SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา


	          ก่อนที่จะท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษา  เราควรจะมี
ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาขั้นต้นตามสมควรว่า  ปรัชญาคืออะไร ปรัชญามี
ขอบเขตแค่ไหน ปรัชญาศึกษาเรื่องอะไรกันบ้าง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะได้กล่าว
ถึงพอเป็นสังเขปในบทแรกนี้
ความหมายของปรัชญา
	         การที่จะให้ความหมายหรือให้ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่าปรัชญานั้น
ไม่ใช่ของที่ท�ำได้ง่ายและเป็นสิ่งที่ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุดได้ยาก แต่ก็ผิดได้ยาก
เช่นกันเพราะนักปรัชญาแต่ละคน นักคิดแต่ละกลุ่ม นักปรัชญาแต่ละสมัย ก็ให้
คำนยามแตกตางกนออกไป การใหความหมายในทนจะกลาวอยางกวาง ๆ เพอ
   � ิ         ่ ั                  ้             ี่ ี้     ่ ่ ้           ื่
ให้เข้าใจตรงกันในหมู่ผู้ที่ท�ำความเข้าใจในเรื่องของปรัชญาการศึกษาต่อไป
สวนคำนยามทละเอยดพสดารนน ผสนใจจะอานไดจากหนงสอทแนะนำไวทายบทนี้
  ่ � ิ ี่ ี ิ                ั้ ู้         ่ ้          ั ื ี่ � ้ ้
ก.	ความหมายตามรูปศัพท์
	           การพิจารณาความหมายของปรัชญาแบบแรกคือพิจารณาตาม
รูปศัพท์ที่ใช้อยู่ว่ามีความหมายอย่างไร ซึ่งเราอาจพิจารณาได้เป็น 2 แนวทาง
คือ รูปศัพท์ภาษาไทยและรูปศัพท์ภาษาอังกฤษ
	           ตามรปศพทในภาษาไทยนน คำวาปรชญาเปนคำทพระเจาวรวงศเ์ ธอ
                   ู ั ์              ั้ � ่ ั         ็ � ี่          ้
กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใช้แทนค�ำว่า  Philosophy
ในภาษาอังกฤษ (กีรติ บุญเจือ, 2519 : 1) และเป็นศัพท์บัญญัติที่ “ติด”
เป็นที่นิยมใช้กันกว้างขวางในปัจจุบัน ตามรากศัพท์ปรัชญาเป็นค�ำสันสกฤต
มาจากคำวา ชญา แปลวา รู้ เขาใจ เมอเตมอปสรรค ปร ซงแปลวา ไกล สงสด
          � ่                  ่   ้    ื่ ิ ุ            ึ่         ่     ู ุ
ประเสริฐ ลงไปข้างหน้า จึงกลายเป็นค�ำว่า ปรัชญา ซึงอาจจะให้ความหมายได้วา 
                                                     ่                            ่
เปนความรอบรู้ รกวางขวาง หรอความรอนประเสรฐ ความรขนสงกได้ โดยนยนี้
    ็               ู้ ้         ื        ู้ ั     ิ         ู้ ั้ ู ็       ั
ความหมายของปรั ช ญาในศั พ ท ์ ภ าษาไทยจึ ง เน ้ น ไปที่ ตั ว ความรู ้ ห รื อ ผู ้ รู ้
ซึ่งเป็นความรู้ที่กว้างขวางลึกซึ้งประเสริฐ เป็นต้น ซึ่งตรงกับค�ำว่า  ปัญญาใน
ภาษาบาลี
	           แต่ตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษนั้นมีความหมายแตกต่างไปจาก
ภาษาไทยอยูบาง โดยทีพทาโกรัสเป็นคนทีเ่ ริมใช้คำนี้ โดยเรียกตัวเองว่านักปรัชญา
              ่้           ่ ี                 ่ �
(Philosopher) (Thakur, 1977: 3) รากศัพท์เดิมของค�ำ Philosophy นั้น
มาจากค�ำภาษากรีก 2 ค�ำสนธิกัน คือ Philos กับ Sophia ค�ำว่า Philos หรือ
Philia นั้นแปลว่า  รักหรือความรัก (Love) ส่วนค�ำว่า  Sophia นั้น หมายถึง
ความรู้ ความปราดเปรื่อง (Wisdom) เมื่อรวมกันเข้าเป็น Philosophy แล้วจึง
หมายถึง ความรักในความรู้ ความรักในความปราดเปรื่อง (The Love of
Wisdom) ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษนี้เน้นไปที่ทัศนคติ นิสัย
และความตังใจ เน้นทีกระบวนการในการจะหาความรู้ นักปรัชญาตามความหมาย
            ้            ่
2 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
รูปศัพท์ภาษาอังกฤษจึงหมายถึงคนที่สนใจแสวงหา  และอยากรู้อยากเห็น
ใฝหาความรอยเู่ สมอ ไมใชคนทมความรแลวเพยงพอกบความรทตนมอยแลวนน
   ่        ู้         ่ ่ ี่ ี      ู้ ้ ี      ั     ู้ ี่ ี ู่ ้ ั้
	          อย่างไรก็ตาม แม้ค�ำนิยามจะแตกต่างกันออกไปบ้างตามรูปศัพท์
ของภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ตาม แต่สิ่งที่ร่วมกันอยู่อย่างหนึ่งก็คือความรู้
ไม่ว่าจะเป็นตัวความรู้หรือการแสวงหาความรู้ก็ตาม ปรัชญาจึงหนีไม่พ้นเรื่อง
ความรไปได้ แตจะเปนความรอะไร อยางไร หรอเกยวของอยางใด เพออะไรนน
       ู้       ่ ็         ู้     ่        ื ี่ ้ ่          ื่       ั้
จะกล่าวถึงในตอนต่อ ๆ ไป
	         ข.	ความหมายโดยอรรถ
	         การพิจารณาหาความหมายของปรัชญาโดยอรรถนี้ ก็เช่นเดียวกับ
การให้ค�ำนิยามปรัชญาโดยทั่ว ๆ ไปนั้นเอง คือไม่มีค�ำนิยามตายตัว การให้
ความหมายในที่นี้จะพิจารณาเพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไปเป็นหลักส�ำคัญ
	         เมื่อพิจารณาโดยเนื้อหาแล้ว เราก็อาจกล่าวได้ว่า  ปรัชญานั้นเป็น
สาขาวิชาหนึ่ง ซึ่งมีที่มาและมีวิวัฒนาการอันยาวนาน โดยเริ่มต้นจากการที่
มนุษย์มีความสงสัยและพิศวงงงงวยต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง แล้วก็พยายาม
ขบคิดหาค�ำตอบต่อปัญหาและความสงสัยต่าง ๆ เหล่านั้น ในระยะแรก ๆ ก็
พยายามหาค�ำตอบต่อปัญหาในสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น โลก จักรวาล
ธรรมชาติก่อน แล้วจึงหันมาสนใจเรื่องของมนุษย์เองในระยะหลัง โดยเฉพาะ
สมัยหลังโสกราตีสเป็นต้นมา  เพื่อหาความหมายต่อสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น
การตั้งข้อสงสัยและการพยายามหาค�ำตอบต่อสิ่งแวดล้อมและตัวมนุษย์เองนี้
ในระยะแรก ๆ กเปนไปอยางงาย ๆ ใชเหตผลไมลกซงซบซอนมากนก เปนการ
                 ็ ็      ่ ่        ้ ุ ่ ึ ึ้ ั ้             ั ็
คาดคะเนตามความนึกคิดและสติปัญญา ในยุคนั้น ๆ ความรู้ที่ใช้ประกอบก็
มีลักษณะกว้าง ๆ ตามที่คิดได้ในยุคนั้น ๆ เช่นกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปนับเป็น

