SlideShare a Scribd company logo
ทางข้ ามเหว
แนวคิดสาหรั บแก้ วิกฤติไทย




     ดร. ไสว บุญมา
ดร. ไสว บุญมา เป็ นชาวอาเภอบ้ านนา จังหวัดนครนายก ได้ รับการศึกษา
เบื ้องต้ นที่โรงเรี ยนวัดแหลมไม้ ย้อยและโรงเรี ยนบ้ านนา “นายกพิทยากร” อาเภอบ้ านนา
การศึกษาวิชาครูที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี และมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ และ
การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่ Claremont McKenna College และ Claremont
Graduate University หลังจากสอนหนังสือและทางานด้ านการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมที่ธนาคารพัฒนาเอเซียและธนาคารโลกเป็ นเวลา 25 ปี ได้ ออกมาศึกษาวิชาต่าง ๆ
เพิ่มเติม ทางข้ ามเหว เป็ นหนังสือเล่มที่ 19 ซึง ดร. ไสว เขียนเองหรื อเขียนกับผู้ร่วมงาน
                                                  ่
ในปั จจุบน ดร. ไสว แบ่งเวลาระหว่างอยูในสหรัฐอเมริกากับเมืองไทย เขียนคอลัมน์ “บ้าน
          ั                           ่
เขา-เมื องเรา” ในหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ คอลัมน์ “Outside the Box” ใน
หนังสือพิมพ์ The Bangkok Post ร่วมเขียนคอลัมน์ “คิ ดถึงเมื องไทย” ในหนังสือพิมพ์ เอ
เอสทีวีผ้ ูจัดการ และคอลัมน์ “ระดมสมอง” ในหนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ และเป็ น
นักเขียนประจานิตยสาร ครอบครัวพอเพียง ธุรกิจกับสังคม และหนังสือพิมพ์ ชาวกรุง
USA

หนังสือที ่ ดร. ไสว เขี ยนเองและเขี ยนกับผูร่วมงาน
                                           ้

        จดหมายจากบ้ านนา
        ฟั งอย่างไรจะได้ ยิน
        จดหมาจากวอชิงตัน
        เศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญาชาติไทย
        ไอเอ็มเอฟ ไอเอ็มเอฟ ไอเอ็มเอฟ
        เสือ สิงห์ กระทิง แรด
        สามแผ่นดิน
        เล่าเรื่ องเมืองน ้ามัน
        อเมริกาที่ยงใช้ ม้าเทียมไถ
                      ั
        บ้ านนอก เมืองนอก
        ประชานิยม: หายนะจากอาร์ เจนตินาถึงไทย ?
        คิดนอกคอก ทานอกคัมภีร์
        โต้ คลื่นลูกที่ 4
        เลียนแบบรุ่ง ลอกแบบล่ม
        สูจดจบ !
          ุ่
        กะลาภิวตน์  ั
        ธาตุ 4 พิโรธ
        มองเมืองไทย: จากสิบปี ของการใช้ หนี ้แผ่นดิน
        ทางข้ ามเหว: แนวคิดสาหรับแก้ วิกฤติไทย
        สูความเป็ นอยู่แบบยังยืน
          ่                     ่
(หากต้ องการอ่านหนังสือที่ ดร. ไสว จัดพิมพ์เอง แต่ไม่สามารถหาได้ ในร้ าน
หนังสือหรื อในห้ องสมุด กรุณาติดต่อ ผศ. ทัศนีย์ กระต่ายอินทร์ โทรศัพท์ (036) 411-150
หรื อ (036) 617-200)
คานา

        เมื่อต้ นปี 2543 ในหนังสือชื่อ เศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญาชาติไทย ผมเสนอให้
รัฐบาลตังคณะกรรมการประกอบด้ วยปราชญ์ ของชาติขึ ้นมาร่างแนวการพัฒนาสาหรับอนาคตของ
         ้
เมืองไทย ข้ อเสนอนันเงียบหายไปเพราะผมไม่เห็นใครอ้ างถึงแม้ แต่ครังเดียว ผมเสนอซ ้าเมื่อต้ นปี
                      ้                                                ้
2549 ในหนังสือชื่อ โต้ คลื่นลูกที่ 4 คราวนี ้คุณสุทธิชย เอี่ยมเจริญยิ่ง นักธุรกิจผู้มากด้ วยจิต
                                                      ั
วิญญาณของการเอื ้ออาทรต่อสังคมไทย แสดงความสนใจและแนะนาให้ ผมร่างแนวการพัฒนา
ออกมาโดยลาพัง ผมแย้ งว่าผมไม่ใช่ปราชญ์ จงมิควรบังอาจ หรื อมีความสามารถพอ ที่จะทาได้
                                               ึ
และงานสาคัญขนาดนันต้ องมาจากการช่วยกันคิด หลังจากทบทวนคาแนะนาของคุณสุทธิชยอยู่
                        ้                                                                      ั
หลายเที่ยว ผมตัดสินใจเขียนข้ อคิดออกมากว้ าง ๆ ด้ วยความหวังที่จะจุดประกายให้ ผ้ สนใจในู
อนาคตของเมืองไทยนาไปช่วยกันคิดต่อ โดยแยกเสนอเป็ น 14 ตอนในคอลัมน์ “บ้านเข้า เมื องเรา”
ของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันศุกร์ จากฉบับประจาวันที่ 31 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 30
มกราคม 2552 ผมนาเสนอเช่นนันเพราะต้ องการได้ รับข้ อคิดเห็นจากผู้อานเป็ นหลัก
                                   ้                                      ่

         หลังจากลงพิมพ์ได้ หลายตอน แพทย์หญิงนภาพร ลิมปปิ ยากร แสดงความประสงค์จะ
                                                               ์
นามาทาเป็ นเล่มเพราะเห็นว่าคนไทยที่ไม่มีโอกาสอ่านกรุงเทพธุรกิจน่าจะมีโอกาสนาข้ อคิดไป
พิจารณาด้ วย ผมจึงนาทังหมดมาปรับเปลี่ยนและเขียนเพิ่มเพื่อให้ ครอบคลุมปั ญหาของไทยใน
                          ้
ปั จจุบนมากขึ ้นพร้ อมกับเสริ มแหล่งข้ อมูลและหนังสืออ้ างอิงสาหรับผู้ที่มีความสนใจจะไปค้ นคว้ า
       ั
ต่อ ท่านผู้อานที่มีความเข้ าใจในแนวคิดเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นอย่างดีจะมองเห็นทันทีวา
             ่                                                                             ่
ข้ อคิดของผมส่วนใหญ่วางอยูในกรอบของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้ นส่วนที่เป็ นแนวนโยบายและ
                               ่
เปาหมายในระดับชาติมากกว่าส่วนสาคัญยิ่งอีกส่วนหนึงซึงได้ แก่การดาเนินชีวิตตามหลัก
   ้                                                     ่ ่
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล เกี่ยวกับส่วนหลังนี ้ผมได้ เขียนไว้ ในหลายโอกาสแล้ ว ล่าสุดใน
หนังสือชื่อ มองเมืองไทย: จากสิบปี ของการใช้ หนีแผ่ นดิน
                                                     ้

        ขอขอบคุณคุณสุทธิชยที่ให้ คาแนะนา บรรณาธิการและผู้อานกรุงเทพธุรกิจที่กรุณาให้
                             ั                                 ่
หน้ ากระดาษและข้ อคิดเห็น และคุณหมอนภาพรที่ยอมสละทุนรอนและเวลาจัดพิมพ์ออกมาเป็ น
เล่ม หวังว่าท่านผู้อ่านจะมีเวลานาข้ อคิดไปพิจารณาต่อสมกับที่คณหมอคาดหวัง
                                                             ุ

                                                  ด้ วยความปรารถนาดี
                                                       ไสว บุญมา
                                                  5 กุมภาพันธ์ 2552
หากงานนี ้มีผล เป็ นกุศลอุทิศได้
ขอกราบอุทิศให้ ดอกเตอร์ พร็ อกเตอร์ ธอมสัน
ทางข้ ามเหว
                            แนวคิดสาหรั บแก้ วิกฤติไทย

                                      สารบัญ



คาอุทิศ
คานา

          1. สมมติฐานและกรอบของการคิด
          2. เปาหมายของชีวิต
                ้
          3. บทบาทของการศึกษา
          4. พลังของระบบภาษี
          5. การใช้ งบประมาณและวินยการคลัง
                                   ั
          6. บทเรี ยนจากภาคการเงิน
          7. การค้ าขายภายนอกประเทศ
          8. การสร้ างและการกระจายผลผลิต
          9. ทรัพยากรป่ าและการรักษาที่ดน
                                        ิ
          10. ทิศทางของภาคเกษตรกรรม
          11. ทรัพย์ในดินสินในน ้า
          12. ทิศทางของภาคอุตสาหกรรมและบริการ

บทส่งท้ าย
1
                               สมมติฐานและกรอบของการคิด

             เมืองไทยกาลังเผชิญกับวิกฤติสองด้ านซึงซ้ อนกันอยูคือ วิกฤติการเมืองและวิกฤติ
                                                     ่            ่
เศรษฐกิจ สาเหตุพื ้นฐานของวิกฤติการเมืองได้ แก้ ความฉ้ อฉลร้ ายแรงซึงนาไปสูการเปลี่ยนรัฐบาล
                                                                              ่          ่
หลายครังในช่วงปี 2549-2551 และการชุมนุมประท้ วงของประชาชนกลุมใหญ่ซงส่งผลให้ เกิดการ
              ้                                                                 ่     ึ่
เสียชีวิตเมื่อตอนปลายปี 2551 สาเหตุพื ้นฐานของวิกฤติเศรษฐกิจได้ แก่การพัฒนาตามแนวคิด
กระแสหลักและผลกระทบจากเหตุการณ์ภายนอก การชุมนุมประท้ วงขนาดใหญ่ในปี 2551 แสดง
ให้ เห็นถึงความเข้ มแข็งของการเมืองภาคประชาชนซึงทนดูความฉ้ อฉลในสังคมไทยต่อไปไม่ได้ อีก
                                                         ่
แล้ ว ฉะนัน สมมุตฐานของการเสนอเรื่ องนี ้คือ ต่อไปเมืองไทยจะเริ่มมีการเมืองใหม่ซงคนไทยส่วน
                ้      ิ                                                                      ึ่
ใหญ่จะไม่ยอมให้ บคคลที่ฉ้อฉลเข้ ามาบริหารบ้ านเมือง เมื่อมีการเมืองใหม่ เมืองไทยควร
                         ุ
ปรับเปลี่ยนแนวพัฒนาเศรษฐกิจควบคูกนไปด้ วยเพื่อสร้ างฐานสาหรับการพัฒนาแบบยังยืน
                                             ่ ั                                                   ่
             วิกฤติเศรษฐกิจโลกซึงเริ่มเมื่อกลางปี 2550 บ่งชี ้อย่างแจ้ งชัดว่า การพัฒนาเศรษฐกิจแนว
                                   ่
อเมริกนซึงใช้ การบริโภค หรื อการใช้ ทรัพยากรแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นหัวจักรขับเคลื่อน
           ั ่
เป็ นการพัฒนาที่ไม่มีทางยังยืน การบริ โภคแบบนันนาไปสูการใช้ กลวิธีหลากหลายเพื่อให้ ได้ มาซึง
                               ่                       ้       ่                                       ่
ทรัพยากร ไม่วาจะเป็ นการละเมิดกฎหมาย การทาลายจรรยาบรรณ หรื อการรุกรานผู้อื่น โลก
                   ่
ต้ องการเศรษฐกิจแนวใหม่ซึ่งไม่ใช้ การบริโภคแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นตัวขับเคลื่อน ใน
ปั จจุบนนี ้ ชาวอเมริกนราว 25% มองเห็นความจาเป็ นที่จะต้ องมีเศรษฐกิจแนวใหม่และได้ เริ่ม
         ั                  ั
จากัดการบริ โภคของตัวเองแล้ ว แต่สวนใหญ่ยงมองไม่เห็น ส่งผลให้ การบริโภคเกินความจาเป็ น
                                           ่       ั
เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง1 ฉะนัน เศรษฐกิจแนวใหม่จะต้ องไม่รอให้ ชาวอเมริกนเป็ นผู้นา ผู้อื่นจะต้ อง
                                 ้                                                ั
ทาการบุกเบิกเอง คนไทยควรอยูในกลุมผู้บกเบิกด้ วย
                                       ่      ่ ุ
             ผลการศึกษายืนยันซ ้าแล้ วซ ้าเล่าว่า คนเรามีความสุขสูงสุดเมื่อมีปัจจัยเพียงพอต่อความ
ต้ องการเบื ้องต้ นของร่างกายพร้ อมกับมีปัจจัยอื่นที่มีความสาคัญต่อด้ านจิตใจควบคูกนไปด้ วย  ่ ั
เช่น ความสัมพันธ์อนดีกบผู้ที่อยูรอบข้ าง และกิจกรรมที่ทาให้ ร่างกายเคลื่อนไหวและจิตใจเบิก
                           ั ั       ่
บานอยูเ่ ป็ นนิจ (มีรายละเอียดในบทที่ 2) นันหมายความว่า การพัฒนาเศรษฐกิจต้ องมุงไปที่การ
                                                 ่                                               ่
ให้ สมาชิกทุกคนในสังคมเข้ าถึงปั จจัยพื ้นฐานอย่างเพียงพอต่อความต้ องการของร่างกายซึงได้ แก่         ่
ปั จจัยสี่ พร้ อมกับสนับสนุนให้ เกิดกิจกรรมด้ านสังคมที่นาไปสูความรู้สึกอบอุนและมันคงทางจิตใจ
                                                                    ่               ่      ่


