SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
มวล หมายถึง จานวนเนื้อวัสดุ (เนื้อแท้ของวัสดุ) หรือ โมเลกุล ของวัสดุที่บรรจุอยู่ภายในวัสดุนั้น ๆ โดย
จานวนมวลของวัสดุจะมีจานวนที่แน่นอนและจะเท่ากันทุกสถานะ ไม่ว่าจะอยู่ในตาแหน่งไหนในจักรวาลในโลก ดาว
อังคารหรือดวงจันทร์
ค่าของวัสดุ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดของโลก แต่จะมีค่าเท่ากันในการหาทุกสถานที่ ถ้าวัสดุงานใดมี
จานวนมวลมาก ความแกร่งภายในเนื้อวัสดุงานนั้นย่อมมีมาก จะสามารถทนต่อแรงกระทาต่อวัสดุนั้นได้มากขึ้นด้วย มวล
จะมีผลต่อน้าหนักของวัสดุ แต่น้าหนักของวัสดุจะเป็นอุปสรรคต่อการทางาน เช่น การยก การขนย้าย การประกอบ แม้แต่
การเตรียมงาน แต่ถ้าน้าหนักวัสดุมาก ความแกร่งภายในสามารถทนต่อภาระแรงกระทาภายนอกย่อมมีมาก ฉะนั้นวัสดุงาน
ที่มีน้าหนักหรือมวลมาก จะมีผลต่องานอุตสาหกรรม การคานวณน้าหนักของวัสดุงาน ถ้าวัสดุงานนั้นเป็นไปตามมาตรฐาน
แล้ว ตารางการคานวณน้าหนักจะสามารถบอกจานวนน้าหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่ถ้าวัสดุงานนั้นไม่ได้มาตรฐาน
อาจจะคานวณหาได้จากมวลของวัสดุงานนั้นได้เช่นกัน
หน่วยวัดของมวล
มวลในระบบเมตริก จะมีรากฐานมาจาก กรัม แต่หน่วยที่เล็กและใหญ่กว่ารากฐาน เพื่อให้เหมาะสมกับงาน
มีดังนี้
10 มิลลิกรัม เป็น 1 เซนติกรัม
10 เซนติกรัม เป็น 1 เดซิกรัม
10 เดซิกรัม เป็น 1 กรัม
10 กรัม เป็น 1 เดคากรัม
10 เดคากรัม เป็น 1 เฮกโตกรัม
10 เฮกโตกรัม เป็น 1 กิโลกรัม
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
แต่ที่นิยมใช้คือ 1000 กรัม เป็น 1 กิโลกรัม และ 1000 กิโลกรัม เท่ากับ 1 ตัน
มวลในระบบเมตริก ใช้หน่วยวัดเป็น กรัม
มวลในระบบเอสไอ ใช้หน่วยวัดเป็น กิโลกรัม
มวลในระบบอังกฤษ ใช้หน่วยวัดเป็น สลัก (Slug)
มวลของวัสดุ สามารถได้จากความหนาแน่นของวัสดุดังนี้
ความหนาแน่น()ของสารใดย่อมเท่ากับจานวนมวลของสารนั้น ในหนึ่งหน่วยปริมาตร
ความหนาแน่น () = มวล (m)
ปริมาตร (V)
หรือ มวล = ปริมาตร (V)  ความหนาแน่น ()
 m = V  P
โดยที่ ถ้ามวลเป็นกรัม (g) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3
)
ถ้ามวลเป็นกิโลกรัมกรัม (kg) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3
)
ถ้ามวลเป็นตัน (ton) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เมตร (m3
)
เราสามารถพิจารณาความหนาแน่นของโลหะต่าง ๆ ได้ดังนี้
ตารางที่ 3.1 แสดงความหนาแน่นของโลหะต่าง ๆ
ธาตุ
ความหนาแน่น
(g/cc)
ธาตุ
ความหนาแน่น
(g/cc)
เหล็กเหนียว 7.85 น้า 1.0
เหล็กหล่อ 7.25 น้ามันเบนซิน 0.7
ทองแดง 8.9 ปรอท 13.6
ทองเหลือง 8.5 สังกะสี 7.1
ดีบุก 7.3 ตะกั่ว 11.3
นิกเกิล 8.9 อะลูมิเนียม 2.7
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
น้าหนัก หมายถึง จานวนมวลของวัสดุถูกแรงดึงดูดของโลก (อัตราเร่ง) กระทาต่อวัสดุนั้น ๆ น้าหนักขึ้นอยู่กับ
ความเร่งจากแรงดึงดูดของแต่ละสถานที่ที่วัสดุนั้นวางอยู่ เช่น วัสดุอยู่บนโลก น้าหนักวัสดุจะขึ้นอยู่กับความเร่งจากแรง
