SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ของไหล
วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม3 รหัสวิชา ว30203
ครูผู้สอน
นางสาวกมลชนก พกขุนทด
ความหนาแน่น (density) เป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งหาได้
จากปริมาณมวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร
เขียนเป็นสมการจะได้ ρ = 𝒎/𝑽
เมื่อ ρ คือ ความหนาแน่น (กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร)
m คือ มวลของสาร (กิโลกรัม)
V คือ ปริมาตรของสาร (ลูกบาศก์เมตร)
ความหนาแน่น (density)
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density) หรือ ความถ่วงจาเพาะ (specific gravity)
หมายถึง อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารต่อความหนาแน่นของน้า
ดังนั้น ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของสาร = ความหนาแน่นของสาร
ความหนาแน่นของน้า
หรือ ความถ่วงจาเพาะของสาร = ความหนาแน่นของสาร
ความหนาแน่นของน้า
และ ความหนาแน่นของสาร = ความถ่วงจาเพาะ × ความหนาแน่นของน้า
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density)
หากเรานาน้าใส่ในถุงแล้วปิดให้สนิท น้าจะมีแรงดันผนังของถุงดังรูป
และหากนาแรงดันที่มีหารด้วยพื้นที่ที่แรงนั้นกระทา ผลหารที่ได้จะเรียกว่า ความดัน (P)
นั่นคือ P =
F
A
เมื่อ P คือความดัน (นิวตัน/ตารางเมตร)
F คือแรงดัน (นิวตัน)
A คือพื้นที่ที่ถูกแรงดันนั้นกระทา (ตารางเมตร)
แรงดันและความดันของของเหลวใดๆ จะมีสมบัติเบื้องต้นได้แก่
1. มีทิศได้ทุกทิศทาง
2. มีทิศตั้งฉากกับผิวภาชนะที่สัมผัส
ถ้าเรานาของเหลวไปใส่ในภาชนะดังรูป แรงดันและความดันของของเหลวที่กระทาต่อผนังภาชนะ จะแบ่งได้ 2 ส่วน ได้แก่
1. แรงดันและความดันที่กดก้นภาชนะ
2. แรงดันและความดันที่ดันพื้นที่ด้านข้าง
ก. กรณีที่ภาชนะบรรจุของเหลวเป็นภาชนะปิด
แรงดันที่กดก้นภาชนะ = น้าหนักของของเหลวส่วนที่อยู่ในแนวตั้งฉากกับพื้นที่ก้นภาชนะนั้น
นั่นคือ Fก้น = mg
ความดันที่กดก้นภาชนะ จะหาค่าได้จากสมการ
Pก้น =
𝐹ก้น
𝐴ก้น
หรือ Pก้น = ρgh
แรงดันและความดันของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ก้นภาชนะ
Pก้น คือ ความดันที่กดก้นภาชนะ (นิวตัน/ตารางเมตร)
Fก้น คือ แรงดันที่กดก้นภาชนะ (นิวตัน)
Aก้น คือ พื้นที่ที่ก้นภาชนะ (ตารางเมตร)
ρ คือ ความหนาแน่นของของเหลว (กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร)
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (≈9.8 เมตร/วินาที2)
h คือความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงก้นภาชนะ (เมตร)
เมื่อพิจารณาจากสมการ Pก้น = ρgh จะได้ว่าสาหรับของเหลวชนิดหนึ่งๆ ความหนาแน่น (ρ)
และค่า g จะคงที่ ดังนั้นความดัน (P) จึงแปรผันตรงกับความลึก (h) อย่างเดียว ดังนั้นหากความลึก (h)
เท่ากันความดันย่อมเท่ากันอย่างแน่นอน
พิจารณาตัวอย่าง ภาชนะทั้ง 3 หากบรรจุของเหลวชนิดเดียวกันสูงเท่ากัน ความดันที่กดภาชนะทั้ง