1
  รายละเอียดเกี่ยวกับความคิดเห็นของชาวอเมริ กนมีอยูในหนังสือชื่อ The Chaos Point: The World at the
                                              ั    ่
Crossroads ของ Ervin Laszlo ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ กะลาภิวตน์ (สานักพิมพ์โอ้ พระ
                               ่                         ่                    ั
เจ้ า, 2550)
โดยธรรมชาติคนเราต้ องการอิสรภาพและเสรี ภาพ นอกจากนันเราเป็ นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์
                                                                          ้
เดียวที่มีการแลกเปลี่ยนสิ่งของ บริ การและแรงงานกันด้ วยความสมัครใจ ลักษณะตามธรรมชาติ
เหล่านี ้คือปั จจัยที่ทาให้ เศรษฐกิจระบบตลาดเสรี มีความยังยืนมาเป็ นเวลานาน และจะยังยืนต่อไป
                                                             ่                            ่
หากถูกปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม ในปั จจุบนนี ้สภาพแวดล้ อมได้ เปลี่ยนไปอย่างมี
                                                         ั
นัยสาคัญ นันคือ จานวนประชากรโลกเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนเกิน 6.7 พันล้ านคนแล้ วในขณะที่
               ่
ทรัพยากรธรรมชาติลดลงทุกวัน การแย่งชิงกันจึงเกิดขึ ้นจนนาไปสูวิกฤติเศรษฐกิจและการเมืองซึง
                                                                     ่                           ่
รวมทังสงครามระหว่างประเทศเพราะทุกคนพยายามบริ โภคเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุด2 การ
         ้
แก้ ปัญหาจาเป็ นต้ องมาจากการจากัดทังจานวนประชากรและการบริ โภคที่เกินความจาเป็ นซึงอาจ
                                           ้                                                   ่
เกิดขึ ้นด้ วยความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อด้ วยแรงจูงใจในรู ปต่าง ๆ ที่สงคมจะนามาใช้
                                                                                    ั
ในกรอบของระบบตลาดเสรี เช่น การเก็บภาษี การกระจายงบประมาณและการใช้ กฎเกณฑ์อื่น ๆ
ตามความเหมาะสม
            ระบบตลาดเสรี มีหลักเบื ้องต้ นอยูที่ภาคเอกชนเป็ นเจ้ าของปั จจัยสาหรับใช้ ในการผลิต
                                                 ่
สินค้ าและบริการ ไม่วาจะเป็ นที่ดน แรงงาน ร้ านค้ า หรื อเงินทุน และเอกชนมีเสรี ภาพในการทา
                             ่         ิ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น จะผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร จะบริโภคอะไร เท่าไร และจะค้ าขายกับ
ใคร อย่างไร การทากิจกรรมเหล่านี ้มีการแข่งขันและการร่วมมือกันเป็ นตัวขับเคลื่อนหลัก
เนื่องจากสังคมมีจดมุงหมายให้ สมาชิกอยูร่วมกันโดยสันติสข จึงมีการสร้ างกฎเกณฑ์ขึ ้นมาว่า
                         ุ ่                       ่           ุ
อะไรจะทาให้ บรรลุจดมุงหมายนันรวมทังกฎเกณฑ์ด้านเศรษฐกิจด้ วย ในการสร้ างและบังคับใช้
                           ุ ่       ้       ้
กฎเกณฑ์เหล่านัน โดยทัวไปสมาชิกในสังคมคัดเลือกพนักงานรัฐขึ ้นมาเป็ นผู้ดาเนินงาน
                       ้         ่
            ประสบการณ์อนยาวนานบ่งว่า รัฐต้ องเข้ าไปมีบทบาทในตลาดบ้ างในบางกรณีเพื่อช่วย
                               ั
ให้ ระบบตลาดเสรี ทางานอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุจดมุงหมาย เช่น รัฐอาจเข้ าไปเป็ นเจ้ าของ
                                                            ุ ่
กิจการบางอย่าง โดยเฉพาะกิจการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ เงินลงทุนสูงและมีลกษณะของการผูกขาด
                                                                             ั
โดยธรรมชาติในตัวของมันเอง ในปั จจุบนการสร้ างปั จจัยพื ้นฐานจาพวกโรงไฟฟา ระบบประปา
                                               ั                                  ้
ท่าเรื อ สนามบินและระบบขนส่งมักตกเป็ นหน้ าที่ของรัฐ ในขณะเดียวกันรัฐบาลอาจส่งเสริม
กิจการบางอย่างเป็ นพิเศษเพื่อให้ เกิดสิ่งที่สงคมปรารถนาพร้ อมกับห้ ามเอกชนทากิจการบางอย่าง
                                                     ั
ซึงอาจนาไปสูการทาลายสภาพแวดล้ อมและคุณธรรมของสังคม
  ่                ่
            ฉะนัน ระบบตลาดเสรี ที่เหมาะสมจึงเป็ นแบบผสมที่มีรัฐเข้ าไปมีบทบาทในตลาดตาม
                 ้
ความจาเป็ นซึงเป็ นระบบที่สงคมโลกใช้ มาเป็ นเวลานาน ในบางสังคมบทบาทของรัฐถูกนาไปใช้
                     ่             ั
เพื่อเอื ้อประโยชน์ให้ พนักงานรัฐเองและพวกพ้ อง ยังผลให้ ระบบตลาดเสรี มีความไม่เป็ นธรรมสูงจน

2
  หนังสือที่สาธยายผลกระทบของจานวนประชากรและการบริ โภคของสังคมในอดีตไว้ อย่างละเอียดได้ แก่ One
with Nineveh: Politics, Consumption, and the Human Future ของ Paul Ehrlich และ Anne Ehrlich
(Island Press, 2005) ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ ธาตุ 4 พิโรธ (สานักพิมพ์มติชน, 2551)
                       ่                         ่
การพัฒนาต้ องล้ มลุกคลุกคลาน สาหรับเมืองไทยในอนาคต เนื่องจากการเมืองใหม่จะไม่ยอมให้ ผ้ ู
ที่มีความฉ้ อฉลเข้ ามาบริหารประเทศอีก บทบาทของข้ าราชการและพนักงานของรัฐย่อมเปลี่ยน
ไปสูการเป็ นผู้รักษากฎเกณฑ์ของสังคมและตลาดเสรี อย่างเคร่งครัดโดยปราศจากผลประโยชน์ทบ
      ่                                                                                            ั
ซ้ อน
              จากมุมมองของปั จจัยสี่ เมืองไทยมีศกยภาพในการผลิตอาหาร เสื ้อผ้ าและที่อยู่อาศัยได้
                                                 ั
อย่างเพียงพอต่อความต้ องการ เครื่ องมือทางการแพทย์ชนิดก้ าวหน้ าและยารักษาโรคบางอย่าง
เท่านันที่เราไม่สามารถผลิตได้ อย่างเพียงพอ นอกจากนันเราขาดปั จจัยหลายอย่างสาหรับผลิต
        ้                                                  ้
สินค้ าและบริการยุคใหม่ เช่น เครื่ องจักรและน ้ามันเชื ้อเพลิง นันหมายความว่า เศรษฐกิจแนวใหม่
                                                                 ่
ต้ องมีการค้ าขายกับต่างประเทศเป็ นองค์ประกอบสาคัญด้ วย
              โดยทัวไปเศรษฐกิจแนวใหม่จงไม่แตกต่างมากนักกับระบบตลาดเสรี ซงเป็ นที่ร้ ูจกกันใน
                    ่                      ึ                                    ึ่         ั
ปั จจุบนนี ้แล้ ว นันคือ เป็ นตลาดเสรี ที่มีสวนประกอบของระบบสังคมนิยมผสมอยู่บ้างโดย
          ั               ่                  ่
ภาคเอกชนยังเป็ นหัวจักรใหญ่ในการขับเคลื่อนผ่านการมีเสรี ภาพในการผลิตและการซื ้อขายใน
ระบบตลาดในขณะที่รัฐเข้ าไปมีบทบาทในตลาดตามความจาเป็ น การซื ้อขายอาจเกิดขึ ้นทังใน            ้
และนอกประเทศ ความแตกต่างระหว่างเศรษฐกิจแนวเก่ากับเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ แก่ เศรษฐกิจ
แนวใหม่ไม่มงเน้ นการใช้ การบริโภคแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นตัวขับเคลื่อนให้ เศรษฐกิจ
                 ุ่
ขยายตัว หากมุงเน้ นการเข้ าถึงปั จจัยเบื ้องต้ นอย่างเพียงพอต่อร่างกายพร้ อมกับสนับสนุนให้ เกิด
                        ่
ความรู้สกอบอุนและมันคงทางจิตใจของสมาชิกทุกคนในสังคม หัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่ ซึง
            ึ         ่     ่                                                                    ่
อาจเรี ยกว่าเศรษฐกิจหลังยุคบริโภคนิยม จึงอยูที่การจากัดการบริโภคเกินความจาเป็ น การจากัด
                                                   ่
นันอาจเกิดขึ ้นโดยความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อจากแรงจูงใจซึงนโยบายของรัฐกระตุ้น
   ้                                                                         ่
ให้ เกิดก็ได้
2
                                        เปาหมายของชีวิต
                                          ้

         บทที่ 1 พูดถึงหัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น
                                                       ่
บทนี ้จะพูดถึงความสุขกายสบายใจอันเป็ นเปาหมายหลักของชีวิต
                                             ้
         เท่าที่ผานมา การพัฒนาเศรษฐกิจวางอยูฐานของสมมุติฐานที่วา ความสุขกายสบายใจ
                 ่                                   ่                    ่
เกิดจากการได้ บริโภคสินค้ าและบริการตามความต้ องการของร่างกาย การพัฒนาเศรษฐกิจจึงมุง         ่
ขยายการผลิตสิ่งเหล่านันในอัตราสูงสุดอย่างต่อเนื่อง หลังจากเวลาผ่านไปและผู้คนส่วนใหญ่
                         ้
โดยเฉพาะในประเทศที่พฒนาจนก้ าวหน้ ามากเข้ าถึงสินค้ าและบริการตามที่ร่างกายต้ องการ
                           ั
ครบถ้ วนแล้ ว พวกเขากลับไม่มีความสุขกายสบายใจตามสมมุตฐานที่ตงไว้ ในตอนต้ น ในช่วง
                                                                 ิ     ั้
หลายทศวรรษมานี ้จึงมีการวิจยเพื่อค้ นหาสาเหตุ ยังผลให้ เกิดหนังสือเกี่ยวกับการแยกทางกันเดิน
                                ั
ระหว่างการมีเงินกับการมีความสุขหลังคนเรามีทกอย่างตามความต้ องการของร่างกายแล้ วอย่าง
                                                   ุ
น้ อย 3 เล่มคือ The Progress Paradox: How Life Gets Better While We People Feel Worse
ของ Gregg Easterbrook พิมพ์เมื่อปี 2546 The Paradox of Choice: Why More Is Less ของ
Barry Schwartz พิมพ์เมื่อปี 2547 และ Happiness: Lessons from a New Science ของ
Richard Layard พิมพ์เมื่อปี 2548 และได้ รับการแปลเป็ นไทยแล้ ว3
         ล่าสุดนักวิจยในอังกฤษกลุมหนึงได้ พยายามค้ นคว้ าหาสาเหตุที่ลึกลงไปอีกพร้ อมกับหา
                       ั          ่ ่
หนทางสาหรับสร้ างนโยบายด้ านความสุขกายสบายใจจนได้ ข้อสรุปพิมพ์ออกมาเมื่อปลายเดือน
ตุลาคม 2551 โดยมูลนิธิเศรษฐกิจใหม่ (New Economics Foundation) ข้ อสรุปนันน่าจะเป็ นฐาน
                                                                                ้
ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ เป็ นอย่างดี นันคือ หลังจากคนเรามีทกอย่างตามที่ร่างกาย
                                                         ่                    ุ
ต้ องการเพื่อสนองความจาเป็ นเบื ้องแล้ ว ปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสุขกายสบายใจอาจแยกได้ เป็ น 7
ด้ านซึงแต่ละคนมีบทบาทสาคัญในการทาให้ เกิดขึ ้นด้ วยตัวเอง ในขณะเดียวกันองค์กรเอกชนและ
       ่
รัฐก็มีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้ เกิดขึ ้นด้ วย
         ด้ านแรกได้ แก่การมีสมพันธ์อนดีกบคนรอบข้ าง เริ่มจากในครอบครัวแล้ วขยายออกไปถึง
                              ั      ั ั
หมูญาติ เพื่อนบ้ าน เพื่อนร่วมงานและเพื่อนทัวไปในชุมชน ความสัมพันธ์อนดีเป็ นฐานของการมี
    ่                                          ่                            ั
ชีวิตอันอบอุนและมันคงสาหรับคนทุกรุ่นทุกวัยพร้ อมกับเป็ นเกราะกาบังสาคัญที่จะปองกันมิให้
             ่       ่                                                            ้
เกิดปั ญหาทางจิต เช่น ความหงอยเหงา ซึมเศร้ าและว้ าเหว่


3
 เรื่ อง The Progress Paradox และเรื่ อง Happiness มีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยู่ในหนังสือชื่อ กะลาภิวัตน์
(สานักพิมพ์โอ้ พระเจ้ า, 2550) ส่วนเรื่ อง Paradox of Choice มีคาวิพากษ์ อยูในบทที่ 42 ของหนังสือชื่อ
                                                                            ่
เลียนแบบรุ่ ง ลอกแบบล่ ม (สานักพิมพ์โอ้ พระเจ้ า, 2548)
ด้ านที่สองได้ แก่การมีความเคลื่อนไหวอยูเ่ ป็ นนิจ จากการออกกาลังกายอย่างเข้ มข้ น
จาพวกเล่นกีฬา วิ่ง ขี่จกรยานและว่ายน ้า ไปจนถึงการเคลื่อนไหวง่าย ๆ จาพวก เดิน เต้ นราและ
                               ั
ทาสวนครัว การเคลื่อนไหวมีความสาคัญทังในด้ านการออกกาลังกายและในด้ านลดความ
                                                             ้
กระสับกระส่ายของคนทุกรุ่ น นอกจากนันการศึกษายังพบว่าการออกกาลังกายอยูเ่ ป็ นนิจช่วย
                                                         ้
เสริมสร้ างพลังทางสมองของเด็กและปองกันการถดถอยทางสมองของผู้สงวัยอีกด้ วย
                                                    ้                                    ู
            ด้ านที่สามได้ แก่การมีความช่างสังเกตซึงรวมทังการมองเห็นความเป็ นไปภายนอก เช่น
                                                                 ่   ้
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล การแต่งกายของฝูงชนตามศูนย์การค้ า สีหน้ าของผู้ที่อยู่รอบข้ าง และ
การตระหนักถึงความรู้สึกภายในจิตใจของตนเอง การศึกษาพบว่าการฝึ กให้ มีความช่างสังเกต
ได้ ผลดีในด้ านการสร้ างความสุขกายสบายใจทังในผู้ใหญ่และในระดับเด็กนักเรี ยน การศึกษานี ้
                                                               ้
อ้ างถึงผลของการปฏิบตจาพวกวิปัสสนาของสังคมในโลกตะวันออกที่มงฝึ กให้ ผ้ ปฏิบติมี
                                 ัิ                                                   ุ่       ู ั
สติสมปชัญญะซึงเป็ นปั จจัยของการทาให้ เกิดความสุขด้ วย ยิ่งกว่านันการมีสติสมปชัญญะยังเป็ น
       ั                ่                                                           ้             ั
ปั จจัยที่ทาให้ บคคลเลือกกระทาในสิ่งที่ตรงกับฐานการดาเนินชีวิตของตนเองมากขึ ้น การเลือกทา
                     ุ
ได้ เช่นนันเป็ นปั จจัยที่ก่อให้ เกิดความสุขได้ อีกส่วนหนึง
          ้                                                        ่
            ด้ านที่สี่ได้ แก่การเรี ยนรู้ อยูเ่ ป็ นนิจ ในวัยเด็ก การเรี ยนรู้มีความสาคัญต่อการพัฒนาด้ าน
มันสมองและด้ านสังคม ในวัยผู้ใหญ่การเรี ยนรู้สิ่งใหม่ ๆ ก่อให้ เกิดความเชื่อมัน การสร้ าง    ่
ความสัมพันธ์อนดีกบผู้อื่นและการทาให้ มีความเคลื่อนไหวอยูเ่ ป็ นนิจ การเรี ยนรู้ ในวัยผู้ใหญ่อาจ
                       ั ั
ทาได้ หลากหลายแบบ เช่น การรื อฟื นสิ่งที่เคยมีความสนใจครังในอดีต การลงทะเบียนเรี ยนวิชา
                                              ้ ้                            ้
ใหม่ ๆ ทังในสถานศึกษาและผ่านทางอินเทอร์ เน็ต การฝึ กเล่นเครื่ องดนตรี ที่ไม่เคยเล่นมาก่อน การ
            ้
ทาตุ๊กตาและการตัดเย็บเสื ้อผ้ าใส่เอง
            ด้ านที่ห้าได้ แก่การให้ ซงมีขอบเขตกว้ างมาก จากการส่งยิ ้มให้ คนอยูใกล้ ๆ ไปจนถึงการ
                                         ึ่                                                ่
กล่าวคาขอบคุณ การให้ ทาน การแบ่งปั น การช่วยเหลือผู้อยูรอบข้ าง การสละเวลาออกไป
                                                                           ่
อาสาสมัครช่วยงานในชุมชนและการทดแทนคุณแผ่นดิน กิจกรรมเหล่านี ้ทาให้ ผ้ ทารู้สึกว่าตนเอง          ู
มีคาและชีวิตมีความหมายซึ่งเป็ นปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสุขและมีอายุยืนยาวขึ ้น
     ่
            ด้ านที่หกได้ แก่อาหารซึงต้ องมีทงความพอประมาณและความสมดุล มิใช่การรับประทาน
                                            ่         ั้
ในปริมาณมากแต่ขาดความสมดุลซึงเป็ นปั จจัยที่นาไปสู่การขาดธาตุอาหารและการเกิดโรคต่าง ๆ
                                                  ่
จากการมีน ้าหนักตัวเกินพอดี
            ด้ านที่เจ็ดได้ แก่การอยูใกล้ กบธรรมชาติ การวิจยพบว่าผู้ที่อยู่ใกล้ ชิดกับธรรมชาติรอบ
                                       ่ ั                             ั
ด้ านมีความสุขกายสบายใจมากกว่าผู้ที่อยูไกลธรรมชาติ         ่
            ปั จจัยเหล่านี ้น่าจะชี ้ให้ เห็นความสาคัญของการศึกษาทังในและนอกสถาบันซึงจะพูดถึง
                                                                               ้                    ่
ในบทต่อไป ตอนนี ้ขอเกริ่ นเพียงว่าสาหรับการศึกษาในสถาบัน นอกจากเนื ้อหาตามหลักสูตรแล้ ว
ปั จจัยต่าง ๆ ที่เพิ่งอ้ างถึงนี ้ยังชี ้ให้ เห็นความสาคัญของการมีพื ้นที่สีเขียวและสนามกีฬาในบริเวณ
สถาบันการศึกษาอีกด้ วย สาหรับการศึกษานอกสถาบัน ความสาคัญของการมีศนย์การศึกษา ู
และข่าวสารข้ อมูลของชุมชน การฝึ กวิปัสสนาเพื่อสร้ างสติสมปชัญญะและการมีพื ้นที่สีเขียวย่อม
                                                         ั
เป็ นที่ประจักษ์ อย่างแจ้ งชัด ในกระบวนการนี ้วัดจะมีบทบาทสูงมากหากผู้นาฝ่ ายศาสนามีความ
ปรารถนาอย่างแรงกล้ าที่จะขับเคลื่อนให้ เกิดขึ ้น
3
                                    บทบาทของการศึกษา