ดึงดูดของโลก ถ้าวัสดุนั้นวางอยู่บนดาวอังคาร น้าหนักวัสดุที่ดาวอังคารจะขึ้นอยู่กับ ความเร่งจากแรงดึงดูดของดาวอังคาร
วัสดุที่มีมวล (m) ปล่อยให้ตกอย่างเสรี วัสดุนั้นจะถูกแรงดึงดูดกระทาต่อวัสดุนั้น แรงดึงดูดนี้ คือ แรงที่เกิดจาก
ความโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัสดุมีค่าเปลี่ยนไปตามสถานที่ต่างๆ และมี ทิศทางเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลก ฉะนั้น น้าหนักของ
วัสดุแต่ละสถานที่จะมีค่าไม่เท่ากัน แรงโน้มถ่วงของโลกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ความเร็วเร่ง หรืออัตราเร่ง จะใช้ค่าเฉลี่ย 9.81
ม./ตารางวินาที เท่ากันหมด (ค่าจริง 9.80665 ม./ตารางวินาที)
หน่วยวัดน้าหนัก
น้าหนักของวัสดุในระบบเมตริก ซึ่งเป็นระบบเก่าที่กาหนดให้ความเร่งจากแรงดึงดูดทุกแห่ง
มีค่าเท่ากันหมด จึงกาหนดหน่วยวัดเป็นหน่วยเดียวกับหน่วยของมวล แต่เพื่อให้เข้าใจง่ายและไม่ให้เกิดความสับสน จึง
กาหนดอักษรไว้ เช่น กิโลกรัมน้าหนัก, กิโลกรัมมวลหรือกิโลกรัมแรง เป็นต้น
ระบบเอสไอ เป็นระบบที่ใช้ในปัจจุบัน เพื่อความเร่งจากแรงดึงดูดของโลกของแต่ละสถานที่ไม่เหมือนกัน
น้าหนักที่ได้จะมีค่าไม่เท่ากันด้วย
ระบบอังกฤษ ความเร่งจากแรงดึงดูดของโลก เฉลี่ยที่ 32.2 ฟุต/ตารางวินาที
น้าหนักของวัสดุ คือ แรงที่เกิดจากการที่โลกดึงดูดวัตถุให้เคลื่อนที่ตกลงไปด้วยความเร่งของมวลจานวนหนึ่ง
นั่นคือ F = ma
F = แรง (นิวตัน)
m = มวล (กิโลกรัม)
a = อัตราเร่ง (ม./ตารางวินาที)
g = 9.81 ม./ตารางวินาที
เมื่อเปรียบเทียบแรง 1 นิวตัน ในระบบเอสไอกับแรงกิโลกรัม ในระบบเมตริก แรงจะได้
1 กิโลกรัม (kg) = 9.81 นิวตัน (N)  10 นิวตัน (N)
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.32 จงหามวลและน้าหนักของแผ่นเหล็กหนา 3 มม. ยาว 244 ซม. กว้าง 122 ซม.
วิธีทา ต้องแปลงหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกัน โดยแปลงหน่วย มม. เป็น ซม. แล้วหารด้วย 1000 กรัม จะ
ออกมาเป็นกิโลกรัม
m = V  
ความหนาแน่น () ของเหล็ก = 7.85 กก./ดม3
m = 0.3  244  122  7.85
= 70103.64 กรัม
m =
1000
64.70103
 มวลของแผ่นเหล็ก = 70.10 กิโลกรัม ตอบ
ต้องการหาน้าหนักของชิ้นงาน
จาก น้าหนัก = m  g
= 70.10  9.81
 น้าหนักของแผ่นเหล็ก = 687.68 นิวตัน ตอบ
ตัวอย่างที่ 3.33 จงหาน้าหนักของชิ้นงาน เมื่อชิ้นงานเป็นเหล็กเหนียว โดยชิ้นงานมีปริมาตร 32.4 ดม.3
วิธีทา จากตาราง เหล็กเหนียว มีความหนาแน่น () = 7.85 กก./ดม.3
มวล (m) = V  
= 32.4  7.85
= 254.34 กิโลกรัม
น้าหนัก = m  g
= 254.34  9.81 นิวตัน
= 2495 นิวตัน
= 2.459 กิโลนิวตัน
 มวลของเหล็กเหนียว = 254.34 กิโลกรัม น้าหนักของเหล็ก
เหนียว = 2.495 กิโลนิวตัน
ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.34 งานชิ้นหนึ่งทาด้วยวัสดุที่เป็นเหล็กเหนียว st.37 มีความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโต 25 มม. ยาว 100
มม. อยากทราบว่างานชิ้นนี้มีน้าหนักกี่กิโลกรัม.
วิธีทา จากตาราง ค่าความหนาแน่นของเหล็ก / st.37 = 7.85 กก./ดม.3
หาค่า V = 
4
D2
π
แทนค่า V =
4
1002514.3 2