                                                     ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 3
ร้อย ๆ ปีขึ้นไป ปัญหาและค�ำตอบต่าง ๆ เหล่านี้ก็ได้รับการพิจารณาสืบทอด
และปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นระยะของความคิดนึกที่สมบูรณ์ขึ้น ผลของ
ความพยายามสะสมเหล่านี้เองที่เราเรียกกันว่างานทางปรัชญา
	          ในระยะแรก ความรู้ต่าง ๆ ที่นักปรัชญาน�ำมาประกอบในการ
พิจารณาเพื่อตั้งค�ำถามและหาค�ำตอบให้กับความหมายของสิ่งต่าง ๆ รอบ
กายนั้นย่อมได้ความรู้หลาย ๆ อย่างมาประกอบกัน ความรู้ทุกอย่างก็เป็น
ปรัชญาทั้งหมด แต่เมื่อความรู้ในสาขาใดได้รับการพัฒนากว้างขวางและลึกซึ้ง
ขึ้น มีค�ำตอบของตนเองชัดเจนขึ้น ก็แยกตัวเป็นวิชาหนึ่งต่างหากออกไป
(กีรติ บุญเจือ, 2519 : 5) ชี้ว่า  วิชาที่แยกตัวออกไปจากปรัชญาวิชาแรกก็คือ
วชาศาสนา เพราะศาสนานนแรก ๆ กเ็ ปนความพยายามทจะตอบปญหาและหา
  ิ                          ั้           ็            ี่       ั
ความหมายของความเป็นมนุษย์ทั่ว ๆ ไป อันเป็นปรัชญาอยู่ ต่อเมื่อมีคนคิด
ละเอียดและท�ำความเข้าใจชัดเจน มีพิธีกรรมของตนเองชัดเจนขึ้นก็แยกเป็น
วิชาต่างหากออกไป ที่เหลือก็เป็นเนื้อหาของปรัชญาต่อไป วิชาที่แตกตัวออก
มาจากปรัชญาในระยะหลัง ๆ ก็ได้แก่ ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์
เป็นต้น โดยเหตุนี้ การที่จะกล่าวถึงเนื้อหาของวิชาปรัชญาอย่างชัดเจน เช่น
การกล่าวถึงวิชาพฤกษศาสตร์ว่าศึกษาเรื่องพืช สัตวศาสตร์ศึกษาเรื่องของ
สัตว์ จึงเป็นสิ่งที่ท�ำได้ยากและไม่ครอบคลุมขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชา
ปรัชญาอย่างเพียงพอ เหตุนี้ในปัจจุบันจึงมีผู้กล่าวว่า  ปรัชญานั้นไม่มีเนื้อหา
ของตนเอง แต่เป็นการน�ำเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ มาวิเคราะห์ สรุปรวมหาความ
สัมพันธ์และความหมายให้แก่ศาสตร์นั้น ๆ (ซี อี เอ็ม โจด, 2523 : 7) ในขณะ
เดียวกันก็จะมองเห็นคุณค่าอย่างอื่น ๆ เพิ่มเติมขึ้นมาด้วย
	        การให้ค่าให้ความหมายของสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เองที่ท�ำให้เนื้อหาของ
ปรัชญาจัดตัวเองชัดเจนขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การค้นหาความจริงแท้
4 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
(Ultimate Reality) ของสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาลและพื้นพิภพนี้ โดยอาศัย
ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกัน ซึ่งกลายเป็นเนื้อหาของปรัชญา
ในปัจจุบัน
	              อีกลักษณะหนึ่ง ปรัชญาเป็นวิธีการมองปัญหาหรือมองความรู้ที่
มีอยู่ (A way of looking at knowledge) โดยนัยนี้ ปรัชญาไม่ใช่วิธีการ
หาความรู้ใหม่และไม่ใช่ตัวความรู้ (Body of Knowledge) แต่เป็นวิธีการ
เป็นลักษณะการมองความรู้หรือปัญหาที่เป็นอยู่ ที่มีอยู่แล้ว วิธีการของ
ปรัชญาจะไม่ให้ความรู้ใหม่ ๆ ไม่ใช่การค้นพบความรู้ใหม่ แต่เป็นการมอง
ความรู้หรือปัญหาในทัศนะใหม่ ๆ (Phenix, 1958: 4) ความหมายในประการ
นี้เองที่คนโดยมากเข้าใจกัน ดังที่มีค�ำกล่าวอยู่เสมอว่า  ปรัชญาชีวิตของคนนั้น
คนนี้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ปรัชญาการท�ำงานของนาย ก. เป็นอย่างนั้น นาย ข.
อย่างนี้ เป็นต้น การมองปัญหานี้จ�ำเป็นจะต้องวิเคราะห์ตีความปัญหาข้อมูล
ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง แต่บางคนก็อาจจะใช้ประสบการณ์และความคิดนึกของ
ตนเองเท่านั้น ความเป็นนักปรัชญาในที่นี้จึงมักจะมองกันในแง่ที่ว่า  ใครจะมี
ความสามารถเข้าถึงปัญหาที่แท้จริงมากกว่ากัน
	              ความหมายของปรัชญาในแนวทางของการมองปัญหานี้เองอาจจะ
พิจารณาได้วาเป็นการใช้วชาปรัชญามาประยุกต์กอาจจะไม่ผดนัก เพราะปรัชญา
                 ่         ิ                     ็          ิ
ประยุกต์นนก็คอการน�ำแนวคิดหรือวิธการ รวมทังปัญหาพืนฐานทางปรัชญามา
             ั้ ื                     ี            ้      ้
วิเคราะห์วชาต่าง ๆ ให้การท�ำความเข้าใจในวิชาต่าง ๆ ชัดเจนขึน เช่น ปรัชญา
           ิ                                                  ้
ศิลปะ ปรัชญาคณิตศาสตร์ ปรัชญาประวัติศาสตร์ เป็นต้น