3 ใบ จะเท่ากัน เพราะความดันจะขึ้นกับความดัน (h) อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับรูปร่างภาชนะ
ข. กรณีที่ภาชนะบรรจุของเหลวเป็นภาชนะเปิด
สาหรับของเหลวที่บรรจุอยู่ในภาชนะเปิดนั้น ความดันที่กระทาต่อพื้นที่ก้นภาชนะจะมี 2 อย่าง ได้แก่
1) ความดันเกจ (Pw) คือความดันที่เกิดจากน้าหนักของเหลว (หาจาก P = ρgh)
2) ความดันบรรยากาศ (Pa) คือความดันที่เกิดจากน้าหนักของอากาศที่กดทับผิวของเหลวลงมาซึ่งปกติ
แล้วความดันบรรยากาศ จะมีค่าประมาณ 1 × 105 นิวตัน/เมตร2 (Pascal)
ดังนั้น Pรวม = Pa + Pw
Pสัมบูรณ์ = Pa + ρgh
ความดันรวมของความดันเกจและความดันบรรยากาศ จะเรียก ความดันสัมบูรณ์
การหาค่าความดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ด้านข้างนั้น สามารถหาได้จากค่าเฉลี่ยของความดัน
ณ จุดบนสุดกับจุดต่าสุดของพื้นที่นั้น
นั่นคือ Pข้าง =
𝑃บนสุด+𝑃ล่างสุด
2
เมื่อ Pข้าง คือ ความดันที่ดันพื้นที่ด้านข้าง (นิวตัน/เมตร2)
Pบนสุด คือ ความดัน ณ จุดบนสุดของพื้นที่ (นิวตัน/เมตร2)
Pล่างสุด คือ ความดัน ณ จุดล่างสุดของพื้นที่ (นิวตัน/เมตร2)
แรงดันและความดันของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ด้านข้าง
นอกจากนี้ความดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ด้านข้างยังอาจหาได้จากสมการ
Pข้าง = ρghcm
สาหรับแรงดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ด้านข้าง สามารถหาค่าได้จาก
Fข้าง = Pข้างAข้าง
การหาความดันที่กระทาต่อพื้นด้านข้าง ไม่จาเป็นต้องคิดความดันบรรยากาศ(Pa)
เพราะความดันบรรยากาศจะมีทั้งภายในและภายนอกภาชนะ และจะเกิดการหักล้างกันไปหมด
เมื่อ Pข้าง คือ ความดันที่ดันพื้นที่ด้านข้าง (นิวตัน/เมตร2)
ρ คือ ความหนาแน่นของเหลว (กิโลกรัม/เมตร3)
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (≈9.8 เมตร/วินาที2)
hcm คือ ความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงจุดกึ่งกลางพื้นที่ด้านข้างนั้น (เมตร)
Fข้าง คือ แรงที่กระทาต่อพื้นที่ด้านข้าง (นิวตัน)
Aข้าง คือ พื้นที่ด้านข้างภาชนะ (เมตร2)
แมนอมิเตอร์ (manometer)
เป็นเครื่องมือวัดความดันของไหลชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย
หลอดแก้วรูปตัวยูมีของเหลวบรรจุอยู่ภายใน ปลายข้างหนึ่งเปิด
ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งจะต่อกับภาชนะบรรจุของไหล
หรือแก๊สที่ต้องการวัดความดัน ถ้ารู้ความแตกต่างของระดับของเหลวใน
หลอดแก้วรูปตัวยูทั้งสองข้างจะทาให้สามารถหาความดันของของไหลได้
เครื่องวัดความดัน
บารอมิเตอร์ปรอท (mercury barometer)
เป็นเครื่องมือสาหรับวัดวัดความดันบรรยากาศโดยตรงประกอบด้วย หลอดแก้วทรงกระบอก ยาว
ประมาณ 80 เซนติเมตร ปลายข้างหนึ่ง ภายในบรรจุด้วยปรอทจนเต็มแล้วคว่าลงในอ่างปรอทโดยไม่ให้อากาศ
เข้าในหลอดแล้วระดับปรอทในหลอดจะลดต่าลงมาเอง ปลายบนของหลอดจะเกิดเป็นสุญญากาศและความดันของ
ลาปรอทในหลอดจะมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศภายนอกพอดี
ที่ระดับน้าทะเล ความดัน 1 บรรยากาศ จะเท่ากับความดันปรอทซึ่งสูง 760 มิลลิเมตร
นั่นคือ 1 ความดันบรรยากาศ = ความดันปรอทสูง 760 มิลลิเมตร
= ρgh
= (13.6×103)(9.8)(0.76)
ดังนั้น ความดัน 1 บรรยากาศ (atm) = 1.01×105 นิวตัน/ตารางเมตร
กฎของพาสคัล กล่าวว่า “ ถ้ามีของไหล (ของเหลวหรือแก๊ส) บรรจุอยู่ในภาชนะที่อยู่นิ่ง
เมื่อให้ความดันเพิ่มแก่ของไหล ณ ตาแหน่งใดๆ ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไปทุกๆ จุดในของเหลวนั้น
กฎของพาสคัล
ความรู้จากกฎของพาสคัล ทาให้เราสามารถประดิษฐ์เครื่องผ่อนแรงที่ เรียกว่า
เครื่องอัดไฮดรอลิก ขึ้นมาได้ เครื่องมือนี้เป็นเครื่องที่ใช้ยกวัตถุที่มีน้าหนักมาก
เช่น แม่แรงยกรถ เป็นต้น เครื่องอัดไฮดรอลิก โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบหลัก
ได้แก่ ลูกสูบขนาดใหญ่ และลูกสูบขนาดเล็ก ซึ่งมีท่อเชื่อมต่อถึงกัน
ภายในจะบรรจุของเหลวไว้ ดังรูป เมื่อจะใช้ยกวัตถุต้องนาลูกสูบใหญ่
เป็นตัวยกวัตถุนั้นแล้วออกแรงกดที่วัตถุเล็กแล้วจะสามารถยกวัตถุหนักๆ
ได้โดยใช้แรงที่น้อยกว่า
การคานวณที่เกี่ยวกับเครื่องไฮดรอลิกนั้นจะอาศัยกฎของพาสคัล กล่าวคือ ความดันที่ลูกสูบใหญ่จะมีค่า
เท่ากับความดันที่ลูกสูบเล็ก เพราะอยู่ในของเหลวเดียวกัน
นั่นคือ Pลูกสูบใหญ่ = Pลูกสูบเล็ก (แทนค่า P =
แรงดัน
พื้นที่
)
จะได้
แรงดันลูกสูบใหญ่
พื้นที่หน้าตัดลูกสูบใหญ่
=
แรงดันลูกสูบเล็ก
พื้นที่หน้าตัดลูกสูบเล็ก
𝑊
𝐴
=
𝐹
𝑎
เมื่อ W = น้าหนักที่ยกได้
F = แรงที่ใช้กด
A = พื้นที่หน้าตัดกระบอกสูบใหญ่
a = พื้นที่หน้าตัดกระบอกสูบเล็ก
นอกจากนี้ยังจะได้อีกว่า
𝑊
𝑅2 =
𝐹
𝑟2 และ
𝑊
𝐷2 =
𝐹
𝑑2
เมื่อ R = รัศมีกระบอกสูบใหญ่
r = รัศมีกระบอกสูบเล็ก
D = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบใหญ่
d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบเล็ก
สาหรับการได้เปรียบเชิงกลและประสิทธิภาพเชิงกลของเครื่องอัดไฮดรอลิก
จะหาได้จาก
การได้เปรียบเชิงกลทางปฏิบัติ (M.A.ปฏิบัติ) = 𝐖
𝐅
การได้เปรียบเชิงกลทางทฤษฎี (M.A.ทฤษฎี) = 𝐀
𝐚
ประสิทธิภาพเชิงกล (Eff) = 𝐌.𝐀.ปฏิบัติ
𝐌.𝐀.ทฤษฎี
× 100% = 𝐖 𝐅 × 100%
𝐀 𝐚
จากรูป วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวจะถูกแรงดันของของเหลวกระทาในทุกทิศทาง
พิจารณาเฉพาะแนวดิ่ง แรง F2 จะมีค่ามากกว่า F1 เพราะจุดที่ F2 อยู่นั้น
มีความลึกมากกว่า มีความดันมากกว่า จึงทาให้ F2 › F1 ผลลัพธ์ (F2 - F1 )
จึงมีค่าไม่เป็นศูนย์ และมีทิศยกขึ้น แรงลัพธ์นี้เรียกว่า แรงพยุง
หลักของอาร์คีมีดีส
“แรงพยุงจะมีค่าเท่ากับ น้าหนักของเหลวซึ่งมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนจม”
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดิส
นั่นคือ แรงพยุง = น้าหนักของของเหลว
FB = mgของเหลว (แทนค่า m = ρv)
FB = ρของเหลวVชองเหลวg (แทนค่า Vของเหลว = Vวัตถุส่วนจม)
FB = ρของเหลวVวัตถุส่วนจม
เมื่อ FB คือ แรงพยุง (นิวตัน)