V = 49062.5 มม.3
ปริมาตรของเหล็กเหนียว = 49062.5 มม.3
หาค่า m = V  
แทนค่า m = 3
100
85.75.49062 
= 0.385 กิโลกรัม
 มวลของเหล็กเหนียว = 0.385 กิโลกรัม
หาค่า W = m  g
แทนค่า W = 0.385  9.81 นิวตัน
W = 377 นิวตัน
 น้าหนักของเหล็ก = 377 นิวตัน ตอบ.
หมายเหตุ ค่าความหนาแน่นของเหล็ก st.37 = 7.85 กก./ดม.3
ปริมาตรจึงต้อง หารด้วย 1003
เพื่อ
ทาให้ปริมาตรเป็นหน่วยเดียวกันกับความหนาแน่น ลบ.มม. (มม3
)
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
การหาน้าหนักโลหะรูปพรรณต่าง ๆ
โลหะรูปพรรณหรือโลหะที่มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น เส้น ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดเป็นมาตรฐาน และสม่าเสมอตลอด
เส้น เช่น เหล็กตัวยูเหล็กแผ่นเรียบและเหล็กเพลากลม เราสามารถหาค่ามวลของโลหะได้โดยใช้ตาราง ซึ่งแสดงจานวน
มวลของเหล็กต่อความยาว 1 เมตร หรือต่อตารางพื้นที่ทาเป็นเหล็กแผ่น
เมื่อต้องการหาจานวนมวลทั้งหมดของโลหะรูปพรรณแต่ละชิ้น ให้นาความยาวของโลหะรูปพรรณคูณกับค่าที่
อ่านได้จากตาราง
จานวนมวล = ความยาว  ค่าจากตาราง (กก./ม.)
ในกรณีที่โลหะรูปพรรณไม่ใช่เหล็ก เช่น ทองแดง ทองเหลือง หรืออลูมิเนียม ซึ่งมีความหนาแน่นต่างจาก
เหล็ก เมื่อต้องการหาจานวนมวลก็ให้คูณ จานวนมวลของเหล็กที่มีขนาดเท่ากันด้วยค่าคงที่ (k)
K =  โลหะอื่น หรือ (ความหนาแน่นของโละหะอื่น)
 เหล็ก (ความหนาแน่นของเหล็ก)
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.38 จงหาน้าหนักของแท่งทองแดงขนาด 8 มม. และ 25 มม. ยาว 6 ม.
วิธีทา ต้องแปลงหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกัน โดยแปลงหน่วย มม. เป็น ซม. แล้วหารด้วย 1000 กรัม จะ
ออกมาเป็น กิโลกรัม
m = V  
ความหนาแน่น () ของเหล็ก = 7.85 กก./ดม.3
m = 8  25 7.85
m = 1570 ก.
m =
1000
1570
กก.
m = 1.57 กก.
 มวลของเหล็ก = 1.57 กก.
มวลทั้งหมดของเหล็ก = ความยาว  ค่าจากตาราง (3.1)
= 6  1.57
= 9.42 กก.
มวลของทองแดง = มวลของเหล็ก  K
= 9.42   ทองแดง
 เหล็ก
= 9.42 
85.7
9.8
= 10.68 กก.
น้าหนักของทองแดง (W) = m  g
W = 10.68  9.81 นิวตัน
 น้าหนักของทองแดง = 104.77 นิวตัน ตอบ