                                                       ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 5
สาขาของปรัชญา
	         ดังที่ได้กล่าวมาแต่ต้นบ้างแล้วว่า  ปรัชญาปัจจุบันนั้นมุ่งที่การค้นหา
ความจริงเป็นหลักส�ำคัญ เมือวิเคราะห์ความเป็นจริงนันแล้ว ก็วเิ คราะห์ตอไปว่า 
                            ่                      ้                     ่
เราจะรู้ความเป็นจริงนั้นได้อย่างไร และเราจะประพฤติตนอย่างไรจึงจะเหมาะ
กับความเป็นจริงนั้น ๆ จากพื้นฐานของความจริงนี้เองท�ำให้เราสามารถแบ่ง
สาขาของปรัชญาออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ที่นิยมกันได้เป็น 3 สาขาใหญ่ ๆ คือ
	          1.	 อภิปรัชญา (Metaphysics or Ontology)
	           สาขาของปรัชญาในส่วนของอภิปรัชญานี้เกี่ยวข้องกับปัญหาและ
ทฤษฎีของความเป็นจริง (Reality) เป็นความพยายามที่จะตอบค�ำถามและ
หาความหมายของความจริงที่แท้ (Ultimate Reality) คืออะไร อะไรคือ
ธรรมชาติของจักรวาล พื้นพิภพ และชีวิตมนุษย์ ชีวิตมนุษย์เป็นอิสระเองหรือ
ขึ้นอยู่กับสิ่งที่สูงกว่า  (พระเจ้า) เป็นต้น นักปรัชญาแต่ละคนแต่ละกลุ่มของ
ความคิดจะตอบปัญหานี้แตกต่างกันออกไป
	            ฝ่ายหนึ่งมีความเชื่อว่า  ธรรมชาติที่แท้จริงของคนนั้นคือจิต (Mind)
สิ่งหรือส่วนอื่น ๆ ไม่แน่นอน แต่อีกฝ่ายหนึ่งมีความเห็นว่า  สิ่งที่แท้จริงก็คือ
สิ่งที่เราเห็น สัมผัสได้ (Material Organism) สิ่งที่อยู่นอกเหนือไม่ใช่สิ่งที่
แน่นอน แนวคิดทั้งสองนี้มีอิทธิพลต่อการศึกษามากดังจะได้กล่าวถึงอีกครั้ง
หนึ่งในบทที่ 4
	          2.	 ทฤษฎีความรู้ (Epistemology)
	       ปรัชญาสาขานี้บางทีก็เรียกกันว่าญาณวิทยา  เกี่ยวข้องโดยตรงกับ
ปัญหาและทฤษฎีของความรู้ (Knowledge) เป็นความพยายามทีจะตอบค�ำถาม
                                                        ่

6 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
และหาความหมายเกียวกับความรูในด้านต่าง ๆ เช่น ความรูทเราได้รบมานันมี
                       ่             ้                        ้ ี่    ั     ้
ธรรมชาติอย่างไร เป็นความรู้ที่แท้จริงหรือเปล่า มีความรู้อะไรบ้างที่คนเราควร
ศึกษา ความรู้ที่ได้นั้นมีแหล่งอยู่ที่ไหน และเราจะใช้เครื่องมืออะไรเพื่อให้ได้มา
ซึ่งความรู้เหล่านั้น เป็นต้น
	          แนวทาง 2 ทางที่พูดกันอยู่เสมอในเรื่องของทฤษฎีความรู้ก็คือ กลุ่ม
แรกความรู้ได้มาจากและโดยวิธีประจักษนิยม (Empiricism) คือการสังเกต
เก็บรวบรวม ทดสอบ และอาจจะทดลอง (Controlled experience) เพิ่มเติม
ทีหลังได้อีก แต่อีกบางกลุ่มเป็นความรู้ที่ได้จากวิธีการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่วิธีการของ
ประจักษนิยม เช่น การใช้เหตุผลหรือเหตุผลนิยม (Rationalist) การคิดขึ้น
ได้เอง (Intuition) ผู้รู้บอกให้ (Authority) เป็นต้น (Kneller, 1964: 8-12;
รัตนา ตันบุญเต็ก, ม.ป.ท. : 46-50) เหล่านี้เป็นความรู้ที่ถูกต้อง เหมาะสม และ
เป็นจริงเพียงใด ทฤษฎีของความรู้ในลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้มีความส�ำคัญต่อ
การศึกษาในแง่ของการให้ความรู้ ครูควรจะให้ความรู้แก่เด็กหรือไม่ ความรู้ที่
ให้ควรให้อะไร และให้อย่างไรจึงจะเกิดประโยชน์เต็มที่
	          3.	 คุณวิทยา (Axiology)
	         คุณวิทยาหรือบางทีเรียกกันว่าคุณค่านี้เกี่ยวพันโดยตรงกับปัญหา
และทฤษฎีของคุณค่า  (Values) เป็นความพยายามที่จะตอบค�ำถามและหา
ความหมาย จุดเริ่มต้น และความแน่นอนของค่านิยมต่าง ๆ เช่น ค่านิยม
อย่างไหนควรเป็นมาตรฐาน จะปฏิบัติตนอย่างไรให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
นั้น มาตรฐานนั้น ๆ เหมาะสมถูกต้องเพียงใด เป็นต้น
	         โดยทวไป ปรชญาทางคณวทยานจะศกษา 3 ลกษณะ คอ จรยศาสตร์
              ั่    ั        ุ ิ     ี้ ึ        ั      ื ิ
(Ethics) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ข้อปฏิบัติระหว่างกัน
                                                          ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 7
ความถูกต้อง ความชัว ความดี เป็นต้น อย่างที่ 2 คือสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
                    ่
ศึกษาถึงเรื่องของความงามความสวย ที่เรากล่าวว่า  ภาพภาพหนึ่งงามนั้น
หมายความว่าอย่างไร ความงามที่แท้จริงคืออะไร และอย่างที่สามที่กล่าว
ถึงกันในเรื่องของคุณวิทยาก็คือ ปรัชญาสังคมการเมือง (Sociopolitical
Philosophy) ศึกษาว่า  ชุมชนคืออะไร มีไว้เพื่ออะไร เมื่อใดประชาชนควร
ท�ำตามค�ำสั่งรัฐบาล รัฐบาลแบบใดดีที่สุด เป็นต้น
	          การพิจารณาในเรื่องของคุณค่ามักจะแบ่งเป็น 2 แนว แนวแรกถือว่า
คุณค่าหรือค่านิยมมีค่าความสมบูรณ์แน่นอนเป็นคุณค่าอยู่ในตัวของสิ่งหรือ
การกระท�ำนั้น ๆ (Instrinsic) ไม่เปลี่ยนแปลงและมีล�ำดับขั้นตอน ส่วนอีก
แบบหนึ่งค่านิยมเป็นแต่เพียงเครื่องมือ (Instrumental) ของมนุษย์เปลี่ยนแปลง
ได้ไม่คงที่ แล้วแต่ข้อตกลงของสังคม เป็นต้น แนวคิดนี้มีผลต่อการศึกษา
อย่างมาก เพราะถ้ายึดค่านิยมใดก็จะอบรมคนไปแนวนั้น การประพฤติปฏิบัติ
ในโรงเรียนอย่างใดควรเหมาะสม ถูกต้อง
	          สาขาที่กล่าวมาทั้ง 3 ลักษณะนี้เป็นสาขาหลักที่นิยมกันในหมู่
ผู้ศึกษาทางปรัชญา แต่ในบางครั้งก็เพิ่มตรรกวิทยา (Logic) เข้าไว้ด้วย เพราะ
ตรรกวิทยานั้นเป็นเครื่องมือ เป็นวิธีการคิดหาเหตุผลที่จะน�ำมาใช้กับปรัชญา 
ซึ่งมักจะแบ่งเป็นการอนุมาน (Deductive Logic) เป็นการอนุมานเอาจาก
ข้อสรุปที่ถูกต้องเหมาะสมแล้วไปอธิบายข้อเท็จจริงปลีกย่อยอื่น ส่วนการ
อุปมาน (Inductive Logic) นันเป็นการคิดหาเหตุผลด้วยการพิจารณาข้อเท็จจริง
                           ้
ปลีกย่อยต่าง ๆ หลาย ๆ ชนิดแล้วสรุปไปหากฎเกณฑ์หรือหลักทัวไปของสิงนัน
                                                            ่         ่ ้




