววางใจรัฐบาลเปนรายบุคคลและเปนคณะ การตั้งกระทูถาม ในเรื่องการเปดอภิปรายไมไววางใจนั้น ฝายคาน มีโอกาสชนะนอยมาก เนื่องจากมีเสียงในสภาผูแทนนอยกวาพรรครวมรัฐบาล แตการอภิปรายซักถามยอยทํา ใหฝายรัฐบาลตองระมัดระวังตัวในการบริหารงานมากขึ้น ฝายคานมักใชการอภิปรายในสภากระตุนความรูสึก ของประชาชน และเพื่อสรางประชามติกดดันรัฐบาล ถาไมสามารถตอบขอซักถามไดอยางกระจางแลว วิธีการ เชนนี้ทําใหรัฐบาลขาดแคลนการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไปได 2.4 บทบาทในดานอื่น ๆ นอกจากนี้รัฐสภายังมีบทบาทในดานอื่น ๆ อีก เชน บทบาทในดานการปกปองรักษา ผลประโยชนของประชาชน หรือบทบาทในเรื่องการแสดงความเดือดรอนของประชาชนใหเปนที่ประจักษ (Interest Articulation Function) การอภิปรายและกระทูถามในชวงป พ.ศ. 2511-2514, 2518-2519 และ 2522 เปนตนมา ไดสะทอนถึงความทุกขของประชาชนอยูไมนอย การพบปะกับราษฎรในทองถิ่นของตนเปน สิ่งสําคัญอยางมาก เพื่อทราบขอเดือดรอนของเขา สมาชิกสภาจําเปนตองสละเวลาไมนอยเพื่อการนี้ 3. รัฐสภากับสถาบันทหาร เนื่องจากทหารเปนกลุมพลังที่สําคัญ ความสัมพันธระหวางรัฐสภากับทหารจึงเปนสิ่งสะทอนให เห็นวา รัฐสภามีอํานาจและบทบาททางการเมืองมากนอยเพียงใด ความสัมพันธระหวางทหารกับรัฐสภาที่นา ศึกษา คือ การพิจารณางบประมาณทาการทหารของรัฐสภา6 (8) สมาชิกรัฐสภาพยายามหาทางตัดทอน งบประมาณของทหารลงใหได แตจากเหตุการณที่ผานมาเกือบทุกสมัยไมมีรัฐสภาใดสามารถตัดงบราชการของ กองทัพบกได แสดงวาทหารยังมีบารมีหรือิทธิพลทางการเมืองอยูไมนอย บรรดาสมาชิกสภาผูแทนฯเหลานี้ ยอมรับวา ทหารยังมีบทบาทในการกําหนดเกมการเมือง จึงยังตองการมีความสัมพันธที่ดีกับผูนําทหารได นอกจากนั้นจากการที่นักธุรกิจและนายทุนไดเขามามีบทบาทมากขึ้นในพรรคการเมือง และไดรับ การเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไดเปนเปาหมายของการวิพากษวิจารณของฝายทหารวา สภา ผูแทนราษฎรกําลังเปนแหลงแสวงหาผลประโยชนของบรรดานักธุรกิจบางคน ทําใหสภาผูแทนราษฎรไมไดเปน ผูทําหนาที่เปนตัวแทนของประชาชนอยางแทจริง ขอโจมตีอันนี้เองที่แสดงวา ความสัมพันธระหวางสภา ผูแทนราษฎรยังไมราบรื่นเทาที่ควร แตในขณะเดียวกันก็แสดงใหเห็นวานักธุรกิจกําลังกาวเขาสูวงการเมือง และอาจเปนพลังที่สําคัญในทางการเมืองในอนาคตที่ทาทายอํานาจของฝายทหาร กลุมผลประโยชนกับการมีสวนรวมทางการเมือง ในประเทศประชาธิปไตยตะวันตก รัฐสภา พรรคการเมือง และกลุมผลประโยชน มีความสัมพันธกัน อยางใกลชิดในประเทศเหลานี้กลุมผลประโยชนเปนตัวเชื่อมที่สําคัญระหวางพรรคการเมืองและประชาชนเปน องคกรที่ทําหนาที่จัดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ชวยกระตุนและดึงประชาชนเขามามีสวนใน การตัดสินใจของรัฐบาล เปนสื่อหรือตัวกลางของประชาชนในการเรียกรองความตองการของคนตอหนวยงาน ของรัฐ แตสําหรับประเทศไทยแลว กลุมผลประโยชนมีไมมากนัก และไมไดมีการรวมกลุมกันอยางเขมแข็งแต ประการใด ยกเวนในระยะหลังที่มีกลุมกดดัน และกลุมผลประโยชนบางกลุมที่มีอิทธิพลทางการเมืองมากขึ้น (8)รายละเอียดดูสุจิต บุญบงการ, อ้างแล้ว, หน้า 80-95