More Related Content

What's hot

แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำPattanachai Jai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)rutchadaphun123
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 

What's hot (20)

แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Viewers also liked (11)

5 1
5 15 1
5 1
 
1 4
1 41 4
1 4
 
2 1
2 12 1
2 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
4 1
4 14 1
4 1
 
Ppt 02-flowchart
Ppt 02-flowchartPpt 02-flowchart
Ppt 02-flowchart
 
1 1 2
1 1 21 1 2
1 1 2
 
3 2
3 23 2
3 2
 
5 2
5 25 2
5 2
 
3 1
3 13 1
3 1
 
7 1
7 17 1
7 1
 

Similar to 3 3

บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 sugaeang
 

Similar to 3 3 (20)

0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 
9 1
9 19 1
9 1
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
123
123123
123
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

3 3

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ มวล หมายถึง จานวนเนื้อวัสดุ (เนื้อแท้ของวัสดุ) หรือ โมเลกุล ของวัสดุที่บรรจุอยู่ภายในวัสดุนั้น ๆ โดย จานวนมวลของวัสดุจะมีจานวนที่แน่นอนและจะเท่ากันทุกสถานะ ไม่ว่าจะอยู่ในตาแหน่งไหนในจักรวาลในโลก ดาว อังคารหรือดวงจันทร์ ค่าของวัสดุ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดของโลก แต่จะมีค่าเท่ากันในการหาทุกสถานที่ ถ้าวัสดุงานใดมี จานวนมวลมาก ความแกร่งภายในเนื้อวัสดุงานนั้นย่อมมีมาก จะสามารถทนต่อแรงกระทาต่อวัสดุนั้นได้มากขึ้นด้วย มวล จะมีผลต่อน้าหนักของวัสดุ แต่น้าหนักของวัสดุจะเป็นอุปสรรคต่อการทางาน เช่น การยก การขนย้าย การประกอบ แม้แต่ การเตรียมงาน แต่ถ้าน้าหนักวัสดุมาก ความแกร่งภายในสามารถทนต่อภาระแรงกระทาภายนอกย่อมมีมาก ฉะนั้นวัสดุงาน ที่มีน้าหนักหรือมวลมาก จะมีผลต่องานอุตสาหกรรม การคานวณน้าหนักของวัสดุงาน ถ้าวัสดุงานนั้นเป็นไปตามมาตรฐาน แล้ว ตารางการคานวณน้าหนักจะสามารถบอกจานวนน้าหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่ถ้าวัสดุงานนั้นไม่ได้มาตรฐาน อาจจะคานวณหาได้จากมวลของวัสดุงานนั้นได้เช่นกัน หน่วยวัดของมวล มวลในระบบเมตริก จะมีรากฐานมาจาก กรัม แต่หน่วยที่เล็กและใหญ่กว่ารากฐาน เพื่อให้เหมาะสมกับงาน มีดังนี้ 10 มิลลิกรัม เป็น 1 เซนติกรัม 10 เซนติกรัม เป็น 1 เดซิกรัม 10 เดซิกรัม เป็น 1 กรัม 10 กรัม เป็น 1 เดคากรัม 10 เดคากรัม เป็น 1 เฮกโตกรัม 10 เฮกโตกรัม เป็น 1 กิโลกรัม
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน แต่ที่นิยมใช้คือ 1000 กรัม เป็น 1 กิโลกรัม และ 1000 กิโลกรัม เท่ากับ 1 ตัน มวลในระบบเมตริก ใช้หน่วยวัดเป็น กรัม มวลในระบบเอสไอ ใช้หน่วยวัดเป็น กิโลกรัม มวลในระบบอังกฤษ ใช้หน่วยวัดเป็น สลัก (Slug) มวลของวัสดุ สามารถได้จากความหนาแน่นของวัสดุดังนี้ ความหนาแน่น()ของสารใดย่อมเท่ากับจานวนมวลของสารนั้น ในหนึ่งหน่วยปริมาตร ความหนาแน่น () = มวล (m) ปริมาตร (V) หรือ มวล = ปริมาตร (V)  ความหนาแน่น ()  m = V  P โดยที่ ถ้ามวลเป็นกรัม (g) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3 ) ถ้ามวลเป็นกิโลกรัมกรัม (kg) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3 ) ถ้ามวลเป็นตัน (ton) ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เมตร (m3 ) เราสามารถพิจารณาความหนาแน่นของโลหะต่าง ๆ ได้ดังนี้ ตารางที่ 3.1 แสดงความหนาแน่นของโลหะต่าง ๆ ธาตุ ความหนาแน่น (g/cc) ธาตุ ความหนาแน่น (g/cc) เหล็กเหนียว 7.85 น้า 1.0 เหล็กหล่อ 7.25 น้ามันเบนซิน 0.7 ทองแดง 8.9 ปรอท 13.6 ทองเหลือง 8.5 สังกะสี 7.1 ดีบุก 7.3 ตะกั่ว 11.3 นิกเกิล 8.9 อะลูมิเนียม 2.7