             บทที่ 1 พูดถึงหัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น
                                                            ่
และการจากัดอาจเกิดจากความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อ จากแรงจูงใจที่นโยบายของรัฐ
กระตุ้นให้ เกิดก็ได้ บทนี ้จะพูดถึงด้ านความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง
             ข้ อเสนอต่อไปนี ้วางอยูบนสัจพจน์ที่วา ผู้บริ โภคต้ องมีโอกาสสัมผัสกับองค์ความรู้
                                       ่                ่
หลากหลายที่จะสร้ างความมันใจในความถูกต้ องของพฤติกรรมด้ านการบริ โภคของเขา เช่น เขา
                                     ่
ต้ องรู้ว่า ร่างกายต้ องการอาหารชนิดใดบ้ างและอาหารแต่ละอย่างมีคณค่าทางโภชนาการอย่างไร
                                                                              ุ
พร้ อมกันนันเขาควรรู้ด้วยว่า การเลือกรับประทานอาหารต่างชนิดที่มีคณค่าทางโภชนาการ
                 ้                                                              ุ
ใกล้ เคียงกันมีผลกระทบต่อโลกรอบด้ านต่างกันมากหากชนิดหนึงนาเข้ าจากประเทศห่างไกลใน
                                                                          ่
ขณะที่อีกชนิดหนึงผลิตได้ ในท้ องถิ่นของเขาเอง ทังนี ้เพราะการใช้ พลังงานในการขนส่งอาหารสอง
                        ่                                 ้
อย่างนันแตกต่างกันมากและการใช้ พลังงานเป็ นปั จจัยที่ทาให้ เกิดภาวะโลกร้ อน ยิ่งกว่านันเขา
           ้                                                                                     ้
ควรเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโทษของการบริโภคเกินพอดีและการบริ โภคสิ่งที่ขาดคุณค่าทาง
โภชนาการด้ วย เช่น โรคต่าง ๆ ซึงแฝงมากับอาหารและความอ้ วน
                                         ่
             ตัวอย่างที่อ้างถึงเหล่านี ้บ่งชี ้ถึงความสาคัญของการศึกษาซึงหมายความว่า ระบบ
                                                                            ่
การศึกษาและหลักสูตรจะต้ องได้ รับการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับเศรษฐกิจหลังยุคบริโภคนิยม
ด้ วย การปรับเปลี่ยนอาจเริ่ มจากข้ อคิดดังต่อไปนี ้
             ในด้ านการศึกษาในสถาบัน ปั ญหาพื ้นฐานในขณะนี ้อยูที่ผ้ เู รี ยนจบระดับต่าง ๆ ในอัตรา
                                                                        ่
สูงขาดความสามารถตามเปาหมายของการศึกษาในระดับนัน ๆ เช่น ผู้เรี ยนจบชันประถม 6 ไม่
                                   ้                              ้                       ้
สามารถอ่านภาษาไทยได้ อย่างแตกฉาน หรื อผู้เรี ยนจบปริ ญญาตรี ขาดทังทักษะทางวิชาการที่จะ
                                                                                  ้
นาไปประกอบอาชีพ และทางการใช้ เครื่ องมือและกลวิธีที่จะแสวงหาความรู้ตอไปด้ วยตัวเอง การ  ่
มีปริญญาจึงกลายเป็ นการสนองค่านิยมและเป็ นส่วนหนึ่งของการบริ โภคที่ขบเคลื่อนให้ ธุรกิจั
การศึกษาขยายตัวเกินความจาเป็ น การแก้ ปัญหาน่าจะเป็ นที่ประจักษ์ อยูแล้ ว นันคือ ต้ องมีการ
                                                                                    ่       ่
วัดความสาฤทธิ์ผลกันอย่างจริ งจังพร้ อมกับมุงเน้ นความเป็ นเลิศมากกว่าเท่าที่เป็ นอยู่ซง
                                                      ่                                       ึ่
ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษารู้ ว่าจะทาอย่างไร
             ในปั จจุบนนี ้สถานศึกษาอ้ างถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกันอย่างกว้ างขวาง การ
                      ั
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเข้ าสู่แนวใหม่จะทาได้ ไม่ยากหากครูบาอาจารย์เข้ าใจและน้ อมนาหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตในชีวิตประจาวันของตนอยูแล้ ว ทังนี ้เพราะการเห็นต้ นแบบอยู่ทกวัน
                                ัิ                            ่     ้                              ุ
เป็ นการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงยิ่ง แต่ประเด็นเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในขณะนี ้มีความคล้ าย
กับการรับศีลห้ าเป็ นภาษาบาลี นันคือ ผู้รับมักท่องได้ หรื อไม่ก็พดไปตามพระแบบนกแก้ ว
                                           ่                          ู
นกขุนทองโดยปราศจากความเข้ าใจอย่างถูกต้ องและไม่นาไปปฏิบตในชีวิตประจาวัน ที่เป็ น
                                                                     ัิ
เช่นนันส่วนหนึงคงเพราะการนาเสนอเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงมักพูดถึงองค์ประกอบของแนวคิดโดย
        ้           ่
ไม่ได้ กล่าวถึงฐานทางวิทยาศาสตร์ และการปฏิบติจนได้ ผลในระดับชุมชนมาแล้ ว ฐานทาง
                                                       ั
วิทยาศาสตร์ ที่ถกอ้ างถึงมักจากัดอยูที่การทดลองของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหวเกี่ยวกับ
                         ู                 ่                                     ่ ั
เกษตรกรรมตามทฤษฎีใหม่ซงได้ แก่การทาไร่ ทาสวนและทานาผสมผสานกับการเลี ้ยงปลาและ
                                    ึ่
เลี ้ยงสัตว์ แต่นนเป็ นเพียงส่วนเดียวเท่านัน ส่วนการวิจยเรื่ องความสุขและผลกระทบที่การบริโภค
                      ั่                             ้        ั
เกินพอดีมีตอร่างกายและสิ่งแวดล้ อมซึงเป็ นฐานสาคัญยิ่งของเศรษฐกิจพอเพียงยังไม่มีการ
                 ่                             ่
กล่าวถึง นอกจากนันยังไม่มีการกล่าวถึงชุมชนที่ดาเนินชีวิตตามแนวคิดคล้ ายกับหลักเศรษฐกิจ
                               ้
พอเพียงมาเป็ นเวลากว่า 300 ปี แล้ วอีกด้ วย
            ด้ วยเหตุเหล่านี ้ การขับเคลื่อนให้ เกิดเศรษฐกิจแนวใหม่ในสถานศึกษาต้ องเริ่มด้ วยการ
อบรมครูบาอาจารย์ให้ เข้ าใจอย่างถ่องแท้ ถึงแนวคิดเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงพร้ อมกับฐานทาง
วิทยาศาสตร์ และการปฏิบติซงได้ ผลในระดับชุมชนมาแล้ ว ในปั จจุบนนี ้มีการนาผลการวิจย
                                 ั ึ่                                   ั                    ั
เกี่ยวกับความสุข การบริ โภคและการใช้ ทรัพยากรมาพิมพ์ไว้ ในหนังสือหลายต่อหลายเล่มดังที่
กล่าวถึงในบทที่ 2 พร้ อมทังเรื่ อง An Inconvenient Truth ของอดีตรองประธานาธิบดีอเมริกน Al
                                  ้                                                            ั
Gore ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ กะลาภิวัตน์ และอีกหลายเล่มซึงมีบทคัดย่อ
          ่                                  ่                                       ่
อยูในเรื่ อง ธาตุ 4 พิโรธ สาหรับการดาเนินชีวิตตามแนวคิดคล้ ายหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีอยูใน
     ่                                                                                             ่
หนังสือหลายเล่มเช่นกัน รวมทังหนังสือภาษาไทยที่เล่าเรื่ องราวของชาว “อามิช” ชื่อ อเมริกาที่ยัง
                                       ้
ใช้ ม้าเทียมไถ ด้ วย4 ชาว “อามิช” ดาเนินชีวิตแบบเรี ยบง่ายโดยไม่ใช้ เครื่ องจักรกลสมัยใหม่และ
ไม่ใช้ แม้ กระทังไฟฟา เนื่องจากองค์กรของรัฐและเอกชนมีศกยภาพสูงพอที่จะทาหลักสูตรและการ
                   ่ ้                                          ั
อบรมอยูแล้ ว ฉะนัน การรวมเรื่ องเศรษฐกิจแนวใหม่เข้ าไปจึงทาได้ ทนทีเมื่อมีสญญาณจาก
             ่               ้                                            ั    ั
ผู้บริหารประเทศ
            เป็ นที่ทราบกันดีว่า การเรี ยนรู้ในกรอบของสถาบันแม้ จะมีความสาคัญยิ่ง แต่ก็ยงไม่
                                                                                           ั
สาคัญเท่าการเรี ยนรู้จากนอกสถาบัน ทังนี ้เพราะการเรี ยนรู้เกิดขึ ้นได้ ตลอดเวลาและในอายุขยกว่า
                                                   ้                                             ั
70 ปี ของคนเรานัน เราใช้ เวลาอยูนอกสถาบันการศึกษามากกว่าในสถาบันหลายเท่า ในด้ าน
                           ้             ่
การศึกษานอกสถาบัน อุปสรรคใหญ่อยูที่คนไทยโดยทัวไปไม่นิยมอ่านหนังสือและไม่เป็ นผู้ใฝ่ รู้อยู่
                                                 ่          ่