ρของเหลว คือ ความหนาแน่นของของเหลว (กิโลกรัม/เมตร3)
Vวัตถุส่วนจม คือ ปริมาตรของวัตถุส่วนจม (เมตร3)
แรงตึงผิว คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่ผิวของของเหลวซึ่งพยายามจะยึดผิวของของเหลวเอาไว้
ไม่ให้ผิวของเหลวแยกออกจากกัน
สมบัติของแรงตึงผิว
1.มีทิศทางขนานกับผิวของของเหลว
2.มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส
แรงตึงผิว
หากเรานาวัตถุเบา เช่น ห่วงวงกลมที่ทาจากลวดเส้นเล็กๆ ไปวางบนผิวของเหลว ต่อจากนั้นจึง
ออกแรงดึงหรือแรงกดต่อวัตถุนั้น การทดลองแบบนี้มีสิ่งที่ควรทราบเพิ่มเติมดังนี้
1.หากวัตถุถูกดึงขึ้นจากผิวของเหลว แรงตึงผิวจะมีทิศฉุดลง
2.หากวัตถุถูกกดลงจากผิวของเหลว แรงตึงผิวจะมีทิศต้านขึ้น
เราอาจหาค่าแรงตึงผิวได้จาก F = ϒL
เมื่อ ϒ คือความตึงผิวของของเหลว (นิวตัน/เมตร)
F คือแรงตึงผิว (นิวตัน)
L คือระยะที่วัตถุสัมผัสของเหลว (เมตร)
หากเรานาช้อนไปคนน้ากับนมข้นหวาน
เราจะพบว่าการคนนมข้นหวานจะต้องใช้แรงคนมากกว่า
ทั้งนี้เป็นเพราะว่านมข้นหวานมีความหนืดมากกว่าน้า
จึงทาให้นมข้นหวานมีแรงต้านการเคลื่อนที่ของช้อนมากกว่าน้า
แรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในของไหล
อันเกิดจากความหนืดของไหล เรียกว่า แรงหนืด(viscous force)
ความหนืด
ข้อน่าสนใจเกี่ยวกับความหนืดของของเหลว
1.) ของเหลวที่มีความหนืดน้อยจะไหลได้เร็วกว่าของเหลวที่มีความหนืดมาก
2.) ของเหลวที่มีความหนืดมากจะมีแรงต้านการคนมากกว่าของเหลวที่มีความหนืดน้อย
3.) หากนาวัตถุเล็กๆ หย่อนลงในของเหลว ในของเหลวที่มีความหนืดมากกว่าวัตถุจะเคลื่อนที่
ได้ช้ากว่าการเคลื่อนที่ในของเหลวที่มีความหนืดน้อย
4.) ปกติแล้ว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนืดของของเหลวจะลดลง
การทดลองหยอดลูกเหล็กกลมลงในของเหลว
หากเราทาการทดลองโดยนากระบอกตวงสูงประมาณ 50 เซนติเมตร
มาบรรจุของเหลว เช่น น้ามันพืชลงไป จากนั้นลองหย่อนลูกเหล็กกลมลงไป
จะพบว่า ช่วงแรก ลูกเหล็กจะจมลงไปโดยมีความเร่ง(a) เป็นบวก ทาให้ความเร็ว(v) ของการจมมีค่าเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้เป็นเพราะลูกเหล็กจะถูกแรงกระทา 3 แรงดังรูป และในช่วงแรกนี้
แรงหนืด + แรงพยุง < mg
ดังนั้น mg– (แรงหนืด + แรงพยุง) ≠ 0
นั่นคือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจึงจมลงด้วยความเร่งเป็นบวกดังกล่าว
ช่วงหลัง ความเร่ง(a)ของการเคลื่อนที่จะลดลงจนกลายเป็นศูนย์
ลูกเหล็กจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว(v)คงที่ ทั้งนี้เป็นเพราะวัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้น แรงหนืดจะมากขึ้น
สุดท้าย แรงหนืด + แรงพยุง = mg
ดังนั้น mg – (แรงหนืด + แรงพยุง) = 0
นั่นคือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ ความเร่งของการเคลื่อนที่จึงมีค่าเป็นศูนย์ด้วย ลูกเหล็ก
จึงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
สโตกส์ พบว่า เราสามารถหาแรงหนืดที่กระทาต่อวัตถุทรงกลมที่เคลื่อนที่ในของไหล ได้จาก
