SlideShare a Scribd company logo
สรุปประเภทของความดัน
1. ความดันเกจ (Gauge pressure)
𝑃𝑔= 𝜌𝑔ℎ
หรือ
𝑃𝑔= 𝑃 − 𝑃𝑎𝑖𝑟
2. ความดันสัมบูรณ์ของของเหลว
(Absolute pressure)
𝑃 = 𝑃𝑎𝑖𝑟 + 𝑃𝑔𝑎𝑢𝑔𝑒
= 𝑃𝑎𝑖𝑟 + 𝜌𝑔ℎ
ณ ผิวน้า
ความดัน ณ ต้าแหน่งหนึ่งในของเหลว
ความดันอากาศ
ความดัน ณ ต้าแหน่งหนึ่งในของเหลว
อาจกล่าวได้ว่า
ความดันเกจก็คือผลต่าง
ระหว่างความดันภายใน
ภาชนะกับความดัน
บรรยากาศ
ทบทวน
บารอมิเตอร์ (Barometer)
แบรอมิเตอร์ปรอท (หลอดแก้วคว่้าอยู่ในอ่างปรอท)
ใช้ส้าหรับวัดความดันบรรยากาศ
ค่าความดันที่อ่านได้เรียกว่า ความดันสัมบูรณ์
P1 คือ ความดันสูญญากาศ =0
P2 คือ ความดันบรรยากาศ
ρgh คือ ความดันเกจ
ทบทวน
จากนิยาม “ความดันสัมบูรณ์ที่จุดใดๆ ในของเหลวชนิด
เดียวกัน ซึ่งอยู่ในระดับเดียวกัน ย่อมเท่ากันเสมอ” ดังนัน
มานอร์มิเตอร์ (Manometer)
ทบทวน
พลังแห่งซ้ายเท่ากับขวา
ของเหลว 3 ชนิด อยู่ในสภาวะสมดุลในหลอดแก้วรูปตัวยู ดังรูป ความหนาแน่นของของเหลว
ชนิดที่หนึ่งและที่สองมีค่า 4 x 10³ และ 3 x 10³ kg/m³ ตามล้าดับ ความหนาแน่นของ
ของเหลวชนิดที่สามมีค่ากี่ kg/m³
1) 1.2 x 10³ 2) 1.4 x 10³ 3)1.6 x 10³ 4) 2.4 x 10³ ตัวอย่างโจทย์ 5
ทบทวน
ทบทวน
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว จะเอาแค่ความดันเกจมาคิดอย่างเดียว
จากนิยามของความดัน P = F/A
ดังนั้นถ้าพูดถึงแรงจะได้ว่า F = PA
( P ในที่นี้คือ Pเกจ นะ )
เมื่อผนังมีความสูง h จะต้องค้านวณความดัน P จากการเฉลี่ย
ประตูกันน้าแห่งหนึ่งยาว 100 เมตร ถ้าสามารถรับแรงดันทังหมดของน้า
ได้มากสุด 7.2 x 107 นิวตัน จงหาว่าระดับน้าเหนือประตูกันน้าสูงสุดเท่าไร
ที่ประตูกันน้าจะรับไว้ได้
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
ประตูน้าบานหนึ่งสูง 2 m ยาว 3 m น้าที่อยู่ด้านในประตูสูง 1 m และน้าที่
อยู่ด้านนอกประตูสูง 1.8 m จงหาว่าแรงดันที่ประตูกันน้าได้รับจะเป็นเท่าใด
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
แล้วถ้าผนังมันเอียงล่ะ??
เขื่อนแห่งหนึ่งยาว 80 เมตร พืนที่ผิวเขื่อนที่สัมผัสกับน้าเอียงท้ามุม 60 องศา
กับแนวราบโดยมีน้าอยู่สูง 5 เมตร จงหาแรงดันที่น้ากระท้าต่อเขื่อน
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
1.14 × 107
กฎของปาสคาล
Blaise Pascal
กฎของพาสคัล มีใจความสาคัญว่า
“ถ้าเพิ่มความดันให้กับของไหล ที่บรรจุ
ในภาชนะปิด ณ จุดใดๆ ความดันนั้น
จะส่งกระจายกันต่อไป ทาให้ทุกๆส่วน
ของของไหลได้รับความดันที่เพิ่มขึ้น
เท่ากันหมด”
เครื่องอัดไฮดรอลิก
เราเอาหลักการของพาสคัลมาประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องทุ่นแรง