4
  ผู้มีความแตกฉานในภาษาอังกฤษและสนใจเกี่ยวกับชาว “อามิช” อาจไปอ่านหนังสือเล่มหนึงซึงอ่านสนุกมาก
                                                                                      ่ ่
เขียนโดย Eric Brende นักศึกษาปริ ญญาโทของสถาบันเทคโนโลยีแห่งรัฐแมสซาชูเซตส์หลังจากได้ ไปใช้ ชีวิตอยู่
ในหมูบ้านชาว “อามิช” เป็ นเวลา 18 เดือนชื่อ Better Off: Flipping the Switch on Technology (Harper
        ่
Perennial, 2004) หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจได้ นาบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยมาตีพมพ์ไว้ ในคอลัมน์ “ผ่า
                                                                               ิ
มันสมองของปราชญ์” ระหว่างวันที่ 11-21 กุมภาพันธ์ 2551 หากไม่สามารถค้ นหาหนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าวได้
แต่ยงสนใจอ่าน อาจส่งอีเมล์ไปขอต้ นฉบับจาก ดร. ไสว บุญมา ที่ sboonma@msn.com
      ั
ตลอดเวลา อย่างไรก็ดในปั จจุบนนี ้แนวคิดเรื่ องการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตได้ รับการยอมรับอย่าง
                              ี         ั
กว้ างขวาง มีองค์กรเอกชนเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมการศึกษาทังในและนอกสถาบัน และ
                                                                               ้
รัฐบาลก็สนับสนุนองค์กรเหล่านันด้ วยการยกเว้ นภาษีให้ เราจึงมีองค์กรต่าง ๆ อยูในสังคมอย่าง
                                          ้                                                ่
ทัวถึง ลาดับต่อไปจึงเป็ นการปรับใช้ องค์กรเหล่านันให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นโดยมุงไปที่การรวม
   ่                                                       ้                             ่
องค์ความรู้ในกรอบของเศรษฐกิจแนวใหม่เข้ าไปด้ วย
            เรามีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระจัด
กระจายอยูทวประเทศ ประเด็นจึงอยู่ที่การขับเคลื่อนให้ องค์กรนี ้มีพลวัตสูงขึ ้นกว่าในปั จจุบน
               ่ ั่                                                                              ั
ยิ่งกว่านันเรามีสถาบันทางศาสนาซึงเคยเป็ นศูนย์การเรี ยนรู้ของชุมชนมาแต่เก่าก่อน โดยเฉพาะ
            ้                                 ่
วัดพุทธศาสนาที่มีอยูเ่ กินกว่า 30,000 แห่ง พุทธศาสนาสอนเรื่ องหลักของการเดินสายกลางอยู่
แล้ ว ประเด็นจึงอยูที่วาในการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจแนวใหม่ จะทาอย่างไรวัดจึงจะกลับมามี
                         ่ ่
บทบาทสูงอีกครัง ผู้นาทางศาสนาย่อมตระหนักดีแล้ วว่า ศาสดาอุบตขึ ้นมาเพื่อแก้ ปัญหาของโลก
                       ้                                                   ัิ
เมื่อการบริโภคเกินความจาเป็ นคือต้ นตอของปั ญหา องค์กรของผู้เดินตามรอยศาสดาควรเป็ นผู้นา
ในการกาจัดปั ญหาอย่างเป็ นรูปธรรม มิใช่หลงติดอยูแค่พิธีกรรม หรื อวิ่งตามกระแสโลกเสียเอง
                                                               ่
            ในทานองเดียวกันกับการอบรมครูบาอาจารย์ของสถาบันการศึกษาให้ เข้ าใจในเศรษฐกิจ
แนวใหม่เพื่อนาไปสูการขับเคลื่อนให้ เกิดขึ ้น ควรมีโครงการด้ านการศึกษาของพระเพื่อจะปูฐานให้
                          ่
ท่านมีบทบาทเพิ่มขึ ้นด้ วย พระในที่นี ้เป็ นผู้ที่บวชเป็ นเวลานานซึงควรจะแตกฉานทังในด้ าน
                                                                         ่                   ้
หลักธรรมและในด้ านวิวฒนาการของโลก ทังนี ้เพราะท่านจะเป็ นผู้นาในทางธรรมได้ ยากหากท่าน
                                ั                 ้
ไม่เข้ าใจในวิวฒนาการของทางโลกด้ วย ในปั จจุบนนี ้มีบางวัดพยายามส่งเสริมให้ พระศึกษาวิชา
                    ั                                    ั
ของทางโลกอย่างจริงจัง แต่ก็ยงเป็ นแบบต่างคนต่างทาตามแนวคิดของผู้ขบเคลื่อน ในการพัฒนา
                                      ั                                            ั
ประเทศตามเศรษฐกิจแนวใหม่ พระที่บวชเป็ นเวลานานควรได้ รับการศึกษาทังทางธรรมและทาง       ้
โลกอย่างเป็ นระบบโดยเฉพาะพระที่จะรับตาแหน่งต่าง ๆ ทางศาสนาเนื่องจากท่านจะต้ องทา
หน้ าที่ผ้ นาซึงควรมีความสามารถในการอธิบายหลักธรรมในบริบทของวิวฒนาการทางโลกรวมทัง้
           ู ่                                                                   ั
ฐานความคิดของเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ เป็ นอย่างดี ผู้นาทางศาสนาและผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา
คงใช้ เวลาไม่นานในการที่จะร่วมกันสร้ างระบบการศึกษาของพระดังกล่าวเนื่องจากทังสถานที่           ้
องค์ความรู้ ผู้เชี่ยวชาญและสื่อสาหรับการเรี ยนรู้มีอยูโดยทัวไปแล้ ว
                                                                 ่   ่
            ดังที่กล่าวถึงในบทที่ 2 ปั จจัยที่ทาให้ บคคลมีความสุขหลังจากมีปัจจัยเบื ้องต้ นเพียงพอต่อ
                                                     ุ
ความจาเป็ นของร่างกายได้ แก่กิจกรรมที่ทาให้ ร่างกายเคลื่อนไหวและจิตใจเบิกบานอยู่เป็ นนิจ
การเคลื่อนไหวรวมทังการใช้ มนสมองด้ วย ในปั จจุบนนี ้มีวดจานวนหนึงซึงส่งเสริมกิจกรรมจาพวก
                            ้       ั                        ั     ั          ่ ่
ศึกษาและปฏิบตตามหลักธรรมอยูแล้ ว แต่ก็อยูในรูปของต่างคนต่างทาโดยปราศจากการ
                      ัิ                    ่          ่
ขับเคลื่อนอย่างเป็ นระบบซึงมีผ้ เู สนอไว้ แล้ วตามแนวคิดที่มีคาย่อว่า “บวร” นันคือ การสนธิกน
                                  ่                                                  ่             ั
อย่างจริงจังระหว่าง “บ้ าน” “วัด” และ “โรงเรี ยน” การสนธิกนคงทาได้ ในหลากหลายแนวตาม
                                                                       ั
ความเหมาะสมของแต่ละท้ องถิ่นเมื่อผู้นาของฝ่ ายศาสนาและของฝ่ ายรัฐพร้ อมใจกันผลักดันให้
เกิดขึ ้น แก่นของการสนธิกนควรเป็ นด้ านการศึกษาโดยการทาให้ วดเป็ นศูนย์ขาวสารและการ
                                   ั                               ั               ่
เรี ยนรู้ตามอัธยาศัยของหมูบ้านในย่านรอบ ๆ วัด บางวัดอาจมี พื ้นที่สีเขียวและสนามเด็กเล่นหาก
                                 ่
สถานที่อานวย
           สาหรับวัดในเมืองซึงทังพระและชุมชนรอบวัดมีการศึกษาสูงและเข้ าถึงข่าวสารข้ อมูล
                                     ่ ้
อย่างกว้ างขวางอยูแล้ ว วัดอาจเป็ นเพียงศูนย์การเรี ยนและการปฏิบตธรรมตามอัธยาศัยของ
                       ่                                               ัิ
ผู้สนใจและพระที่มีความเชี่ยวชาญในบางด้ านอาจเป็ นวิทยากรให้ แก่วดในชนบท เพื่อให้ กิจกรรม
                                                                          ั
ดาเนินไปในบรรยากาศที่ปราศจากกิจกรรมจาพวกสนับสนุนการบริ โภค ไม่ควรใช้ บริ เวณวัดสร้ าง
ร้ านค้ าถาวรหรื อลานจอดรถ ส่วนวัดในชนบทอาจจัดเพียงมุมสาหรับอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน
นิตยสารรายสัปดาห์และวารสารวิชาชีพของชุมชนรอบด้ าน วัดส่วนใหญ่นาจะทาได้ มากกว่านัน
                                                                              ่               ้
จนอาจถึงขันมีห้องสมุด แหล่งข่าวสารผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตและศูนย์การเรี ยนรู้ทางไกล
                  ้
           สาหรับค่าใช้ จาย ฝ่ ายรัฐควรจัดงบประมาณให้ สวนหนึงและวัดควรเรี่ ยไรจากผู้มีใจศรัทธา
                             ่                           ่    ่
หรื อจากการทอดผ้ าป่ าเพื่อนามาสบทบอีกส่วนหนึง การเรี่ ยไรและทอดผ้ าป่ าเพื่อหาปั จจัยมา
                                                     ่
สนับสนุนศูนย์ข่าวสารข้ อมูลและการเรี ยนรู้ในวัดอาจเป็ นของแปลกสาหรับผู้ที่มีความคุ้นเคย
เฉพาะกับด้ านของการสร้ างถาวรวัตถุ แต่ถ้าฝ่ ายผู้นาทางศาสนามีความเข้ าใจและศรัทธาในหลัก
เศรษฐกิจแนวใหม่จริง ๆ โอกาสที่จะชักนาให้ ประชาชนคล้ อยตามย่อมมีความเป็ นไปได้ สง ยิ่งถ้ า   ู
ผู้นาทางศาสนาปฏิบติตนเป็ นต้ นแบบโดยการจากัดการบริโภคของตนเองและขับเคลื่อนการศึกษา
                           ั
ของพระพร้ อมกับบริจาคปั จจัยที่ได้ รับมาส่วนหนึงให้ กบกิจกรรมซึงจะทาให้ วดเป็ นศูนย์ดงกล่าว
                                                   ่ ั           ่              ั         ั
อย่างสม่าเสมอด้ วยแล้ ว การเรี่ ยไรจะได้ ผลสูงขึ ้นอีก
           พูดถึงด้ านวัตถุ แนวโน้ มในวงการศาสนาเป็ นไปในทางเดียวกันกับกระแสโลกซึงมีการ ่
บริโภคเป็ นตัวขับเคลื่อนมาเป็ นเวลานาน วัดจึงมักผลักดันให้ เกิดการก่อสร้ างศาสนสถานจาพวก
อาคารใหญ่โตจนเกินความจาเป็ นสาหรับประกอบศาสนกิจพร้ อมทังเป็ นผู้ร่วมประกอบพิธีกรรม
                                                                     ้
จาพวกฟุงเฟอต่าง ๆ การก่อสร้ างเกินความจาเป็ นควรถูกจากัดและผู้นาทางศาสนาควรเป็ นผู้ชี ้นา
          ้ ้
ในด้ านการจากัดพิธีกรรมจาพวกฟุงเฟอเพราะมันตรงข้ ามกับคาสอนของศาสนาอยูแล้ ว
                                         ้ ้                                          ่
นอกจากนันการสร้ างรูปปั นของพระสงฆ์และขององค์ศาสดาและวัตถุมงคลซึงมีลกษณะของการ
              ้                ้                                                  ่ ั
บริโภคเกินความจาเป็ นก็ควรถูกจากัดด้ วย ผู้นาทางศาสนาควรชักจูงให้ ผ้ สร้ างหันมาสนับสนุน
                                                                            ู
การศึกษาซึงเป็ นการให้ ทานทางปั ญญาอันเป็ นทานอันประเสริ ฐยิ่ง สาหรับทางฝ่ ายรัฐบาล เมื่อ
                ่
การสร้ างสิ่งเหล่านันเป็ นการบริโภคเกินความจาเป็ น รัฐก็ควรจัดเก็บภาษีตามอัตราที่เหมาะสม
                         ้
ด้ วย
           ในยุคนี ้ การเรี ยนรู้นอกกรอบสถาบันการศึกษาที่สาคัญยิ่งเกิดขึ ้นผ่านรายการโทรทัศน์ซง ึ่
เป็ นสื่อที่ได้ รับความนิยมสูงมาก ฉะนัน รัฐและองค์กรเอกชนจาเป็ นที่จะต้ องเน้ นการใช้ โทรทัศน์
                                             ้
เป็ นพิเศษ รัฐต้ องมีโทรทัศน์ที่ปราศจากการโฆษณาไว้ สาหรับเผยแพร่ขาวสารข้ อมูลที่มีประโยชน์
                                                                   ่
อย่างทัวถึง การเผยแพร่ขาวสารข้ อมูลด้ านเศรษฐกิจแนวใหม่ควรใช้ ผ้ ที่ประชาชนให้ ความสนใจสูง
         ่                 ่                                     ู
เป็ นผู้นาเสนอ ซึงอาจรวมทังดารายอดนิยม ขวัญใจวัยรุ่น นักกีฬาชันนาและพระนักเทศน์
                 ่           ้                                ้
นอกจากนันยังต้ องมีการห้ าม หรื อจากัดเวลา การโฆษณาจาพวกที่จะกระตุ้นให้ เกิดการบริโภค
            ้
สินค้ าและบริการที่ไม่มีความจาเป็ นต่อการดาเนินชีวิตอีกด้ วย
4
                                       พลังของระบบภาษี

           บทที่ 1 อ้ างถึงหัวใจของเศรษฐกิจใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ นและ
                                                          ่
การจากัดอาจเกิดจากความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อ จากแรงจูงใจที่นโยบายของรัฐ
กระตุ้นให้ เกิดก็ได้ บทนี ้จะพูดถึงด้ านแรงจูงใจโดยการใช้ ระบบภาษี ซงเป็ นเครื่ องมือที่ทรงพลังยิ่ง
                                                                                ึ่
ของระบบตลาดเสรี
           ตามแนวคิดเศรษฐกิจกระแสหลัก ฐานของการเก็บภาษี มีหลายอย่างด้ วยกัน บางอย่าง
อ้ างถึงการได้ รับประโยชน์โดยตรงของผู้เสียภาษี เช่น ภาษีการใช้ สนามบินซึงเก็บผ่านการซื ้อตัว
                                                                                     ่               ๋
เครื่ องบิน บางอย่างอ้ างถึงความสามารถในการเสียภาษี เช่น ภาษีเงินได้ ที่ใช้ อตราก้ าวหน้ าตาม
                                                                                       ั
ระดับของรายได้ สาหรับเศรษฐกิจแนวใหม่ ฐานของการเก็บภาษี สวนใหญ่จะเปลี่ยนไปสูการ่                   ่
จากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น ส่วนประกอบของระบบภาษีจะมีอะไรบ้ างจะกาหนดได้ หลังจาก
การวิเคราะห์โครงสร้ างของการบริโภคอย่างละเอียดแล้ ว ตอนนี ้จะเสนอข้ อคิดบางอย่างเพียง
คร่าว ๆ
           เนื่องจากฐานของการเก็บภาษีอยูที่การจากัดการบริโภคเกินความจาเป็ น ฉะนัน สินค้ า
                                                    ่                                         ้
และบริการส่วนใหญ่ที่อยูในกลุมปั จจัยสี่จะเสียภาษีในอัตราต่าสุด หรื อ บางอย่างอาจไม่เสียภาษี
                                ่  ่
เลยก็ได้ เช่น อาหารที่อยูในหมวดหมูที่ร่างกายจาเป็ นต้ องใช้ ทุกวัน แต่อาหารอีกหลายอย่างที่ไม่มี
                              ่              ่
ความจาเป็ นต่อร่างกายต้ องเสียภาษีในอัตราสูง นอกจากนันอาหารที่ต้องนาเข้ าจากท้ องถิ่น
                                                                    ้
ห่างไกลต้ องเสียภาษีในอัตราสูงด้ วย ทังนี ้เพื่อประหยัดการใช้ พลังงานสาหรับการขนส่งซึงสร้ าง
                                                ้                                               ่
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมสูง จากฐานของการคิดแบบนี ้ อาหารจาพวกน ้าอัดลม นมข้ นหวาน
เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไข่ปลาคาร์ เวีย เป๋ าฮื ้อ หูฉลาม รังนกนางแอ่น ปลาแซลมอน ปูขนและ
ผลไม้ เมืองหนาวอาจต้ องเสียภาษีในอัตราสูงกว่าอัตราที่เสียกันอยูในปั จจุบนมาก ๆ นอกจากนัน
                                                                          ่        ั                   ้
อาหารสาเร็จรูปที่รับประทานในภัตตาคารต้ องเสียภาษีในอัตราพิเศษด้ วย
           ในหมูเ่ ครื่ องแต่งกาย เสื ้อผ้ าที่ใช้ ในชีวิตประจาวันอาจไม่เสียภาษี หรื อเสียในระดับต่า
ตรงข้ ามเครื่ องแต่งกายในหมวดหมูหรูหรา เช่น ผ้ าไหม เครื่ องประดับจาพวกเพชรนิลจินดา
                                           ่
นาฬิกาเรื อนทองฝั งเพชร ผ้ าพันคอและกระเป๋ าหิ ้วสตรี ยี่ห้อกระฉ่อนโลก ต้ องเสียภาษีในอัตราสูง
หมูที่อยู่อาศัยควรใช้ อตราภาษีแบบก้ าวหน้ าตามราคาหน่วยของที่อยู่ และเครื่ องปรับอากาศต้ อง
    ่                      ั
เสียภาษีในอัตราสูงกว่าพัดลม ส่วนหมูยารักษาโรคซึงรวมทังอาหารเสริมที่จาเป็ นต่อร่างกาย
                                                  ่           ่       ้
จาพวกวิตามินและเกลือแร่ไม่ควรเสียภาษี อย่างไรก็ดีในหมวดหมูนี ้มีเครื่ องมือเกี่ยวกับการเล่น
                                                                            ่
กีฬาและการออกกาลังกายหลากหลายชนิดซึงควรเสียภาษีในอัตราที่แตกต่างกัน เช่น รองเท้ า
                                                       ่
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Nathpong Tanpan
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
สุปราณี เขื่อนขันธ์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
Klangpanya
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองPimporn Ploy
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
tongkesmanee
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
Klangpanya
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
Klangpanya
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 

What's hot (18)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
1111
11111111
1111
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 

Viewers also liked

Proyecto de informatica ii
Proyecto de informatica iiProyecto de informatica ii
Proyecto de informatica ii
Anaguano Brigitt
 
The coming collapse of thailand สู่จุดจบ!
The coming collapse of thailand   สู่จุดจบ!The coming collapse of thailand   สู่จุดจบ!
The coming collapse of thailand สู่จุดจบ!Thanon Ratchadaphisek
 
Training to Score
Training to ScoreTraining to Score
Training to Score
Mário João Parreira
 
Mjp cv-eng-fev17
Mjp cv-eng-fev17Mjp cv-eng-fev17
Mjp cv-eng-fev17
Mário João Parreira
 
Eco eco. of gaming inc.
Eco eco. of gaming inc.Eco eco. of gaming inc.
Eco eco. of gaming inc.
Narendra Patankar
 
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
ORCID, Inc
 

Viewers also liked (7)

Proyecto de informatica ii
Proyecto de informatica iiProyecto de informatica ii
Proyecto de informatica ii
 
The coming collapse of thailand สู่จุดจบ!
The coming collapse of thailand   สู่จุดจบ!The coming collapse of thailand   สู่จุดจบ!
The coming collapse of thailand สู่จุดจบ!
 