8 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
การมองปัญหาในปรัชญา
	         ดังที่ได้กล่าวไว้ในเรื่องของความหมายของปรัชญาว่า  ปรัชญาอาจ
หมายถึงการมองปัญหาได้และเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปนั้น ในส่วนนี้จะได้เพิ่ม
เตมวา ลกษณะการมองปญหาในแนวทางของปรชญาเปนอยางไร ซงเปนขอสรป
  ิ ่ ั                  ั                  ั    ็ ่        ึ่ ็ ้ ุ
โดยทั่วไป นักปรัชญาบางคนอาจจะเห็นด้วย บางคนไม่เห็นด้วย แต่ไม่ว่าจะ
เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยเพียงใด นักปรัชญาหรือนักปรัชญาการศึกษาก็มักจะ
ใช้เสมอ คือ
	          1.	 มองอย่างวิพากษ์ (Critical and Reflective) คนโดยทั่วไป
จะรับความเชื่อ แนวคิด หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสังคมไว้เสมอ แต่เขาจะ
ไม่แสดงว่าเป็นปรัชญาขึ้นมา ถ้าหากไม่วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์สิ่งนั้น หรือ
ไม่คิดโต้ตอบสิ่งนั้นให้มากขึ้นลึกซึ้งขึ้นต่อไป นักปรัชญาการศึกษาจะต้อง
มองการศกษาอยางวเิ คราะห์ วจารณสง แนวคด การกระทำตาง ๆ ทางการศกษา
         ึ      ่            ิ    ์ ิ่      ิ         � ่             ึ
อยู่เสมอ โดยเหตุนี้ นักปรัชญาจึงมักจะอธิบายว่า  ลักษณะส�ำคัญอันหนึ่งของ
ปรัชญาก็คือ การวิพากษ์ (วิทย์ วิศทเวทย์, 2520 : 166)
	            2.	 มองเป็นแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concept) บุคคลทั่วไปโดย
เฉพาะผทปฏบตงานประจำอยนนมกจะสนใจและเกยวของกบปญหาและเรองราว
        ู้ ี่ ิ ั ิ      � ู่ ั้ ั           ี่ ้ ั ั              ื่
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน และมองปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเคยชิน
และหาทางแก้ปัญหาเฉพาะหน้าแต่ละครั้งไป แต่นักปรัชญาจะไม่สนใจภาค
ปฏิบัติเหล่านี้หรือสนใจน้อย นักปรัชญาจะมองเป็นแนวคิด และเป็นแนวคิดที่
ค่อนข้างจะต้องเข้าใจด้วยสติปัญญา  (Abstract Concepts) เช่น คนทั่วไป
จะสนใจเรื่องราคา  เรื่องความต้องการ เรื่องแรงงาน เรื่องเงินเดือน ฯลฯ
แต่นักปรัชญาจะสนใจเรื่องจุดมุ่งหมาย เรื่องประสบการณ์ เรื่องจิตใจ เรื่อง
ธรรมชาติ เป็นต้น (Randall and Buchler, 1942: 4)
                                                     ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 9
3.	 มองอย่างครอบคลุม (Comprehensive) การพิจารณาในทาง
ปรัชญานั้น ควรจะครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอและมากพอ
ปัญหาต่าง ๆ ทีเกิดขึนนั้นมีสาเหตุอะไรบ้าง สาเหตุไหนส�ำคัญมากน้อยแค่ไหน
               ่ ้
มีทางแก้ปัญหาได้กี่ทาง แต่ละทางเหมาะสม ไม่เหมาะสมอย่างไร นักปรัชญา
ต้องมองครอบคลุมและเข้าใจอย่างเพียงพอ
	          4.	 มองอย่างชัดเจนหรือการท�ำให้กระจ่าง (Clarification)
นกปรชญาหรอเนอหาของปรชญาเองกตามจะตองพจารณาอะไรชดเจนแจมแจง
  ั ั         ื ื้           ั       ็     ้ ิ              ั      ่ ้
ว่าหมายความอย่างไร ไม่มีความคลุมเครือที่ว่า  เอกภาพของการศึกษานั้น
หมายความวาอยางไร คนดคออะไร คณภาพคออะไร เหลานเี้ ปนสงทนกปรชญา
             ่ ่           ี ื     ุ     ื          ่ ็ ิ่ ี่ ั ั
โดยเฉพาะปรัชญาการศึกษาจะต้องมองให้ชัดเจนทั้งในแง่ของความคิดและ
วิธีการ (Clarification of Ideas and Methods) ซึ่งจะต้องอาศัยการวิเคราะห์
วิจารณ์ก่อนเป็นเบื้องต้น
	          5.	 ตีความและประเมิน (Interpretation and Evaluation)
นักปรัชญาหรือสิ่งที่ปรัชญาเกี่ยวข้องนั้นไม่เพียงแต่วิพากษ์เป็นแนวคิดและ
ครอบคลุมเท่านัน ยังจะต้องตีความและประเมินออกมาด้วยว่าส�ำคัญ เหมาะสม
                ้
สอดคล้องเพียงใด โดยเหตุนี้ บางทีจึงมักจะเรียกปรัชญาว่าเป็นการตีความ
หรือให้ค่าแก่ศาสตร์ทั้งหลาย (An Interpretation of Knowledge) และเป็น
การตีความอย่างวิเคราะห์ (Critical Comment and Evaluation) ด้วยพร้อม
กันไป
	            6.	 หาความหมายของประสบการณ์มนุษย์ (The Meaning
of Human Experiences) ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ปัญหาอะไรในปรัชญาก็ตาม
สิ่งที่หนีไม่พ้นในการมองหาและพิจารณากันในปรัชญาก็คือ ความหมายของ