นั่นคือ เครื่องอัดไฮโดรลิก
ข้อมูลเพิ่มเติม :
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/howstuff2/backhoe
-loader/backhoe-loaderthai.htm
แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพืนที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก
ถ้าต้องการให้แม่แรงนียกรถยนต์มวล 1800 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่
ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน (g = 10 m/s2) [300N]
เพื่อให้ลดทอนแรงกดไปอีกเราจึงเพิ่มคานกดให้กับลูกสูบเล็ก
ทบทวนความรู้เรื่องโมเมนต์
Σ𝑀ทวน = Σ𝑀ตาม
𝐹ทวน 𝑙 = 𝐹ตาม 𝐿
∗∗∗∗ (𝐹ทวน ก็คือแรงที่กดลูกสูบเล็ก) ∗∗∗∗
(สมมุติให้ 𝐹ทวน= 𝑓, 𝐹ตาม= 𝐹) จากความรู้ของเครื่องอัดไฮดรอลิกส์ จะได้
𝑓𝑙 = 𝐹𝐿
𝑓 = 𝐹
𝐿
𝑙
𝑊
𝐴
=
𝐹
𝑎
=
𝑓
𝑎
=
𝐹
𝐿
𝑙
𝑎
=
𝐹𝐿
𝑎𝑙
𝑊
𝐴
=
𝐹𝐿
𝑎𝑙
A a
𝑊
𝐴
=
𝐹
𝑎
(
𝐿
𝑙
)
พลังแห่งคานไฮดรอลิกส์
A a
การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage; M.A.)
คืออัตราส่วนระหว่าง แรงต้านทาน (W) กับแรงพยายาม (F)
แรงพยายาม (F) เป็นแรงภายนอกที่กระท้าบนวัตถุ เพื่อท้าให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง
แรงต้านทาน (W) เป็นแรงที่ต่อต้านการกระท้าของแรงภายนอก
𝑀. 𝐴. =
𝑊
𝐹
(ไม่มีหน่วย)
•การได้เปรียบเชิงกล =1 (W=F) ไม่ผ่อนแรง แต่อ้านวยความสะดวก
•การได้เปรียบเชิงกล >1 (W>F) ผ่อนแรง ได้เปรียบเชิงกล
แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพืนที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก
ยกรถยนต์มวล 1800 กิโลกรัมได้ จงหาค่าการได้เปรียบเชิงกลของลูกสูบนี
(g = 10 m/s2)
ดังนันลูกสูบนีมีค่าการได้เปรียบเชิงกลของลูกสูบเท่ากับ 60
ประสิทธิภาพ(Efficiency of Machine ; Eff)
ในความเป็นจริงเครื่องกลอาจสูญเสียงานไปเล็กน้อยเนื่องจากความเสียดทาน
ประสิทธิภาพเชิงกล เป็นปริมาณที่ได้จากการเปรียบเทียบความสามารถในการท้างาน ดังนี
𝑬𝒇𝒇 =
𝑾 𝒐𝒖𝒕
𝑾𝒊𝒏
× 𝟏𝟎𝟎%
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1luanrit
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
wiriya kosit
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
SunanthaIamprasert
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 

Similar to พลศาสตร์ของไหล

แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to พลศาสตร์ของไหล (8)

Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
9 2
9 29 2
9 2
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

พลศาสตร์ของไหล