Training to Score
Training to ScoreTraining to Score
Training to Score
 
Mjp cv-eng-fev17
Mjp cv-eng-fev17Mjp cv-eng-fev17
Mjp cv-eng-fev17
 
Eco eco. of gaming inc.
Eco eco. of gaming inc.Eco eco. of gaming inc.
Eco eco. of gaming inc.
 
เม็งราย
เม็งรายเม็งราย
เม็งราย
 
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
Spreading the ORCID Word: ORCID Communications Webinar (2016.12)
 

Similar to รวมเล่ม (1)

ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
Klangpanya
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
maykai
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
freelance
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
FURD_RSU
 
eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554
Zabitan
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงyeen_28175
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
freelance
 

Similar to รวมเล่ม (1) (20)

ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
 
2
22
2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 

รวมเล่ม (1)

  • 1. ทางข้ ามเหว แนวคิดสาหรั บแก้ วิกฤติไทย ดร. ไสว บุญมา
  • 2. ดร. ไสว บุญมา เป็ นชาวอาเภอบ้ านนา จังหวัดนครนายก ได้ รับการศึกษา เบื ้องต้ นที่โรงเรี ยนวัดแหลมไม้ ย้อยและโรงเรี ยนบ้ านนา “นายกพิทยากร” อาเภอบ้ านนา การศึกษาวิชาครูที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี และมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ และ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่ Claremont McKenna College และ Claremont Graduate University หลังจากสอนหนังสือและทางานด้ านการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมที่ธนาคารพัฒนาเอเซียและธนาคารโลกเป็ นเวลา 25 ปี ได้ ออกมาศึกษาวิชาต่าง ๆ เพิ่มเติม ทางข้ ามเหว เป็ นหนังสือเล่มที่ 19 ซึง ดร. ไสว เขียนเองหรื อเขียนกับผู้ร่วมงาน ่
  • 3. ในปั จจุบน ดร. ไสว แบ่งเวลาระหว่างอยูในสหรัฐอเมริกากับเมืองไทย เขียนคอลัมน์ “บ้าน ั ่ เขา-เมื องเรา” ในหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ คอลัมน์ “Outside the Box” ใน หนังสือพิมพ์ The Bangkok Post ร่วมเขียนคอลัมน์ “คิ ดถึงเมื องไทย” ในหนังสือพิมพ์ เอ เอสทีวีผ้ ูจัดการ และคอลัมน์ “ระดมสมอง” ในหนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ และเป็ น นักเขียนประจานิตยสาร ครอบครัวพอเพียง ธุรกิจกับสังคม และหนังสือพิมพ์ ชาวกรุง USA หนังสือที ่ ดร. ไสว เขี ยนเองและเขี ยนกับผูร่วมงาน ้ จดหมายจากบ้ านนา ฟั งอย่างไรจะได้ ยิน จดหมาจากวอชิงตัน เศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญาชาติไทย ไอเอ็มเอฟ ไอเอ็มเอฟ ไอเอ็มเอฟ เสือ สิงห์ กระทิง แรด สามแผ่นดิน เล่าเรื่ องเมืองน ้ามัน อเมริกาที่ยงใช้ ม้าเทียมไถ ั บ้ านนอก เมืองนอก ประชานิยม: หายนะจากอาร์ เจนตินาถึงไทย ? คิดนอกคอก ทานอกคัมภีร์ โต้ คลื่นลูกที่ 4 เลียนแบบรุ่ง ลอกแบบล่ม สูจดจบ ! ุ่ กะลาภิวตน์ ั ธาตุ 4 พิโรธ มองเมืองไทย: จากสิบปี ของการใช้ หนี ้แผ่นดิน ทางข้ ามเหว: แนวคิดสาหรับแก้ วิกฤติไทย สูความเป็ นอยู่แบบยังยืน ่ ่
  • 4. (หากต้ องการอ่านหนังสือที่ ดร. ไสว จัดพิมพ์เอง แต่ไม่สามารถหาได้ ในร้ าน หนังสือหรื อในห้ องสมุด กรุณาติดต่อ ผศ. ทัศนีย์ กระต่ายอินทร์ โทรศัพท์ (036) 411-150 หรื อ (036) 617-200)
  • 5. คานา เมื่อต้ นปี 2543 ในหนังสือชื่อ เศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญาชาติไทย ผมเสนอให้ รัฐบาลตังคณะกรรมการประกอบด้ วยปราชญ์ ของชาติขึ ้นมาร่างแนวการพัฒนาสาหรับอนาคตของ ้ เมืองไทย ข้ อเสนอนันเงียบหายไปเพราะผมไม่เห็นใครอ้ างถึงแม้ แต่ครังเดียว ผมเสนอซ ้าเมื่อต้ นปี ้ ้ 2549 ในหนังสือชื่อ โต้ คลื่นลูกที่ 4 คราวนี ้คุณสุทธิชย เอี่ยมเจริญยิ่ง นักธุรกิจผู้มากด้ วยจิต ั วิญญาณของการเอื ้ออาทรต่อสังคมไทย แสดงความสนใจและแนะนาให้ ผมร่างแนวการพัฒนา ออกมาโดยลาพัง ผมแย้ งว่าผมไม่ใช่ปราชญ์ จงมิควรบังอาจ หรื อมีความสามารถพอ ที่จะทาได้ ึ และงานสาคัญขนาดนันต้ องมาจากการช่วยกันคิด หลังจากทบทวนคาแนะนาของคุณสุทธิชยอยู่ ้ ั หลายเที่ยว ผมตัดสินใจเขียนข้ อคิดออกมากว้ าง ๆ ด้ วยความหวังที่จะจุดประกายให้ ผ้ สนใจในู อนาคตของเมืองไทยนาไปช่วยกันคิดต่อ โดยแยกเสนอเป็ น 14 ตอนในคอลัมน์ “บ้านเข้า เมื องเรา” ของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันศุกร์ จากฉบับประจาวันที่ 31 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2552 ผมนาเสนอเช่นนันเพราะต้ องการได้ รับข้ อคิดเห็นจากผู้อานเป็ นหลัก ้ ่ หลังจากลงพิมพ์ได้ หลายตอน แพทย์หญิงนภาพร ลิมปปิ ยากร แสดงความประสงค์จะ ์ นามาทาเป็ นเล่มเพราะเห็นว่าคนไทยที่ไม่มีโอกาสอ่านกรุงเทพธุรกิจน่าจะมีโอกาสนาข้ อคิดไป พิจารณาด้ วย ผมจึงนาทังหมดมาปรับเปลี่ยนและเขียนเพิ่มเพื่อให้ ครอบคลุมปั ญหาของไทยใน ้ ปั จจุบนมากขึ ้นพร้ อมกับเสริ มแหล่งข้ อมูลและหนังสืออ้ างอิงสาหรับผู้ที่มีความสนใจจะไปค้ นคว้ า ั ต่อ ท่านผู้อานที่มีความเข้ าใจในแนวคิดเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นอย่างดีจะมองเห็นทันทีวา ่ ่ ข้ อคิดของผมส่วนใหญ่วางอยูในกรอบของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้ นส่วนที่เป็ นแนวนโยบายและ ่ เปาหมายในระดับชาติมากกว่าส่วนสาคัญยิ่งอีกส่วนหนึงซึงได้ แก่การดาเนินชีวิตตามหลัก ้ ่ ่ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล เกี่ยวกับส่วนหลังนี ้ผมได้ เขียนไว้ ในหลายโอกาสแล้ ว ล่าสุดใน หนังสือชื่อ มองเมืองไทย: จากสิบปี ของการใช้ หนีแผ่ นดิน ้ ขอขอบคุณคุณสุทธิชยที่ให้ คาแนะนา บรรณาธิการและผู้อานกรุงเทพธุรกิจที่กรุณาให้ ั ่ หน้ ากระดาษและข้ อคิดเห็น และคุณหมอนภาพรที่ยอมสละทุนรอนและเวลาจัดพิมพ์ออกมาเป็ น เล่ม หวังว่าท่านผู้อ่านจะมีเวลานาข้ อคิดไปพิจารณาต่อสมกับที่คณหมอคาดหวัง ุ ด้ วยความปรารถนาดี ไสว บุญมา 5 กุมภาพันธ์ 2552
  • 6. หากงานนี ้มีผล เป็ นกุศลอุทิศได้ ขอกราบอุทิศให้ ดอกเตอร์ พร็ อกเตอร์ ธอมสัน
  • 7. ทางข้ ามเหว แนวคิดสาหรั บแก้ วิกฤติไทย สารบัญ คาอุทิศ คานา 1. สมมติฐานและกรอบของการคิด 2. เปาหมายของชีวิต ้ 3. บทบาทของการศึกษา 4. พลังของระบบภาษี 5. การใช้ งบประมาณและวินยการคลัง ั 6. บทเรี ยนจากภาคการเงิน 7. การค้ าขายภายนอกประเทศ 8. การสร้ างและการกระจายผลผลิต 9. ทรัพยากรป่ าและการรักษาที่ดน ิ 10. ทิศทางของภาคเกษตรกรรม 11. ทรัพย์ในดินสินในน ้า 12. ทิศทางของภาคอุตสาหกรรมและบริการ บทส่งท้ าย
  • 8. 1 สมมติฐานและกรอบของการคิด เมืองไทยกาลังเผชิญกับวิกฤติสองด้ านซึงซ้ อนกันอยูคือ วิกฤติการเมืองและวิกฤติ ่ ่ เศรษฐกิจ สาเหตุพื ้นฐานของวิกฤติการเมืองได้ แก้ ความฉ้ อฉลร้ ายแรงซึงนาไปสูการเปลี่ยนรัฐบาล ่ ่ หลายครังในช่วงปี 2549-2551 และการชุมนุมประท้ วงของประชาชนกลุมใหญ่ซงส่งผลให้ เกิดการ ้ ่ ึ่ เสียชีวิตเมื่อตอนปลายปี 2551 สาเหตุพื ้นฐานของวิกฤติเศรษฐกิจได้ แก่การพัฒนาตามแนวคิด กระแสหลักและผลกระทบจากเหตุการณ์ภายนอก การชุมนุมประท้ วงขนาดใหญ่ในปี 2551 แสดง ให้ เห็นถึงความเข้ มแข็งของการเมืองภาคประชาชนซึงทนดูความฉ้ อฉลในสังคมไทยต่อไปไม่ได้ อีก ่ แล้ ว ฉะนัน สมมุตฐานของการเสนอเรื่ องนี ้คือ ต่อไปเมืองไทยจะเริ่มมีการเมืองใหม่ซงคนไทยส่วน ้ ิ ึ่ ใหญ่จะไม่ยอมให้ บคคลที่ฉ้อฉลเข้ ามาบริหารบ้ านเมือง เมื่อมีการเมืองใหม่ เมืองไทยควร ุ ปรับเปลี่ยนแนวพัฒนาเศรษฐกิจควบคูกนไปด้ วยเพื่อสร้ างฐานสาหรับการพัฒนาแบบยังยืน ่ ั ่ วิกฤติเศรษฐกิจโลกซึงเริ่มเมื่อกลางปี 2550 บ่งชี ้อย่างแจ้ งชัดว่า การพัฒนาเศรษฐกิจแนว ่ อเมริกนซึงใช้ การบริโภค หรื อการใช้ ทรัพยากรแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นหัวจักรขับเคลื่อน ั ่ เป็ นการพัฒนาที่ไม่มีทางยังยืน การบริ โภคแบบนันนาไปสูการใช้ กลวิธีหลากหลายเพื่อให้ ได้ มาซึง ่ ้ ่ ่ ทรัพยากร ไม่วาจะเป็ นการละเมิดกฎหมาย การทาลายจรรยาบรรณ หรื อการรุกรานผู้อื่น โลก ่ ต้ องการเศรษฐกิจแนวใหม่ซึ่งไม่ใช้ การบริโภคแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นตัวขับเคลื่อน ใน ปั จจุบนนี ้ ชาวอเมริกนราว 25% มองเห็นความจาเป็ นที่จะต้ องมีเศรษฐกิจแนวใหม่และได้ เริ่ม ั ั จากัดการบริ โภคของตัวเองแล้ ว แต่สวนใหญ่ยงมองไม่เห็น ส่งผลให้ การบริโภคเกินความจาเป็ น ่ ั เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง1 ฉะนัน เศรษฐกิจแนวใหม่จะต้ องไม่รอให้ ชาวอเมริกนเป็ นผู้นา ผู้อื่นจะต้ อง ้ ั ทาการบุกเบิกเอง คนไทยควรอยูในกลุมผู้บกเบิกด้ วย ่ ่ ุ ผลการศึกษายืนยันซ ้าแล้ วซ ้าเล่าว่า คนเรามีความสุขสูงสุดเมื่อมีปัจจัยเพียงพอต่อความ ต้ องการเบื ้องต้ นของร่างกายพร้ อมกับมีปัจจัยอื่นที่มีความสาคัญต่อด้ านจิตใจควบคูกนไปด้ วย ่ ั เช่น ความสัมพันธ์อนดีกบผู้ที่อยูรอบข้ าง และกิจกรรมที่ทาให้ ร่างกายเคลื่อนไหวและจิตใจเบิก ั ั ่ บานอยูเ่ ป็ นนิจ (มีรายละเอียดในบทที่ 2) นันหมายความว่า การพัฒนาเศรษฐกิจต้ องมุงไปที่การ ่ ่ ให้ สมาชิกทุกคนในสังคมเข้ าถึงปั จจัยพื ้นฐานอย่างเพียงพอต่อความต้ องการของร่างกายซึงได้ แก่ ่ ปั จจัยสี่ พร้ อมกับสนับสนุนให้ เกิดกิจกรรมด้ านสังคมที่นาไปสูความรู้สึกอบอุนและมันคงทางจิตใจ ่ ่ ่ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับความคิดเห็นของชาวอเมริ กนมีอยูในหนังสือชื่อ The Chaos Point: The World at the ั ่ Crossroads ของ Ervin Laszlo ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ กะลาภิวตน์ (สานักพิมพ์โอ้ พระ ่ ่ ั เจ้ า, 2550)