10 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น

More Related Content

What's hot

วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
Padvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
Padvee Academy
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
Padvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 

What's hot (20)

วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
2
22
2
 

Similar to 9789740330349

ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
Taweesak Poochai
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
CUPress
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
solarcell2
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
niralai
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
niralai
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
Pa'rig Prig
 

Similar to 9789740330349 (20)

ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
51105
5110551105
51105
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330349

  • 1. บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา ก่อนที่จะท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษา เราควรจะมี ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาขั้นต้นตามสมควรว่า ปรัชญาคืออะไร ปรัชญามี ขอบเขตแค่ไหน ปรัชญาศึกษาเรื่องอะไรกันบ้าง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะได้กล่าว ถึงพอเป็นสังเขปในบทแรกนี้ ความหมายของปรัชญา การที่จะให้ความหมายหรือให้ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่าปรัชญานั้น ไม่ใช่ของที่ท�ำได้ง่ายและเป็นสิ่งที่ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุดได้ยาก แต่ก็ผิดได้ยาก เช่นกันเพราะนักปรัชญาแต่ละคน นักคิดแต่ละกลุ่ม นักปรัชญาแต่ละสมัย ก็ให้ คำนยามแตกตางกนออกไป การใหความหมายในทนจะกลาวอยางกวาง ๆ เพอ � ิ ่ ั ้ ี่ ี้ ่ ่ ้ ื่ ให้เข้าใจตรงกันในหมู่ผู้ที่ท�ำความเข้าใจในเรื่องของปรัชญาการศึกษาต่อไป สวนคำนยามทละเอยดพสดารนน ผสนใจจะอานไดจากหนงสอทแนะนำไวทายบทนี้ ่ � ิ ี่ ี ิ ั้ ู้ ่ ้ ั ื ี่ � ้ ้
  • 2. ก. ความหมายตามรูปศัพท์ การพิจารณาความหมายของปรัชญาแบบแรกคือพิจารณาตาม รูปศัพท์ที่ใช้อยู่ว่ามีความหมายอย่างไร ซึ่งเราอาจพิจารณาได้เป็น 2 แนวทาง คือ รูปศัพท์ภาษาไทยและรูปศัพท์ภาษาอังกฤษ ตามรปศพทในภาษาไทยนน คำวาปรชญาเปนคำทพระเจาวรวงศเ์ ธอ ู ั ์ ั้ � ่ ั ็ � ี่ ้ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใช้แทนค�ำว่า Philosophy ในภาษาอังกฤษ (กีรติ บุญเจือ, 2519 : 1) และเป็นศัพท์บัญญัติที่ “ติด” เป็นที่นิยมใช้กันกว้างขวางในปัจจุบัน ตามรากศัพท์ปรัชญาเป็นค�ำสันสกฤต มาจากคำวา ชญา แปลวา รู้ เขาใจ เมอเตมอปสรรค ปร ซงแปลวา ไกล สงสด � ่ ่ ้ ื่ ิ ุ ึ่ ่ ู ุ ประเสริฐ ลงไปข้างหน้า จึงกลายเป็นค�ำว่า ปรัชญา ซึงอาจจะให้ความหมายได้วา ่ ่ เปนความรอบรู้ รกวางขวาง หรอความรอนประเสรฐ ความรขนสงกได้ โดยนยนี้ ็ ู้ ้ ื ู้ ั ิ ู้ ั้ ู ็ ั ความหมายของปรั ช ญาในศั พ ท ์ ภ าษาไทยจึ ง เน ้ น ไปที่ ตั ว ความรู ้ ห รื อ ผู ้ รู ้ ซึ่งเป็นความรู้ที่กว้างขวางลึกซึ้งประเสริฐ เป็นต้น ซึ่งตรงกับค�ำว่า ปัญญาใน ภาษาบาลี แต่ตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษนั้นมีความหมายแตกต่างไปจาก ภาษาไทยอยูบาง โดยทีพทาโกรัสเป็นคนทีเ่ ริมใช้คำนี้ โดยเรียกตัวเองว่านักปรัชญา ่้ ่ ี ่ � (Philosopher) (Thakur, 1977: 3) รากศัพท์เดิมของค�ำ Philosophy นั้น มาจากค�ำภาษากรีก 2 ค�ำสนธิกัน คือ Philos กับ Sophia ค�ำว่า Philos หรือ Philia นั้นแปลว่า รักหรือความรัก (Love) ส่วนค�ำว่า Sophia นั้น หมายถึง ความรู้ ความปราดเปรื่อง (Wisdom) เมื่อรวมกันเข้าเป็น Philosophy แล้วจึง หมายถึง ความรักในความรู้ ความรักในความปราดเปรื่อง (The Love of Wisdom) ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษนี้เน้นไปที่ทัศนคติ นิสัย และความตังใจ เน้นทีกระบวนการในการจะหาความรู้ นักปรัชญาตามความหมาย ้ ่ 2 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