  • 11. 31 กลุมที่มีบทบาททางการเมืองที่มีสวนเกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน และมี สวนกําหนดความสัมพันธระหวางพรรคการเมืองกับทหาร คือ กลุมนักศึกษาและกลุมนักธุรกิจ 1. กลุมนิสิตนักศึกษากับการตอสูเพื่อการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน กลุมนักศึกษาถือไดวาเปนหัวหอกสําคัญในการตอสู เพื่อการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของ ประชาชนซึ่งมีผลใหพรรคการเมืองและกลุมนักธุรกิจไดใชการมีสวนรวมทางการเมืองนี้เปนฐานสรางอํานาจ ใหกับตัวเอง กลาวอีกนับหนึ่ง กลุมนักศึกษาไดเปนกลุมที่ตอสูเพื่อประชาธิปไตย สวนกลุมนักธุรกิจเปนกลุมที่ ไดประโยชนจากผลการตอสูของกลุมนิสิตนักศึกษา โดยทั่วไปบทบาททางการเมืองของนิสิตนักศึกษาของไทยนั้นมีลักษณะที่ตอตานการปกครองแบบ เผด็จการ และสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บทบาททางดานนี้เห็นไดชัดเจน คือ บทบาทของ ศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ในการตอสูทางการเมืองมานับตั้งแตป พ.ศ. 2514 จนกระทั่งไดเปน แกนนําในการเรียกรองความเปนธรรมใหชนชั้นผูยากไร อันไดแก ชาวไร ชาวนา กรรมกร ซึ่งถูกบีบคั้นมาเปน เวลานาน นอกจากนั้นขบวนการนิสิตนักศึกษายังไดประทวงการปราบปรามผูกอการรายอยางรุนแรง โดยไม เลือกวาเปนผูกอการรายจริงหรือเปลา และไดรณรงคตอตานนโยบายของสหรัฐอเมริกา การตั้งฐานทัพของ สหรัฐอเมริกาในประเทศไทย7 (9) ฯลฯ ปรากฏวาในชวงเดือนพฤศจิกายน 2516 ถึงกันยายน 2517 ปรากฏวาได มีการเดินขบวนและชุมนุมประทวงของบรรดานิสิตนักศึกษา เฉพาะนอกเขตกรุงเทพมหานครถึง 365 ครั้ง8 (10) ซึ่งกวาครึ่งหนึ่งเปนการประทวงการบริหารงานของจังหวัด นอกจากนั้นยังมีการประทวงการกลับมาของจอม พลประภาส จนเปนผลทําใหจอมพลประภาสตองเดินทางออกนอกประเทศอีกครั้งหนึ่ง และสุดทายการกลับมา ของจอมพลถนอม จนเกิดเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 ขึ้น ความสําเร็จของนักศึกษาในการโคนลมรัฐบาลทหารของจอมพลถนอมและจอมพลประภาสเมื่อ 14 ตุลาคม 2516 และการเคลื่อนไหวเรียกรองในเรื่องตาง ๆ นั้น ทําใหเกิดประเด็นที่นาสนใจวาอะไรเปน ปจจัยที่สําคัญอันทําใหนักศึกษามีพลังทางการเมืองจนสามารถเคลื่อนไหวทางการเมืองไดถึงระดับนั้น ปจจัย ดังกลาวอาจแยกใหเห็นไดดังนี้ 1) การยอมรับจากสังคม นิสิตนักศึกษาเปนกลุมที่ไดรับการยกยองและยอมรับจากสังคมสูง โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองแลว สังคมยอมรับวานิสิตนักศึกษาไมไดผูกพันหรือไม ไดรับใชกลุมการเมืองกลุมใดกลุมหนึ่ง การเคลื่อนไหวทางการเมืองครั้งใดก็ตาม ถาประชาชน มีความเชื่อวาเปนไปเพื่อรับใชผูนําทางการเมืองใดแลว จะไมสามารถระดมการสนับสนุนจาก ประชาชนไดอยางกวางขวาง 2) การรวมกลุมในสังคมที่กําลังพัฒนา การรวมกลุมมีอยูไมมากนัก กลุมอาชีพหรือกลุมทาง สังคมใดที่รวมตัวกันไดอยางเขมแข็ง ยอมทําใหมีพลังทางการเมือง สามารถเคลื่อนไหวทาง การเมืองไดดี ในกรณีของไทยนั้น เห็นไดวาระบบราชการและทหารเปนกลุมที่มีการรวมตัว กันอยางดี ในขณะที่พรรคการเมืองและกลุมผลประโยชนอื่น ๆ มีการรวมตัวกันอยางหลวม ๆ จึงไมสามารถตานทางอํานาจของทหารและระบบราชการได ยิ่งบรรดานักธุรกิจ นัก อุตสาหกรรมแลวแทบจะไมมีการรวมเปนกลุมผลประโยชนเลย สวนนิสิตนักศึกษาเปนกลุมที่ มีจํานวนไมนอย และไดมีการรวมกลุมกันอยางจริงจังในระยะนับตั้งแต พ.ศ. 2511 เปนตน มา (9)ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, วีรชนหาญกล้า (ไม่ปรากฏโรงพิมพ์2518). หน้า 125-134 (10) David Morell and Chai-anan Samudavanija, Political Conflicts in Thailand (Cambridge, Mass : Oelgeschlarger, Gunn Hain, 19841). p. 157