  • 9. โดยธรรมชาติคนเราต้ องการอิสรภาพและเสรี ภาพ นอกจากนันเราเป็ นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ ้ เดียวที่มีการแลกเปลี่ยนสิ่งของ บริ การและแรงงานกันด้ วยความสมัครใจ ลักษณะตามธรรมชาติ เหล่านี ้คือปั จจัยที่ทาให้ เศรษฐกิจระบบตลาดเสรี มีความยังยืนมาเป็ นเวลานาน และจะยังยืนต่อไป ่ ่ หากถูกปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม ในปั จจุบนนี ้สภาพแวดล้ อมได้ เปลี่ยนไปอย่างมี ั นัยสาคัญ นันคือ จานวนประชากรโลกเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนเกิน 6.7 พันล้ านคนแล้ วในขณะที่ ่ ทรัพยากรธรรมชาติลดลงทุกวัน การแย่งชิงกันจึงเกิดขึ ้นจนนาไปสูวิกฤติเศรษฐกิจและการเมืองซึง ่ ่ รวมทังสงครามระหว่างประเทศเพราะทุกคนพยายามบริ โภคเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุด2 การ ้ แก้ ปัญหาจาเป็ นต้ องมาจากการจากัดทังจานวนประชากรและการบริ โภคที่เกินความจาเป็ นซึงอาจ ้ ่ เกิดขึ ้นด้ วยความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อด้ วยแรงจูงใจในรู ปต่าง ๆ ที่สงคมจะนามาใช้ ั ในกรอบของระบบตลาดเสรี เช่น การเก็บภาษี การกระจายงบประมาณและการใช้ กฎเกณฑ์อื่น ๆ ตามความเหมาะสม ระบบตลาดเสรี มีหลักเบื ้องต้ นอยูที่ภาคเอกชนเป็ นเจ้ าของปั จจัยสาหรับใช้ ในการผลิต ่ สินค้ าและบริการ ไม่วาจะเป็ นที่ดน แรงงาน ร้ านค้ า หรื อเงินทุน และเอกชนมีเสรี ภาพในการทา ่ ิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น จะผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร จะบริโภคอะไร เท่าไร และจะค้ าขายกับ ใคร อย่างไร การทากิจกรรมเหล่านี ้มีการแข่งขันและการร่วมมือกันเป็ นตัวขับเคลื่อนหลัก เนื่องจากสังคมมีจดมุงหมายให้ สมาชิกอยูร่วมกันโดยสันติสข จึงมีการสร้ างกฎเกณฑ์ขึ ้นมาว่า ุ ่ ่ ุ อะไรจะทาให้ บรรลุจดมุงหมายนันรวมทังกฎเกณฑ์ด้านเศรษฐกิจด้ วย ในการสร้ างและบังคับใช้ ุ ่ ้ ้ กฎเกณฑ์เหล่านัน โดยทัวไปสมาชิกในสังคมคัดเลือกพนักงานรัฐขึ ้นมาเป็ นผู้ดาเนินงาน ้ ่ ประสบการณ์อนยาวนานบ่งว่า รัฐต้ องเข้ าไปมีบทบาทในตลาดบ้ างในบางกรณีเพื่อช่วย ั ให้ ระบบตลาดเสรี ทางานอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุจดมุงหมาย เช่น รัฐอาจเข้ าไปเป็ นเจ้ าของ ุ ่ กิจการบางอย่าง โดยเฉพาะกิจการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ เงินลงทุนสูงและมีลกษณะของการผูกขาด ั โดยธรรมชาติในตัวของมันเอง ในปั จจุบนการสร้ างปั จจัยพื ้นฐานจาพวกโรงไฟฟา ระบบประปา ั ้ ท่าเรื อ สนามบินและระบบขนส่งมักตกเป็ นหน้ าที่ของรัฐ ในขณะเดียวกันรัฐบาลอาจส่งเสริม กิจการบางอย่างเป็ นพิเศษเพื่อให้ เกิดสิ่งที่สงคมปรารถนาพร้ อมกับห้ ามเอกชนทากิจการบางอย่าง ั ซึงอาจนาไปสูการทาลายสภาพแวดล้ อมและคุณธรรมของสังคม ่ ่ ฉะนัน ระบบตลาดเสรี ที่เหมาะสมจึงเป็ นแบบผสมที่มีรัฐเข้ าไปมีบทบาทในตลาดตาม ้ ความจาเป็ นซึงเป็ นระบบที่สงคมโลกใช้ มาเป็ นเวลานาน ในบางสังคมบทบาทของรัฐถูกนาไปใช้ ่ ั เพื่อเอื ้อประโยชน์ให้ พนักงานรัฐเองและพวกพ้ อง ยังผลให้ ระบบตลาดเสรี มีความไม่เป็ นธรรมสูงจน 2 หนังสือที่สาธยายผลกระทบของจานวนประชากรและการบริ โภคของสังคมในอดีตไว้ อย่างละเอียดได้ แก่ One with Nineveh: Politics, Consumption, and the Human Future ของ Paul Ehrlich และ Anne Ehrlich (Island Press, 2005) ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ ธาตุ 4 พิโรธ (สานักพิมพ์มติชน, 2551) ่ ่
  • 10. การพัฒนาต้ องล้ มลุกคลุกคลาน สาหรับเมืองไทยในอนาคต เนื่องจากการเมืองใหม่จะไม่ยอมให้ ผ้ ู ที่มีความฉ้ อฉลเข้ ามาบริหารประเทศอีก บทบาทของข้ าราชการและพนักงานของรัฐย่อมเปลี่ยน ไปสูการเป็ นผู้รักษากฎเกณฑ์ของสังคมและตลาดเสรี อย่างเคร่งครัดโดยปราศจากผลประโยชน์ทบ ่ ั ซ้ อน จากมุมมองของปั จจัยสี่ เมืองไทยมีศกยภาพในการผลิตอาหาร เสื ้อผ้ าและที่อยู่อาศัยได้ ั อย่างเพียงพอต่อความต้ องการ เครื่ องมือทางการแพทย์ชนิดก้ าวหน้ าและยารักษาโรคบางอย่าง เท่านันที่เราไม่สามารถผลิตได้ อย่างเพียงพอ นอกจากนันเราขาดปั จจัยหลายอย่างสาหรับผลิต ้ ้ สินค้ าและบริการยุคใหม่ เช่น เครื่ องจักรและน ้ามันเชื ้อเพลิง นันหมายความว่า เศรษฐกิจแนวใหม่ ่ ต้ องมีการค้ าขายกับต่างประเทศเป็ นองค์ประกอบสาคัญด้ วย โดยทัวไปเศรษฐกิจแนวใหม่จงไม่แตกต่างมากนักกับระบบตลาดเสรี ซงเป็ นที่ร้ ูจกกันใน ่ ึ ึ่ ั ปั จจุบนนี ้แล้ ว นันคือ เป็ นตลาดเสรี ที่มีสวนประกอบของระบบสังคมนิยมผสมอยู่บ้างโดย ั ่ ่ ภาคเอกชนยังเป็ นหัวจักรใหญ่ในการขับเคลื่อนผ่านการมีเสรี ภาพในการผลิตและการซื ้อขายใน ระบบตลาดในขณะที่รัฐเข้ าไปมีบทบาทในตลาดตามความจาเป็ น การซื ้อขายอาจเกิดขึ ้นทังใน ้ และนอกประเทศ ความแตกต่างระหว่างเศรษฐกิจแนวเก่ากับเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ แก่ เศรษฐกิจ แนวใหม่ไม่มงเน้ นการใช้ การบริโภคแบบเพิ่มขึ ้นอย่างไม่มีที่สิ ้นสุดเป็ นตัวขับเคลื่อนให้ เศรษฐกิจ ุ่ ขยายตัว หากมุงเน้ นการเข้ าถึงปั จจัยเบื ้องต้ นอย่างเพียงพอต่อร่างกายพร้ อมกับสนับสนุนให้ เกิด ่ ความรู้สกอบอุนและมันคงทางจิตใจของสมาชิกทุกคนในสังคม หัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่ ซึง ึ ่ ่ ่ อาจเรี ยกว่าเศรษฐกิจหลังยุคบริโภคนิยม จึงอยูที่การจากัดการบริโภคเกินความจาเป็ น การจากัด ่ นันอาจเกิดขึ ้นโดยความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อจากแรงจูงใจซึงนโยบายของรัฐกระตุ้น ้ ่ ให้ เกิดก็ได้
  • 11. 2 เปาหมายของชีวิต ้ บทที่ 1 พูดถึงหัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น ่ บทนี ้จะพูดถึงความสุขกายสบายใจอันเป็ นเปาหมายหลักของชีวิต ้ เท่าที่ผานมา การพัฒนาเศรษฐกิจวางอยูฐานของสมมุติฐานที่วา ความสุขกายสบายใจ ่ ่ ่ เกิดจากการได้ บริโภคสินค้ าและบริการตามความต้ องการของร่างกาย การพัฒนาเศรษฐกิจจึงมุง ่ ขยายการผลิตสิ่งเหล่านันในอัตราสูงสุดอย่างต่อเนื่อง หลังจากเวลาผ่านไปและผู้คนส่วนใหญ่ ้ โดยเฉพาะในประเทศที่พฒนาจนก้ าวหน้ ามากเข้ าถึงสินค้ าและบริการตามที่ร่างกายต้ องการ ั ครบถ้ วนแล้ ว พวกเขากลับไม่มีความสุขกายสบายใจตามสมมุตฐานที่ตงไว้ ในตอนต้ น ในช่วง ิ ั้ หลายทศวรรษมานี ้จึงมีการวิจยเพื่อค้ นหาสาเหตุ ยังผลให้ เกิดหนังสือเกี่ยวกับการแยกทางกันเดิน ั ระหว่างการมีเงินกับการมีความสุขหลังคนเรามีทกอย่างตามความต้ องการของร่างกายแล้ วอย่าง ุ น้ อย 3 เล่มคือ The Progress Paradox: How Life Gets Better While We People Feel Worse ของ Gregg Easterbrook พิมพ์เมื่อปี 2546 The Paradox of Choice: Why More Is Less ของ Barry Schwartz พิมพ์เมื่อปี 2547 และ Happiness: Lessons from a New Science ของ Richard Layard พิมพ์เมื่อปี 2548 และได้ รับการแปลเป็ นไทยแล้ ว3 ล่าสุดนักวิจยในอังกฤษกลุมหนึงได้ พยายามค้ นคว้ าหาสาเหตุที่ลึกลงไปอีกพร้ อมกับหา ั ่ ่ หนทางสาหรับสร้ างนโยบายด้ านความสุขกายสบายใจจนได้ ข้อสรุปพิมพ์ออกมาเมื่อปลายเดือน ตุลาคม 2551 โดยมูลนิธิเศรษฐกิจใหม่ (New Economics Foundation) ข้ อสรุปนันน่าจะเป็ นฐาน ้ ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ เป็ นอย่างดี นันคือ หลังจากคนเรามีทกอย่างตามที่ร่างกาย ่ ุ ต้ องการเพื่อสนองความจาเป็ นเบื ้องแล้ ว ปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสุขกายสบายใจอาจแยกได้ เป็ น 7 ด้ านซึงแต่ละคนมีบทบาทสาคัญในการทาให้ เกิดขึ ้นด้ วยตัวเอง ในขณะเดียวกันองค์กรเอกชนและ ่ รัฐก็มีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้ เกิดขึ ้นด้ วย ด้ านแรกได้ แก่การมีสมพันธ์อนดีกบคนรอบข้ าง เริ่มจากในครอบครัวแล้ วขยายออกไปถึง ั ั ั หมูญาติ เพื่อนบ้ าน เพื่อนร่วมงานและเพื่อนทัวไปในชุมชน ความสัมพันธ์อนดีเป็ นฐานของการมี ่ ่ ั ชีวิตอันอบอุนและมันคงสาหรับคนทุกรุ่นทุกวัยพร้ อมกับเป็ นเกราะกาบังสาคัญที่จะปองกันมิให้ ่ ่ ้ เกิดปั ญหาทางจิต เช่น ความหงอยเหงา ซึมเศร้ าและว้ าเหว่ 3 เรื่ อง The Progress Paradox และเรื่ อง Happiness มีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยู่ในหนังสือชื่อ กะลาภิวัตน์ (สานักพิมพ์โอ้ พระเจ้ า, 2550) ส่วนเรื่ อง Paradox of Choice มีคาวิพากษ์ อยูในบทที่ 42 ของหนังสือชื่อ ่ เลียนแบบรุ่ ง ลอกแบบล่ ม (สานักพิมพ์โอ้ พระเจ้ า, 2548)