  • 3. รูปศัพท์ภาษาอังกฤษจึงหมายถึงคนที่สนใจแสวงหา และอยากรู้อยากเห็น ใฝหาความรอยเู่ สมอ ไมใชคนทมความรแลวเพยงพอกบความรทตนมอยแลวนน ่ ู้ ่ ่ ี่ ี ู้ ้ ี ั ู้ ี่ ี ู่ ้ ั้ อย่างไรก็ตาม แม้ค�ำนิยามจะแตกต่างกันออกไปบ้างตามรูปศัพท์ ของภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ตาม แต่สิ่งที่ร่วมกันอยู่อย่างหนึ่งก็คือความรู้ ไม่ว่าจะเป็นตัวความรู้หรือการแสวงหาความรู้ก็ตาม ปรัชญาจึงหนีไม่พ้นเรื่อง ความรไปได้ แตจะเปนความรอะไร อยางไร หรอเกยวของอยางใด เพออะไรนน ู้ ่ ็ ู้ ่ ื ี่ ้ ่ ื่ ั้ จะกล่าวถึงในตอนต่อ ๆ ไป ข. ความหมายโดยอรรถ การพิจารณาหาความหมายของปรัชญาโดยอรรถนี้ ก็เช่นเดียวกับ การให้ค�ำนิยามปรัชญาโดยทั่ว ๆ ไปนั้นเอง คือไม่มีค�ำนิยามตายตัว การให้ ความหมายในที่นี้จะพิจารณาเพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไปเป็นหลักส�ำคัญ เมื่อพิจารณาโดยเนื้อหาแล้ว เราก็อาจกล่าวได้ว่า ปรัชญานั้นเป็น สาขาวิชาหนึ่ง ซึ่งมีที่มาและมีวิวัฒนาการอันยาวนาน โดยเริ่มต้นจากการที่ มนุษย์มีความสงสัยและพิศวงงงงวยต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง แล้วก็พยายาม ขบคิดหาค�ำตอบต่อปัญหาและความสงสัยต่าง ๆ เหล่านั้น ในระยะแรก ๆ ก็ พยายามหาค�ำตอบต่อปัญหาในสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น โลก จักรวาล ธรรมชาติก่อน แล้วจึงหันมาสนใจเรื่องของมนุษย์เองในระยะหลัง โดยเฉพาะ สมัยหลังโสกราตีสเป็นต้นมา เพื่อหาความหมายต่อสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น การตั้งข้อสงสัยและการพยายามหาค�ำตอบต่อสิ่งแวดล้อมและตัวมนุษย์เองนี้ ในระยะแรก ๆ กเปนไปอยางงาย ๆ ใชเหตผลไมลกซงซบซอนมากนก เปนการ ็ ็ ่ ่ ้ ุ ่ ึ ึ้ ั ้ ั ็ คาดคะเนตามความนึกคิดและสติปัญญา ในยุคนั้น ๆ ความรู้ที่ใช้ประกอบก็ มีลักษณะกว้าง ๆ ตามที่คิดได้ในยุคนั้น ๆ เช่นกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปนับเป็น ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 3
  • 4. ร้อย ๆ ปีขึ้นไป ปัญหาและค�ำตอบต่าง ๆ เหล่านี้ก็ได้รับการพิจารณาสืบทอด และปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นระยะของความคิดนึกที่สมบูรณ์ขึ้น ผลของ ความพยายามสะสมเหล่านี้เองที่เราเรียกกันว่างานทางปรัชญา ในระยะแรก ความรู้ต่าง ๆ ที่นักปรัชญาน�ำมาประกอบในการ พิจารณาเพื่อตั้งค�ำถามและหาค�ำตอบให้กับความหมายของสิ่งต่าง ๆ รอบ กายนั้นย่อมได้ความรู้หลาย ๆ อย่างมาประกอบกัน ความรู้ทุกอย่างก็เป็น ปรัชญาทั้งหมด แต่เมื่อความรู้ในสาขาใดได้รับการพัฒนากว้างขวางและลึกซึ้ง ขึ้น มีค�ำตอบของตนเองชัดเจนขึ้น ก็แยกตัวเป็นวิชาหนึ่งต่างหากออกไป (กีรติ บุญเจือ, 2519 : 5) ชี้ว่า วิชาที่แยกตัวออกไปจากปรัชญาวิชาแรกก็คือ วชาศาสนา เพราะศาสนานนแรก ๆ กเ็ ปนความพยายามทจะตอบปญหาและหา ิ ั้ ็ ี่ ั ความหมายของความเป็นมนุษย์ทั่ว ๆ ไป อันเป็นปรัชญาอยู่ ต่อเมื่อมีคนคิด ละเอียดและท�ำความเข้าใจชัดเจน มีพิธีกรรมของตนเองชัดเจนขึ้นก็แยกเป็น วิชาต่างหากออกไป ที่เหลือก็เป็นเนื้อหาของปรัชญาต่อไป วิชาที่แตกตัวออก มาจากปรัชญาในระยะหลัง ๆ ก็ได้แก่ ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เป็นต้น โดยเหตุนี้ การที่จะกล่าวถึงเนื้อหาของวิชาปรัชญาอย่างชัดเจน เช่น การกล่าวถึงวิชาพฤกษศาสตร์ว่าศึกษาเรื่องพืช สัตวศาสตร์ศึกษาเรื่องของ สัตว์ จึงเป็นสิ่งที่ท�ำได้ยากและไม่ครอบคลุมขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชา ปรัชญาอย่างเพียงพอ เหตุนี้ในปัจจุบันจึงมีผู้กล่าวว่า ปรัชญานั้นไม่มีเนื้อหา ของตนเอง แต่เป็นการน�ำเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ มาวิเคราะห์ สรุปรวมหาความ สัมพันธ์และความหมายให้แก่ศาสตร์นั้น ๆ (ซี อี เอ็ม โจด, 2523 : 7) ในขณะ เดียวกันก็จะมองเห็นคุณค่าอย่างอื่น ๆ เพิ่มเติมขึ้นมาด้วย การให้ค่าให้ความหมายของสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เองที่ท�ำให้เนื้อหาของ ปรัชญาจัดตัวเองชัดเจนขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การค้นหาความจริงแท้ 4 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
  • 5. (Ultimate Reality) ของสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาลและพื้นพิภพนี้ โดยอาศัย ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกัน ซึ่งกลายเป็นเนื้อหาของปรัชญา ในปัจจุบัน อีกลักษณะหนึ่ง ปรัชญาเป็นวิธีการมองปัญหาหรือมองความรู้ที่ มีอยู่ (A way of looking at knowledge) โดยนัยนี้ ปรัชญาไม่ใช่วิธีการ หาความรู้ใหม่และไม่ใช่ตัวความรู้ (Body of Knowledge) แต่เป็นวิธีการ เป็นลักษณะการมองความรู้หรือปัญหาที่เป็นอยู่ ที่มีอยู่แล้ว วิธีการของ ปรัชญาจะไม่ให้ความรู้ใหม่ ๆ ไม่ใช่การค้นพบความรู้ใหม่ แต่เป็นการมอง ความรู้หรือปัญหาในทัศนะใหม่ ๆ (Phenix, 1958: 4) ความหมายในประการ นี้เองที่คนโดยมากเข้าใจกัน ดังที่มีค�ำกล่าวอยู่เสมอว่า ปรัชญาชีวิตของคนนั้น คนนี้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ปรัชญาการท�ำงานของนาย ก. เป็นอย่างนั้น นาย ข. อย่างนี้ เป็นต้น การมองปัญหานี้จ�ำเป็นจะต้องวิเคราะห์ตีความปัญหาข้อมูล ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง แต่บางคนก็อาจจะใช้ประสบการณ์และความคิดนึกของ ตนเองเท่านั้น ความเป็นนักปรัชญาในที่นี้จึงมักจะมองกันในแง่ที่ว่า ใครจะมี ความสามารถเข้าถึงปัญหาที่แท้จริงมากกว่ากัน ความหมายของปรัชญาในแนวทางของการมองปัญหานี้เองอาจจะ พิจารณาได้วาเป็นการใช้วชาปรัชญามาประยุกต์กอาจจะไม่ผดนัก เพราะปรัชญา ่ ิ ็ ิ ประยุกต์นนก็คอการน�ำแนวคิดหรือวิธการ รวมทังปัญหาพืนฐานทางปรัชญามา ั้ ื ี ้ ้ วิเคราะห์วชาต่าง ๆ ให้การท�ำความเข้าใจในวิชาต่าง ๆ ชัดเจนขึน เช่น ปรัชญา ิ ้ ศิลปะ ปรัชญาคณิตศาสตร์ ปรัชญาประวัติศาสตร์ เป็นต้น ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 5