F = 6 𝝅ηrv
สาหรับความเร็วสุดท้ายของวัตถุทรงกลมสามารถหาค่าได้จาก V =
𝟐𝒓 𝟐
𝒈
𝟗η
(ρ วัตถุ - ρ ของเหลว )
เมื่อ F คือ แรงหนืดของของไหล (นิวตัน)
r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม (เมตร)
v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม (เมตร/วินาที)
η คือ ความหนืดของของไหล (พาสคัล.วินาที)
ρวัตถุ คือ ความหนาแน่นของวัตถุทรงกลม ( กิโลกรัม/เมตร3 )
ρ ของเหลว คือ ความหนาแน่นของของเหลว ( กิโลกรัม/เมตร3)
กฎของสโตกส์ (Sir George Stokes)
ของไหลในอุดมคติ ของไหล(ของเหลวหรือแก๊ส) ในอุดมคติ จะมีสมบัติดังนี้
1. ของไหลมีอัตราการไหลอย่างสม่าเสมอ หมายถึง ความเร็วของ ทุกๆ อนุภาค
ณ ตาแหน่งหนึ่งมีค่าเท่ากัน
2. ของเหลวมีการไหลโดยไม่หมุน
3. ของเหลวมีการไหลโดยที่ไม่แรงต้านเนื่องจากความหนืดของของไหล
4. ของไหลมีปริมาตรคงที่ ไม่สามารถอัดได้ ไม่ว่าจะไหลผ่านบริเวณใด ยังคงมีความหนาแน่นเท่าเดิม
พลศาสตร์ของไหล
ผลคูณระหว่างพื้นที่หน้าตัดซึ่งของไหลผ่านกับอัตราเร็วของของไหลที่ผ่านไม่ว่าจะเป็นตาแหน่งใดใน
หลอดการไหลมีค่าคงที่ ” ค่าคงที่นี้เรียก อัตราการไหล(Q)
นั่นคือ Q = Av หรือ Q =
𝒗
𝒕
(สมการความต่อเนื่อง)
เมื่อ Q คือ อัตราการไหล (เมตร3/วินาที)
A คือ พื้นที่หน้าตัด (เมตร2)
v คือ อัตราเร็วการไหล (เมตร/วินาที)
V คือ ปริมาตรของไหล (เมตร3)
t คือ เวลา (วินาที)
สมการความต่อเนื่อง
และเนื่องจาก อัตราการไหล(Q)ของการไหลหนึ่งๆมีค่าคง ดังนั้นหากเราให้ของไหลไหลผ่านท่อท่อหนึ่งดังรูป
กาหนดอัตราการไหล ณ จุดที่ 1 เป็น Q1 และ อัตราการไหล ณ จุดที่ 2 เป็น Q2 ดังรูป
จะได้ว่า 𝑸 𝟏 = 𝑸 𝟐 (แทนค่า Q = Av )
จะได้ 𝑨 𝟏 𝒗 𝟏 = 𝑨 𝟐 𝒗 𝟐
เมื่อ 𝑨 𝟏,𝑨 𝟐 คือ พื้นที่หน้าตัดจุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ
𝒗 𝟏,𝒗 𝟐 คือ ความเร็วของไหล ณ จุดที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลาดับ
หลักการแบร์นูลลี กล่าวว่า เมื่อของไหลเคลื่อนที่ในแนวระดับ
หากอัตราเร็วมีค่าเพิ่ม ความดันในของเหลวจะลดลง
และเมื่ออัตราเร็วลดลงความดันในของเหลวจะเพิ่มขึ้น”
หลักของแบร์นูลลี
สมการของแบร์นูลลี
เนื่องจาก “ ผลรวมความดัน พลังงานจลน์ต่อปริมาตรเเละพลังงานศักย์ต่อปริมาตรทุกๆจุดภายใน
ท่อที่ของไหล ไหลผ่านจะมีค่าคงที่
นั่นคือ P +
𝟏
𝟐
𝛒𝒗 𝟐 + ρgh = ค่าคงที่
และ P1+
𝟏
𝟐
𝛒𝐯 𝟐 + ρgh1 = P2+ 𝟏
𝟐
𝛒𝐯 𝟐 + ρgh2
เมื่อ 𝐏𝟏, 𝐏𝟐 คือ ความดันของเหลวในท่อ ณ จุดที่1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ
𝐕𝟏, 𝐕𝟐 คือ อัตราเร็วของไหล ณ จุดที่1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ
𝐡 𝟏, 𝐡 𝟐 คือ ความสูงจากพื้นถึงจุดศูนย์กลางท่อที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลาดับ
ρ คือ ความหนาแน่นของของเหลว

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

Similar to ของไหล (9)

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
3 3
3 33 3
3 3
 

ของไหล