  • 12. ด้ านที่สองได้ แก่การมีความเคลื่อนไหวอยูเ่ ป็ นนิจ จากการออกกาลังกายอย่างเข้ มข้ น จาพวกเล่นกีฬา วิ่ง ขี่จกรยานและว่ายน ้า ไปจนถึงการเคลื่อนไหวง่าย ๆ จาพวก เดิน เต้ นราและ ั ทาสวนครัว การเคลื่อนไหวมีความสาคัญทังในด้ านการออกกาลังกายและในด้ านลดความ ้ กระสับกระส่ายของคนทุกรุ่ น นอกจากนันการศึกษายังพบว่าการออกกาลังกายอยูเ่ ป็ นนิจช่วย ้ เสริมสร้ างพลังทางสมองของเด็กและปองกันการถดถอยทางสมองของผู้สงวัยอีกด้ วย ้ ู ด้ านที่สามได้ แก่การมีความช่างสังเกตซึงรวมทังการมองเห็นความเป็ นไปภายนอก เช่น ่ ้ การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล การแต่งกายของฝูงชนตามศูนย์การค้ า สีหน้ าของผู้ที่อยู่รอบข้ าง และ การตระหนักถึงความรู้สึกภายในจิตใจของตนเอง การศึกษาพบว่าการฝึ กให้ มีความช่างสังเกต ได้ ผลดีในด้ านการสร้ างความสุขกายสบายใจทังในผู้ใหญ่และในระดับเด็กนักเรี ยน การศึกษานี ้ ้ อ้ างถึงผลของการปฏิบตจาพวกวิปัสสนาของสังคมในโลกตะวันออกที่มงฝึ กให้ ผ้ ปฏิบติมี ัิ ุ่ ู ั สติสมปชัญญะซึงเป็ นปั จจัยของการทาให้ เกิดความสุขด้ วย ยิ่งกว่านันการมีสติสมปชัญญะยังเป็ น ั ่ ้ ั ปั จจัยที่ทาให้ บคคลเลือกกระทาในสิ่งที่ตรงกับฐานการดาเนินชีวิตของตนเองมากขึ ้น การเลือกทา ุ ได้ เช่นนันเป็ นปั จจัยที่ก่อให้ เกิดความสุขได้ อีกส่วนหนึง ้ ่ ด้ านที่สี่ได้ แก่การเรี ยนรู้ อยูเ่ ป็ นนิจ ในวัยเด็ก การเรี ยนรู้มีความสาคัญต่อการพัฒนาด้ าน มันสมองและด้ านสังคม ในวัยผู้ใหญ่การเรี ยนรู้สิ่งใหม่ ๆ ก่อให้ เกิดความเชื่อมัน การสร้ าง ่ ความสัมพันธ์อนดีกบผู้อื่นและการทาให้ มีความเคลื่อนไหวอยูเ่ ป็ นนิจ การเรี ยนรู้ ในวัยผู้ใหญ่อาจ ั ั ทาได้ หลากหลายแบบ เช่น การรื อฟื นสิ่งที่เคยมีความสนใจครังในอดีต การลงทะเบียนเรี ยนวิชา ้ ้ ้ ใหม่ ๆ ทังในสถานศึกษาและผ่านทางอินเทอร์ เน็ต การฝึ กเล่นเครื่ องดนตรี ที่ไม่เคยเล่นมาก่อน การ ้ ทาตุ๊กตาและการตัดเย็บเสื ้อผ้ าใส่เอง ด้ านที่ห้าได้ แก่การให้ ซงมีขอบเขตกว้ างมาก จากการส่งยิ ้มให้ คนอยูใกล้ ๆ ไปจนถึงการ ึ่ ่ กล่าวคาขอบคุณ การให้ ทาน การแบ่งปั น การช่วยเหลือผู้อยูรอบข้ าง การสละเวลาออกไป ่ อาสาสมัครช่วยงานในชุมชนและการทดแทนคุณแผ่นดิน กิจกรรมเหล่านี ้ทาให้ ผ้ ทารู้สึกว่าตนเอง ู มีคาและชีวิตมีความหมายซึ่งเป็ นปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสุขและมีอายุยืนยาวขึ ้น ่ ด้ านที่หกได้ แก่อาหารซึงต้ องมีทงความพอประมาณและความสมดุล มิใช่การรับประทาน ่ ั้ ในปริมาณมากแต่ขาดความสมดุลซึงเป็ นปั จจัยที่นาไปสู่การขาดธาตุอาหารและการเกิดโรคต่าง ๆ ่ จากการมีน ้าหนักตัวเกินพอดี ด้ านที่เจ็ดได้ แก่การอยูใกล้ กบธรรมชาติ การวิจยพบว่าผู้ที่อยู่ใกล้ ชิดกับธรรมชาติรอบ ่ ั ั ด้ านมีความสุขกายสบายใจมากกว่าผู้ที่อยูไกลธรรมชาติ ่ ปั จจัยเหล่านี ้น่าจะชี ้ให้ เห็นความสาคัญของการศึกษาทังในและนอกสถาบันซึงจะพูดถึง ้ ่ ในบทต่อไป ตอนนี ้ขอเกริ่ นเพียงว่าสาหรับการศึกษาในสถาบัน นอกจากเนื ้อหาตามหลักสูตรแล้ ว ปั จจัยต่าง ๆ ที่เพิ่งอ้ างถึงนี ้ยังชี ้ให้ เห็นความสาคัญของการมีพื ้นที่สีเขียวและสนามกีฬาในบริเวณ
  • 13. สถาบันการศึกษาอีกด้ วย สาหรับการศึกษานอกสถาบัน ความสาคัญของการมีศนย์การศึกษา ู และข่าวสารข้ อมูลของชุมชน การฝึ กวิปัสสนาเพื่อสร้ างสติสมปชัญญะและการมีพื ้นที่สีเขียวย่อม ั เป็ นที่ประจักษ์ อย่างแจ้ งชัด ในกระบวนการนี ้วัดจะมีบทบาทสูงมากหากผู้นาฝ่ ายศาสนามีความ ปรารถนาอย่างแรงกล้ าที่จะขับเคลื่อนให้ เกิดขึ ้น
  • 14. 3 บทบาทของการศึกษา บทที่ 1 พูดถึงหัวใจของเศรษฐกิจแนวใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น ่ และการจากัดอาจเกิดจากความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อ จากแรงจูงใจที่นโยบายของรัฐ กระตุ้นให้ เกิดก็ได้ บทนี ้จะพูดถึงด้ านความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง ข้ อเสนอต่อไปนี ้วางอยูบนสัจพจน์ที่วา ผู้บริ โภคต้ องมีโอกาสสัมผัสกับองค์ความรู้ ่ ่ หลากหลายที่จะสร้ างความมันใจในความถูกต้ องของพฤติกรรมด้ านการบริ โภคของเขา เช่น เขา ่ ต้ องรู้ว่า ร่างกายต้ องการอาหารชนิดใดบ้ างและอาหารแต่ละอย่างมีคณค่าทางโภชนาการอย่างไร ุ พร้ อมกันนันเขาควรรู้ด้วยว่า การเลือกรับประทานอาหารต่างชนิดที่มีคณค่าทางโภชนาการ ้ ุ ใกล้ เคียงกันมีผลกระทบต่อโลกรอบด้ านต่างกันมากหากชนิดหนึงนาเข้ าจากประเทศห่างไกลใน ่ ขณะที่อีกชนิดหนึงผลิตได้ ในท้ องถิ่นของเขาเอง ทังนี ้เพราะการใช้ พลังงานในการขนส่งอาหารสอง ่ ้ อย่างนันแตกต่างกันมากและการใช้ พลังงานเป็ นปั จจัยที่ทาให้ เกิดภาวะโลกร้ อน ยิ่งกว่านันเขา ้ ้ ควรเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโทษของการบริโภคเกินพอดีและการบริ โภคสิ่งที่ขาดคุณค่าทาง โภชนาการด้ วย เช่น โรคต่าง ๆ ซึงแฝงมากับอาหารและความอ้ วน ่ ตัวอย่างที่อ้างถึงเหล่านี ้บ่งชี ้ถึงความสาคัญของการศึกษาซึงหมายความว่า ระบบ ่ การศึกษาและหลักสูตรจะต้ องได้ รับการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับเศรษฐกิจหลังยุคบริโภคนิยม ด้ วย การปรับเปลี่ยนอาจเริ่ มจากข้ อคิดดังต่อไปนี ้ ในด้ านการศึกษาในสถาบัน ปั ญหาพื ้นฐานในขณะนี ้อยูที่ผ้ เู รี ยนจบระดับต่าง ๆ ในอัตรา ่ สูงขาดความสามารถตามเปาหมายของการศึกษาในระดับนัน ๆ เช่น ผู้เรี ยนจบชันประถม 6 ไม่ ้ ้ ้ สามารถอ่านภาษาไทยได้ อย่างแตกฉาน หรื อผู้เรี ยนจบปริ ญญาตรี ขาดทังทักษะทางวิชาการที่จะ ้ นาไปประกอบอาชีพ และทางการใช้ เครื่ องมือและกลวิธีที่จะแสวงหาความรู้ตอไปด้ วยตัวเอง การ ่ มีปริญญาจึงกลายเป็ นการสนองค่านิยมและเป็ นส่วนหนึ่งของการบริ โภคที่ขบเคลื่อนให้ ธุรกิจั การศึกษาขยายตัวเกินความจาเป็ น การแก้ ปัญหาน่าจะเป็ นที่ประจักษ์ อยูแล้ ว นันคือ ต้ องมีการ ่ ่ วัดความสาฤทธิ์ผลกันอย่างจริ งจังพร้ อมกับมุงเน้ นความเป็ นเลิศมากกว่าเท่าที่เป็ นอยู่ซง ่ ึ่ ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษารู้ ว่าจะทาอย่างไร ในปั จจุบนนี ้สถานศึกษาอ้ างถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกันอย่างกว้ างขวาง การ ั ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเข้ าสู่แนวใหม่จะทาได้ ไม่ยากหากครูบาอาจารย์เข้ าใจและน้ อมนาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตในชีวิตประจาวันของตนอยูแล้ ว ทังนี ้เพราะการเห็นต้ นแบบอยู่ทกวัน ัิ ่ ้ ุ เป็ นการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงยิ่ง แต่ประเด็นเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในขณะนี ้มีความคล้ าย กับการรับศีลห้ าเป็ นภาษาบาลี นันคือ ผู้รับมักท่องได้ หรื อไม่ก็พดไปตามพระแบบนกแก้ ว ่ ู
  • 15. นกขุนทองโดยปราศจากความเข้ าใจอย่างถูกต้ องและไม่นาไปปฏิบตในชีวิตประจาวัน ที่เป็ น ัิ เช่นนันส่วนหนึงคงเพราะการนาเสนอเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงมักพูดถึงองค์ประกอบของแนวคิดโดย ้ ่ ไม่ได้ กล่าวถึงฐานทางวิทยาศาสตร์ และการปฏิบติจนได้ ผลในระดับชุมชนมาแล้ ว ฐานทาง ั วิทยาศาสตร์ ที่ถกอ้ างถึงมักจากัดอยูที่การทดลองของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหวเกี่ยวกับ ู ่ ่ ั เกษตรกรรมตามทฤษฎีใหม่ซงได้ แก่การทาไร่ ทาสวนและทานาผสมผสานกับการเลี ้ยงปลาและ ึ่ เลี ้ยงสัตว์ แต่นนเป็ นเพียงส่วนเดียวเท่านัน ส่วนการวิจยเรื่ องความสุขและผลกระทบที่การบริโภค ั่ ้ ั เกินพอดีมีตอร่างกายและสิ่งแวดล้ อมซึงเป็ นฐานสาคัญยิ่งของเศรษฐกิจพอเพียงยังไม่มีการ ่ ่ กล่าวถึง นอกจากนันยังไม่มีการกล่าวถึงชุมชนที่ดาเนินชีวิตตามแนวคิดคล้ ายกับหลักเศรษฐกิจ ้ พอเพียงมาเป็ นเวลากว่า 300 ปี แล้ วอีกด้ วย ด้ วยเหตุเหล่านี ้ การขับเคลื่อนให้ เกิดเศรษฐกิจแนวใหม่ในสถานศึกษาต้ องเริ่มด้ วยการ อบรมครูบาอาจารย์ให้ เข้ าใจอย่างถ่องแท้ ถึงแนวคิดเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงพร้ อมกับฐานทาง วิทยาศาสตร์ และการปฏิบติซงได้ ผลในระดับชุมชนมาแล้ ว ในปั จจุบนนี ้มีการนาผลการวิจย ั ึ่ ั ั เกี่ยวกับความสุข การบริ โภคและการใช้ ทรัพยากรมาพิมพ์ไว้ ในหนังสือหลายต่อหลายเล่มดังที่ กล่าวถึงในบทที่ 2 พร้ อมทังเรื่ อง An Inconvenient Truth ของอดีตรองประธานาธิบดีอเมริกน Al ้ ั Gore ซึงมีบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยอยูในหนังสือชื่อ กะลาภิวัตน์ และอีกหลายเล่มซึงมีบทคัดย่อ ่ ่ ่ อยูในเรื่ อง ธาตุ 4 พิโรธ สาหรับการดาเนินชีวิตตามแนวคิดคล้ ายหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีอยูใน ่ ่ หนังสือหลายเล่มเช่นกัน รวมทังหนังสือภาษาไทยที่เล่าเรื่ องราวของชาว “อามิช” ชื่อ อเมริกาที่ยัง ้ ใช้ ม้าเทียมไถ ด้ วย4 ชาว “อามิช” ดาเนินชีวิตแบบเรี ยบง่ายโดยไม่ใช้ เครื่ องจักรกลสมัยใหม่และ ไม่ใช้ แม้ กระทังไฟฟา เนื่องจากองค์กรของรัฐและเอกชนมีศกยภาพสูงพอที่จะทาหลักสูตรและการ ่ ้ ั อบรมอยูแล้ ว ฉะนัน การรวมเรื่ องเศรษฐกิจแนวใหม่เข้ าไปจึงทาได้ ทนทีเมื่อมีสญญาณจาก ่ ้ ั ั ผู้บริหารประเทศ เป็ นที่ทราบกันดีว่า การเรี ยนรู้ในกรอบของสถาบันแม้ จะมีความสาคัญยิ่ง แต่ก็ยงไม่ ั สาคัญเท่าการเรี ยนรู้จากนอกสถาบัน ทังนี ้เพราะการเรี ยนรู้เกิดขึ ้นได้ ตลอดเวลาและในอายุขยกว่า ้ ั 70 ปี ของคนเรานัน เราใช้ เวลาอยูนอกสถาบันการศึกษามากกว่าในสถาบันหลายเท่า ในด้ าน ้ ่ การศึกษานอกสถาบัน อุปสรรคใหญ่อยูที่คนไทยโดยทัวไปไม่นิยมอ่านหนังสือและไม่เป็ นผู้ใฝ่ รู้อยู่ ่ ่ 4 ผู้มีความแตกฉานในภาษาอังกฤษและสนใจเกี่ยวกับชาว “อามิช” อาจไปอ่านหนังสือเล่มหนึงซึงอ่านสนุกมาก ่ ่ เขียนโดย Eric Brende นักศึกษาปริ ญญาโทของสถาบันเทคโนโลยีแห่งรัฐแมสซาชูเซตส์หลังจากได้ ไปใช้ ชีวิตอยู่ ในหมูบ้านชาว “อามิช” เป็ นเวลา 18 เดือนชื่อ Better Off: Flipping the Switch on Technology (Harper ่ Perennial, 2004) หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจได้ นาบทคัดย่อเป็ นภาษาไทยมาตีพมพ์ไว้ ในคอลัมน์ “ผ่า ิ มันสมองของปราชญ์” ระหว่างวันที่ 11-21 กุมภาพันธ์ 2551 หากไม่สามารถค้ นหาหนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าวได้ แต่ยงสนใจอ่าน อาจส่งอีเมล์ไปขอต้ นฉบับจาก ดร. ไสว บุญมา ที่ sboonma@msn.com ั