  • 6. สาขาของปรัชญา ดังที่ได้กล่าวมาแต่ต้นบ้างแล้วว่า ปรัชญาปัจจุบันนั้นมุ่งที่การค้นหา ความจริงเป็นหลักส�ำคัญ เมือวิเคราะห์ความเป็นจริงนันแล้ว ก็วเิ คราะห์ตอไปว่า ่ ้ ่ เราจะรู้ความเป็นจริงนั้นได้อย่างไร และเราจะประพฤติตนอย่างไรจึงจะเหมาะ กับความเป็นจริงนั้น ๆ จากพื้นฐานของความจริงนี้เองท�ำให้เราสามารถแบ่ง สาขาของปรัชญาออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ที่นิยมกันได้เป็น 3 สาขาใหญ่ ๆ คือ 1. อภิปรัชญา (Metaphysics or Ontology) สาขาของปรัชญาในส่วนของอภิปรัชญานี้เกี่ยวข้องกับปัญหาและ ทฤษฎีของความเป็นจริง (Reality) เป็นความพยายามที่จะตอบค�ำถามและ หาความหมายของความจริงที่แท้ (Ultimate Reality) คืออะไร อะไรคือ ธรรมชาติของจักรวาล พื้นพิภพ และชีวิตมนุษย์ ชีวิตมนุษย์เป็นอิสระเองหรือ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่สูงกว่า (พระเจ้า) เป็นต้น นักปรัชญาแต่ละคนแต่ละกลุ่มของ ความคิดจะตอบปัญหานี้แตกต่างกันออกไป ฝ่ายหนึ่งมีความเชื่อว่า ธรรมชาติที่แท้จริงของคนนั้นคือจิต (Mind) สิ่งหรือส่วนอื่น ๆ ไม่แน่นอน แต่อีกฝ่ายหนึ่งมีความเห็นว่า สิ่งที่แท้จริงก็คือ สิ่งที่เราเห็น สัมผัสได้ (Material Organism) สิ่งที่อยู่นอกเหนือไม่ใช่สิ่งที่ แน่นอน แนวคิดทั้งสองนี้มีอิทธิพลต่อการศึกษามากดังจะได้กล่าวถึงอีกครั้ง หนึ่งในบทที่ 4 2. ทฤษฎีความรู้ (Epistemology) ปรัชญาสาขานี้บางทีก็เรียกกันว่าญาณวิทยา เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ปัญหาและทฤษฎีของความรู้ (Knowledge) เป็นความพยายามทีจะตอบค�ำถาม ่ 6 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
  • 7. และหาความหมายเกียวกับความรูในด้านต่าง ๆ เช่น ความรูทเราได้รบมานันมี ่ ้ ้ ี่ ั ้ ธรรมชาติอย่างไร เป็นความรู้ที่แท้จริงหรือเปล่า มีความรู้อะไรบ้างที่คนเราควร ศึกษา ความรู้ที่ได้นั้นมีแหล่งอยู่ที่ไหน และเราจะใช้เครื่องมืออะไรเพื่อให้ได้มา ซึ่งความรู้เหล่านั้น เป็นต้น แนวทาง 2 ทางที่พูดกันอยู่เสมอในเรื่องของทฤษฎีความรู้ก็คือ กลุ่ม แรกความรู้ได้มาจากและโดยวิธีประจักษนิยม (Empiricism) คือการสังเกต เก็บรวบรวม ทดสอบ และอาจจะทดลอง (Controlled experience) เพิ่มเติม ทีหลังได้อีก แต่อีกบางกลุ่มเป็นความรู้ที่ได้จากวิธีการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่วิธีการของ ประจักษนิยม เช่น การใช้เหตุผลหรือเหตุผลนิยม (Rationalist) การคิดขึ้น ได้เอง (Intuition) ผู้รู้บอกให้ (Authority) เป็นต้น (Kneller, 1964: 8-12; รัตนา ตันบุญเต็ก, ม.ป.ท. : 46-50) เหล่านี้เป็นความรู้ที่ถูกต้อง เหมาะสม และ เป็นจริงเพียงใด ทฤษฎีของความรู้ในลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้มีความส�ำคัญต่อ การศึกษาในแง่ของการให้ความรู้ ครูควรจะให้ความรู้แก่เด็กหรือไม่ ความรู้ที่ ให้ควรให้อะไร และให้อย่างไรจึงจะเกิดประโยชน์เต็มที่ 3. คุณวิทยา (Axiology) คุณวิทยาหรือบางทีเรียกกันว่าคุณค่านี้เกี่ยวพันโดยตรงกับปัญหา และทฤษฎีของคุณค่า (Values) เป็นความพยายามที่จะตอบค�ำถามและหา ความหมาย จุดเริ่มต้น และความแน่นอนของค่านิยมต่าง ๆ เช่น ค่านิยม อย่างไหนควรเป็นมาตรฐาน จะปฏิบัติตนอย่างไรให้สอดคล้องกับมาตรฐาน นั้น มาตรฐานนั้น ๆ เหมาะสมถูกต้องเพียงใด เป็นต้น โดยทวไป ปรชญาทางคณวทยานจะศกษา 3 ลกษณะ คอ จรยศาสตร์ ั่ ั ุ ิ ี้ ึ ั ื ิ (Ethics) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ข้อปฏิบัติระหว่างกัน ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 7
  • 8. ความถูกต้อง ความชัว ความดี เป็นต้น อย่างที่ 2 คือสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) ่ ศึกษาถึงเรื่องของความงามความสวย ที่เรากล่าวว่า ภาพภาพหนึ่งงามนั้น หมายความว่าอย่างไร ความงามที่แท้จริงคืออะไร และอย่างที่สามที่กล่าว ถึงกันในเรื่องของคุณวิทยาก็คือ ปรัชญาสังคมการเมือง (Sociopolitical Philosophy) ศึกษาว่า ชุมชนคืออะไร มีไว้เพื่ออะไร เมื่อใดประชาชนควร ท�ำตามค�ำสั่งรัฐบาล รัฐบาลแบบใดดีที่สุด เป็นต้น การพิจารณาในเรื่องของคุณค่ามักจะแบ่งเป็น 2 แนว แนวแรกถือว่า คุณค่าหรือค่านิยมมีค่าความสมบูรณ์แน่นอนเป็นคุณค่าอยู่ในตัวของสิ่งหรือ การกระท�ำนั้น ๆ (Instrinsic) ไม่เปลี่ยนแปลงและมีล�ำดับขั้นตอน ส่วนอีก แบบหนึ่งค่านิยมเป็นแต่เพียงเครื่องมือ (Instrumental) ของมนุษย์เปลี่ยนแปลง ได้ไม่คงที่ แล้วแต่ข้อตกลงของสังคม เป็นต้น แนวคิดนี้มีผลต่อการศึกษา อย่างมาก เพราะถ้ายึดค่านิยมใดก็จะอบรมคนไปแนวนั้น การประพฤติปฏิบัติ ในโรงเรียนอย่างใดควรเหมาะสม ถูกต้อง สาขาที่กล่าวมาทั้ง 3 ลักษณะนี้เป็นสาขาหลักที่นิยมกันในหมู่ ผู้ศึกษาทางปรัชญา แต่ในบางครั้งก็เพิ่มตรรกวิทยา (Logic) เข้าไว้ด้วย เพราะ ตรรกวิทยานั้นเป็นเครื่องมือ เป็นวิธีการคิดหาเหตุผลที่จะน�ำมาใช้กับปรัชญา ซึ่งมักจะแบ่งเป็นการอนุมาน (Deductive Logic) เป็นการอนุมานเอาจาก ข้อสรุปที่ถูกต้องเหมาะสมแล้วไปอธิบายข้อเท็จจริงปลีกย่อยอื่น ส่วนการ อุปมาน (Inductive Logic) นันเป็นการคิดหาเหตุผลด้วยการพิจารณาข้อเท็จจริง ้ ปลีกย่อยต่าง ๆ หลาย ๆ ชนิดแล้วสรุปไปหากฎเกณฑ์หรือหลักทัวไปของสิงนัน ่ ่ ้ 8 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น
  • 9. การมองปัญหาในปรัชญา ดังที่ได้กล่าวไว้ในเรื่องของความหมายของปรัชญาว่า ปรัชญาอาจ หมายถึงการมองปัญหาได้และเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปนั้น ในส่วนนี้จะได้เพิ่ม เตมวา ลกษณะการมองปญหาในแนวทางของปรชญาเปนอยางไร ซงเปนขอสรป ิ ่ ั ั ั ็ ่ ึ่ ็ ้ ุ โดยทั่วไป นักปรัชญาบางคนอาจจะเห็นด้วย บางคนไม่เห็นด้วย แต่ไม่ว่าจะ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยเพียงใด นักปรัชญาหรือนักปรัชญาการศึกษาก็มักจะ ใช้เสมอ คือ 1. มองอย่างวิพากษ์ (Critical and Reflective) คนโดยทั่วไป จะรับความเชื่อ แนวคิด หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสังคมไว้เสมอ แต่เขาจะ ไม่แสดงว่าเป็นปรัชญาขึ้นมา ถ้าหากไม่วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์สิ่งนั้น หรือ ไม่คิดโต้ตอบสิ่งนั้นให้มากขึ้นลึกซึ้งขึ้นต่อไป นักปรัชญาการศึกษาจะต้อง มองการศกษาอยางวเิ คราะห์ วจารณสง แนวคด การกระทำตาง ๆ ทางการศกษา ึ ่ ิ ์ ิ่ ิ � ่ ึ อยู่เสมอ โดยเหตุนี้ นักปรัชญาจึงมักจะอธิบายว่า ลักษณะส�ำคัญอันหนึ่งของ ปรัชญาก็คือ การวิพากษ์ (วิทย์ วิศทเวทย์, 2520 : 166) 2. มองเป็นแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concept) บุคคลทั่วไปโดย เฉพาะผทปฏบตงานประจำอยนนมกจะสนใจและเกยวของกบปญหาและเรองราว ู้ ี่ ิ ั ิ � ู่ ั้ ั ี่ ้ ั ั ื่ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน และมองปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเคยชิน และหาทางแก้ปัญหาเฉพาะหน้าแต่ละครั้งไป แต่นักปรัชญาจะไม่สนใจภาค ปฏิบัติเหล่านี้หรือสนใจน้อย นักปรัชญาจะมองเป็นแนวคิด และเป็นแนวคิดที่ ค่อนข้างจะต้องเข้าใจด้วยสติปัญญา (Abstract Concepts) เช่น คนทั่วไป จะสนใจเรื่องราคา เรื่องความต้องการ เรื่องแรงงาน เรื่องเงินเดือน ฯลฯ แต่นักปรัชญาจะสนใจเรื่องจุดมุ่งหมาย เรื่องประสบการณ์ เรื่องจิตใจ เรื่อง ธรรมชาติ เป็นต้น (Randall and Buchler, 1942: 4) ความรู้เกี่ยวกับปรัชญา 9
  • 10. 3. มองอย่างครอบคลุม (Comprehensive) การพิจารณาในทาง ปรัชญานั้น ควรจะครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอและมากพอ ปัญหาต่าง ๆ ทีเกิดขึนนั้นมีสาเหตุอะไรบ้าง สาเหตุไหนส�ำคัญมากน้อยแค่ไหน ่ ้ มีทางแก้ปัญหาได้กี่ทาง แต่ละทางเหมาะสม ไม่เหมาะสมอย่างไร นักปรัชญา ต้องมองครอบคลุมและเข้าใจอย่างเพียงพอ 4. มองอย่างชัดเจนหรือการท�ำให้กระจ่าง (Clarification) นกปรชญาหรอเนอหาของปรชญาเองกตามจะตองพจารณาอะไรชดเจนแจมแจง ั ั ื ื้ ั ็ ้ ิ ั ่ ้ ว่าหมายความอย่างไร ไม่มีความคลุมเครือที่ว่า เอกภาพของการศึกษานั้น หมายความวาอยางไร คนดคออะไร คณภาพคออะไร เหลานเี้ ปนสงทนกปรชญา ่ ่ ี ื ุ ื ่ ็ ิ่ ี่ ั ั โดยเฉพาะปรัชญาการศึกษาจะต้องมองให้ชัดเจนทั้งในแง่ของความคิดและ วิธีการ (Clarification of Ideas and Methods) ซึ่งจะต้องอาศัยการวิเคราะห์ วิจารณ์ก่อนเป็นเบื้องต้น 5. ตีความและประเมิน (Interpretation and Evaluation) นักปรัชญาหรือสิ่งที่ปรัชญาเกี่ยวข้องนั้นไม่เพียงแต่วิพากษ์เป็นแนวคิดและ ครอบคลุมเท่านัน ยังจะต้องตีความและประเมินออกมาด้วยว่าส�ำคัญ เหมาะสม ้ สอดคล้องเพียงใด โดยเหตุนี้ บางทีจึงมักจะเรียกปรัชญาว่าเป็นการตีความ หรือให้ค่าแก่ศาสตร์ทั้งหลาย (An Interpretation of Knowledge) และเป็น การตีความอย่างวิเคราะห์ (Critical Comment and Evaluation) ด้วยพร้อม กันไป 6. หาความหมายของประสบการณ์มนุษย์ (The Meaning of Human Experiences) ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ปัญหาอะไรในปรัชญาก็ตาม สิ่งที่หนีไม่พ้นในการมองหาและพิจารณากันในปรัชญาก็คือ ความหมายของ 10 ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น