  • 16. ตลอดเวลา อย่างไรก็ดในปั จจุบนนี ้แนวคิดเรื่ องการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตได้ รับการยอมรับอย่าง ี ั กว้ างขวาง มีองค์กรเอกชนเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมการศึกษาทังในและนอกสถาบัน และ ้ รัฐบาลก็สนับสนุนองค์กรเหล่านันด้ วยการยกเว้ นภาษีให้ เราจึงมีองค์กรต่าง ๆ อยูในสังคมอย่าง ้ ่ ทัวถึง ลาดับต่อไปจึงเป็ นการปรับใช้ องค์กรเหล่านันให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นโดยมุงไปที่การรวม ่ ้ ่ องค์ความรู้ในกรอบของเศรษฐกิจแนวใหม่เข้ าไปด้ วย เรามีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระจัด กระจายอยูทวประเทศ ประเด็นจึงอยู่ที่การขับเคลื่อนให้ องค์กรนี ้มีพลวัตสูงขึ ้นกว่าในปั จจุบน ่ ั่ ั ยิ่งกว่านันเรามีสถาบันทางศาสนาซึงเคยเป็ นศูนย์การเรี ยนรู้ของชุมชนมาแต่เก่าก่อน โดยเฉพาะ ้ ่ วัดพุทธศาสนาที่มีอยูเ่ กินกว่า 30,000 แห่ง พุทธศาสนาสอนเรื่ องหลักของการเดินสายกลางอยู่ แล้ ว ประเด็นจึงอยูที่วาในการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจแนวใหม่ จะทาอย่างไรวัดจึงจะกลับมามี ่ ่ บทบาทสูงอีกครัง ผู้นาทางศาสนาย่อมตระหนักดีแล้ วว่า ศาสดาอุบตขึ ้นมาเพื่อแก้ ปัญหาของโลก ้ ัิ เมื่อการบริโภคเกินความจาเป็ นคือต้ นตอของปั ญหา องค์กรของผู้เดินตามรอยศาสดาควรเป็ นผู้นา ในการกาจัดปั ญหาอย่างเป็ นรูปธรรม มิใช่หลงติดอยูแค่พิธีกรรม หรื อวิ่งตามกระแสโลกเสียเอง ่ ในทานองเดียวกันกับการอบรมครูบาอาจารย์ของสถาบันการศึกษาให้ เข้ าใจในเศรษฐกิจ แนวใหม่เพื่อนาไปสูการขับเคลื่อนให้ เกิดขึ ้น ควรมีโครงการด้ านการศึกษาของพระเพื่อจะปูฐานให้ ่ ท่านมีบทบาทเพิ่มขึ ้นด้ วย พระในที่นี ้เป็ นผู้ที่บวชเป็ นเวลานานซึงควรจะแตกฉานทังในด้ าน ่ ้ หลักธรรมและในด้ านวิวฒนาการของโลก ทังนี ้เพราะท่านจะเป็ นผู้นาในทางธรรมได้ ยากหากท่าน ั ้ ไม่เข้ าใจในวิวฒนาการของทางโลกด้ วย ในปั จจุบนนี ้มีบางวัดพยายามส่งเสริมให้ พระศึกษาวิชา ั ั ของทางโลกอย่างจริงจัง แต่ก็ยงเป็ นแบบต่างคนต่างทาตามแนวคิดของผู้ขบเคลื่อน ในการพัฒนา ั ั ประเทศตามเศรษฐกิจแนวใหม่ พระที่บวชเป็ นเวลานานควรได้ รับการศึกษาทังทางธรรมและทาง ้ โลกอย่างเป็ นระบบโดยเฉพาะพระที่จะรับตาแหน่งต่าง ๆ ทางศาสนาเนื่องจากท่านจะต้ องทา หน้ าที่ผ้ นาซึงควรมีความสามารถในการอธิบายหลักธรรมในบริบทของวิวฒนาการทางโลกรวมทัง้ ู ่ ั ฐานความคิดของเศรษฐกิจแนวใหม่ได้ เป็ นอย่างดี ผู้นาทางศาสนาและผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา คงใช้ เวลาไม่นานในการที่จะร่วมกันสร้ างระบบการศึกษาของพระดังกล่าวเนื่องจากทังสถานที่ ้ องค์ความรู้ ผู้เชี่ยวชาญและสื่อสาหรับการเรี ยนรู้มีอยูโดยทัวไปแล้ ว ่ ่ ดังที่กล่าวถึงในบทที่ 2 ปั จจัยที่ทาให้ บคคลมีความสุขหลังจากมีปัจจัยเบื ้องต้ นเพียงพอต่อ ุ ความจาเป็ นของร่างกายได้ แก่กิจกรรมที่ทาให้ ร่างกายเคลื่อนไหวและจิตใจเบิกบานอยู่เป็ นนิจ การเคลื่อนไหวรวมทังการใช้ มนสมองด้ วย ในปั จจุบนนี ้มีวดจานวนหนึงซึงส่งเสริมกิจกรรมจาพวก ้ ั ั ั ่ ่ ศึกษาและปฏิบตตามหลักธรรมอยูแล้ ว แต่ก็อยูในรูปของต่างคนต่างทาโดยปราศจากการ ัิ ่ ่ ขับเคลื่อนอย่างเป็ นระบบซึงมีผ้ เู สนอไว้ แล้ วตามแนวคิดที่มีคาย่อว่า “บวร” นันคือ การสนธิกน ่ ่ ั อย่างจริงจังระหว่าง “บ้ าน” “วัด” และ “โรงเรี ยน” การสนธิกนคงทาได้ ในหลากหลายแนวตาม ั
  • 17. ความเหมาะสมของแต่ละท้ องถิ่นเมื่อผู้นาของฝ่ ายศาสนาและของฝ่ ายรัฐพร้ อมใจกันผลักดันให้ เกิดขึ ้น แก่นของการสนธิกนควรเป็ นด้ านการศึกษาโดยการทาให้ วดเป็ นศูนย์ขาวสารและการ ั ั ่ เรี ยนรู้ตามอัธยาศัยของหมูบ้านในย่านรอบ ๆ วัด บางวัดอาจมี พื ้นที่สีเขียวและสนามเด็กเล่นหาก ่ สถานที่อานวย สาหรับวัดในเมืองซึงทังพระและชุมชนรอบวัดมีการศึกษาสูงและเข้ าถึงข่าวสารข้ อมูล ่ ้ อย่างกว้ างขวางอยูแล้ ว วัดอาจเป็ นเพียงศูนย์การเรี ยนและการปฏิบตธรรมตามอัธยาศัยของ ่ ัิ ผู้สนใจและพระที่มีความเชี่ยวชาญในบางด้ านอาจเป็ นวิทยากรให้ แก่วดในชนบท เพื่อให้ กิจกรรม ั ดาเนินไปในบรรยากาศที่ปราศจากกิจกรรมจาพวกสนับสนุนการบริ โภค ไม่ควรใช้ บริ เวณวัดสร้ าง ร้ านค้ าถาวรหรื อลานจอดรถ ส่วนวัดในชนบทอาจจัดเพียงมุมสาหรับอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสารรายสัปดาห์และวารสารวิชาชีพของชุมชนรอบด้ าน วัดส่วนใหญ่นาจะทาได้ มากกว่านัน ่ ้ จนอาจถึงขันมีห้องสมุด แหล่งข่าวสารผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตและศูนย์การเรี ยนรู้ทางไกล ้ สาหรับค่าใช้ จาย ฝ่ ายรัฐควรจัดงบประมาณให้ สวนหนึงและวัดควรเรี่ ยไรจากผู้มีใจศรัทธา ่ ่ ่ หรื อจากการทอดผ้ าป่ าเพื่อนามาสบทบอีกส่วนหนึง การเรี่ ยไรและทอดผ้ าป่ าเพื่อหาปั จจัยมา ่ สนับสนุนศูนย์ข่าวสารข้ อมูลและการเรี ยนรู้ในวัดอาจเป็ นของแปลกสาหรับผู้ที่มีความคุ้นเคย เฉพาะกับด้ านของการสร้ างถาวรวัตถุ แต่ถ้าฝ่ ายผู้นาทางศาสนามีความเข้ าใจและศรัทธาในหลัก เศรษฐกิจแนวใหม่จริง ๆ โอกาสที่จะชักนาให้ ประชาชนคล้ อยตามย่อมมีความเป็ นไปได้ สง ยิ่งถ้ า ู ผู้นาทางศาสนาปฏิบติตนเป็ นต้ นแบบโดยการจากัดการบริโภคของตนเองและขับเคลื่อนการศึกษา ั ของพระพร้ อมกับบริจาคปั จจัยที่ได้ รับมาส่วนหนึงให้ กบกิจกรรมซึงจะทาให้ วดเป็ นศูนย์ดงกล่าว ่ ั ่ ั ั อย่างสม่าเสมอด้ วยแล้ ว การเรี่ ยไรจะได้ ผลสูงขึ ้นอีก พูดถึงด้ านวัตถุ แนวโน้ มในวงการศาสนาเป็ นไปในทางเดียวกันกับกระแสโลกซึงมีการ ่ บริโภคเป็ นตัวขับเคลื่อนมาเป็ นเวลานาน วัดจึงมักผลักดันให้ เกิดการก่อสร้ างศาสนสถานจาพวก อาคารใหญ่โตจนเกินความจาเป็ นสาหรับประกอบศาสนกิจพร้ อมทังเป็ นผู้ร่วมประกอบพิธีกรรม ้ จาพวกฟุงเฟอต่าง ๆ การก่อสร้ างเกินความจาเป็ นควรถูกจากัดและผู้นาทางศาสนาควรเป็ นผู้ชี ้นา ้ ้ ในด้ านการจากัดพิธีกรรมจาพวกฟุงเฟอเพราะมันตรงข้ ามกับคาสอนของศาสนาอยูแล้ ว ้ ้ ่ นอกจากนันการสร้ างรูปปั นของพระสงฆ์และขององค์ศาสดาและวัตถุมงคลซึงมีลกษณะของการ ้ ้ ่ ั บริโภคเกินความจาเป็ นก็ควรถูกจากัดด้ วย ผู้นาทางศาสนาควรชักจูงให้ ผ้ สร้ างหันมาสนับสนุน ู การศึกษาซึงเป็ นการให้ ทานทางปั ญญาอันเป็ นทานอันประเสริ ฐยิ่ง สาหรับทางฝ่ ายรัฐบาล เมื่อ ่ การสร้ างสิ่งเหล่านันเป็ นการบริโภคเกินความจาเป็ น รัฐก็ควรจัดเก็บภาษีตามอัตราที่เหมาะสม ้ ด้ วย ในยุคนี ้ การเรี ยนรู้นอกกรอบสถาบันการศึกษาที่สาคัญยิ่งเกิดขึ ้นผ่านรายการโทรทัศน์ซง ึ่ เป็ นสื่อที่ได้ รับความนิยมสูงมาก ฉะนัน รัฐและองค์กรเอกชนจาเป็ นที่จะต้ องเน้ นการใช้ โทรทัศน์ ้
  • 18. เป็ นพิเศษ รัฐต้ องมีโทรทัศน์ที่ปราศจากการโฆษณาไว้ สาหรับเผยแพร่ขาวสารข้ อมูลที่มีประโยชน์ ่ อย่างทัวถึง การเผยแพร่ขาวสารข้ อมูลด้ านเศรษฐกิจแนวใหม่ควรใช้ ผ้ ที่ประชาชนให้ ความสนใจสูง ่ ่ ู เป็ นผู้นาเสนอ ซึงอาจรวมทังดารายอดนิยม ขวัญใจวัยรุ่น นักกีฬาชันนาและพระนักเทศน์ ่ ้ ้ นอกจากนันยังต้ องมีการห้ าม หรื อจากัดเวลา การโฆษณาจาพวกที่จะกระตุ้นให้ เกิดการบริโภค ้ สินค้ าและบริการที่ไม่มีความจาเป็ นต่อการดาเนินชีวิตอีกด้ วย
  • 19. 4 พลังของระบบภาษี บทที่ 1 อ้ างถึงหัวใจของเศรษฐกิจใหม่วาได้ แก่การจากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ นและ ่ การจากัดอาจเกิดจากความสมัครใจของผู้ใช้ ทรัพยากรเอง หรื อ จากแรงจูงใจที่นโยบายของรัฐ กระตุ้นให้ เกิดก็ได้ บทนี ้จะพูดถึงด้ านแรงจูงใจโดยการใช้ ระบบภาษี ซงเป็ นเครื่ องมือที่ทรงพลังยิ่ง ึ่ ของระบบตลาดเสรี ตามแนวคิดเศรษฐกิจกระแสหลัก ฐานของการเก็บภาษี มีหลายอย่างด้ วยกัน บางอย่าง อ้ างถึงการได้ รับประโยชน์โดยตรงของผู้เสียภาษี เช่น ภาษีการใช้ สนามบินซึงเก็บผ่านการซื ้อตัว ่ ๋ เครื่ องบิน บางอย่างอ้ างถึงความสามารถในการเสียภาษี เช่น ภาษีเงินได้ ที่ใช้ อตราก้ าวหน้ าตาม ั ระดับของรายได้ สาหรับเศรษฐกิจแนวใหม่ ฐานของการเก็บภาษี สวนใหญ่จะเปลี่ยนไปสูการ่ ่ จากัดการบริ โภคเกินความจาเป็ น ส่วนประกอบของระบบภาษีจะมีอะไรบ้ างจะกาหนดได้ หลังจาก การวิเคราะห์โครงสร้ างของการบริโภคอย่างละเอียดแล้ ว ตอนนี ้จะเสนอข้ อคิดบางอย่างเพียง คร่าว ๆ เนื่องจากฐานของการเก็บภาษีอยูที่การจากัดการบริโภคเกินความจาเป็ น ฉะนัน สินค้ า ่ ้ และบริการส่วนใหญ่ที่อยูในกลุมปั จจัยสี่จะเสียภาษีในอัตราต่าสุด หรื อ บางอย่างอาจไม่เสียภาษี ่ ่ เลยก็ได้ เช่น อาหารที่อยูในหมวดหมูที่ร่างกายจาเป็ นต้ องใช้ ทุกวัน แต่อาหารอีกหลายอย่างที่ไม่มี ่ ่ ความจาเป็ นต่อร่างกายต้ องเสียภาษีในอัตราสูง นอกจากนันอาหารที่ต้องนาเข้ าจากท้ องถิ่น ้ ห่างไกลต้ องเสียภาษีในอัตราสูงด้ วย ทังนี ้เพื่อประหยัดการใช้ พลังงานสาหรับการขนส่งซึงสร้ าง ้ ่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมสูง จากฐานของการคิดแบบนี ้ อาหารจาพวกน ้าอัดลม นมข้ นหวาน เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไข่ปลาคาร์ เวีย เป๋ าฮื ้อ หูฉลาม รังนกนางแอ่น ปลาแซลมอน ปูขนและ ผลไม้ เมืองหนาวอาจต้ องเสียภาษีในอัตราสูงกว่าอัตราที่เสียกันอยูในปั จจุบนมาก ๆ นอกจากนัน ่ ั ้ อาหารสาเร็จรูปที่รับประทานในภัตตาคารต้ องเสียภาษีในอัตราพิเศษด้ วย ในหมูเ่ ครื่ องแต่งกาย เสื ้อผ้ าที่ใช้ ในชีวิตประจาวันอาจไม่เสียภาษี หรื อเสียในระดับต่า ตรงข้ ามเครื่ องแต่งกายในหมวดหมูหรูหรา เช่น ผ้ าไหม เครื่ องประดับจาพวกเพชรนิลจินดา ่ นาฬิกาเรื อนทองฝั งเพชร ผ้ าพันคอและกระเป๋ าหิ ้วสตรี ยี่ห้อกระฉ่อนโลก ต้ องเสียภาษีในอัตราสูง หมูที่อยู่อาศัยควรใช้ อตราภาษีแบบก้ าวหน้ าตามราคาหน่วยของที่อยู่ และเครื่ องปรับอากาศต้ อง ่ ั เสียภาษีในอัตราสูงกว่าพัดลม ส่วนหมูยารักษาโรคซึงรวมทังอาหารเสริมที่จาเป็ นต่อร่างกาย ่ ่ ้ จาพวกวิตามินและเกลือแร่ไม่ควรเสียภาษี อย่างไรก็ดีในหมวดหมูนี ้มีเครื่ องมือเกี่ยวกับการเล่น ่ กีฬาและการออกกาลังกายหลากหลายชนิดซึงควรเสียภาษีในอัตราที่แตกต่างกัน เช่น รองเท้ า ่