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน น้าหนัก หมายถึง จานวนมวลของวัสดุถูกแรงดึงดูดของโลก (อัตราเร่ง) กระทาต่อวัสดุนั้น ๆ น้าหนักขึ้นอยู่กับ ความเร่งจากแรงดึงดูดของแต่ละสถานที่ที่วัสดุนั้นวางอยู่ เช่น วัสดุอยู่บนโลก น้าหนักวัสดุจะขึ้นอยู่กับความเร่งจากแรง ดึงดูดของโลก ถ้าวัสดุนั้นวางอยู่บนดาวอังคาร น้าหนักวัสดุที่ดาวอังคารจะขึ้นอยู่กับ ความเร่งจากแรงดึงดูดของดาวอังคาร วัสดุที่มีมวล (m) ปล่อยให้ตกอย่างเสรี วัสดุนั้นจะถูกแรงดึงดูดกระทาต่อวัสดุนั้น แรงดึงดูดนี้ คือ แรงที่เกิดจาก ความโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัสดุมีค่าเปลี่ยนไปตามสถานที่ต่างๆ และมี ทิศทางเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลก ฉะนั้น น้าหนักของ วัสดุแต่ละสถานที่จะมีค่าไม่เท่ากัน แรงโน้มถ่วงของโลกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ความเร็วเร่ง หรืออัตราเร่ง จะใช้ค่าเฉลี่ย 9.81 ม./ตารางวินาที เท่ากันหมด (ค่าจริง 9.80665 ม./ตารางวินาที) หน่วยวัดน้าหนัก น้าหนักของวัสดุในระบบเมตริก ซึ่งเป็นระบบเก่าที่กาหนดให้ความเร่งจากแรงดึงดูดทุกแห่ง มีค่าเท่ากันหมด จึงกาหนดหน่วยวัดเป็นหน่วยเดียวกับหน่วยของมวล แต่เพื่อให้เข้าใจง่ายและไม่ให้เกิดความสับสน จึง กาหนดอักษรไว้ เช่น กิโลกรัมน้าหนัก, กิโลกรัมมวลหรือกิโลกรัมแรง เป็นต้น ระบบเอสไอ เป็นระบบที่ใช้ในปัจจุบัน เพื่อความเร่งจากแรงดึงดูดของโลกของแต่ละสถานที่ไม่เหมือนกัน น้าหนักที่ได้จะมีค่าไม่เท่ากันด้วย ระบบอังกฤษ ความเร่งจากแรงดึงดูดของโลก เฉลี่ยที่ 32.2 ฟุต/ตารางวินาที น้าหนักของวัสดุ คือ แรงที่เกิดจากการที่โลกดึงดูดวัตถุให้เคลื่อนที่ตกลงไปด้วยความเร่งของมวลจานวนหนึ่ง นั่นคือ F = ma F = แรง (นิวตัน) m = มวล (กิโลกรัม) a = อัตราเร่ง (ม./ตารางวินาที) g = 9.81 ม./ตารางวินาที เมื่อเปรียบเทียบแรง 1 นิวตัน ในระบบเอสไอกับแรงกิโลกรัม ในระบบเมตริก แรงจะได้ 1 กิโลกรัม (kg) = 9.81 นิวตัน (N)  10 นิวตัน (N)
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.32 จงหามวลและน้าหนักของแผ่นเหล็กหนา 3 มม. ยาว 244 ซม. กว้าง 122 ซม. วิธีทา ต้องแปลงหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกัน โดยแปลงหน่วย มม. เป็น ซม. แล้วหารด้วย 1000 กรัม จะ ออกมาเป็นกิโลกรัม m = V   ความหนาแน่น () ของเหล็ก = 7.85 กก./ดม3 m = 0.3  244  122  7.85 = 70103.64 กรัม m = 1000 64.70103  มวลของแผ่นเหล็ก = 70.10 กิโลกรัม ตอบ ต้องการหาน้าหนักของชิ้นงาน จาก น้าหนัก = m  g = 70.10  9.81  น้าหนักของแผ่นเหล็ก = 687.68 นิวตัน ตอบ ตัวอย่างที่ 3.33 จงหาน้าหนักของชิ้นงาน เมื่อชิ้นงานเป็นเหล็กเหนียว โดยชิ้นงานมีปริมาตร 32.4 ดม.3 วิธีทา จากตาราง เหล็กเหนียว มีความหนาแน่น () = 7.85 กก./ดม.3 มวล (m) = V   = 32.4  7.85 = 254.34 กิโลกรัม น้าหนัก = m  g = 254.34  9.81 นิวตัน = 2495 นิวตัน = 2.459 กิโลนิวตัน  มวลของเหล็กเหนียว = 254.34 กิโลกรัม น้าหนักของเหล็ก เหนียว = 2.495 กิโลนิวตัน ตอบ
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.34 งานชิ้นหนึ่งทาด้วยวัสดุที่เป็นเหล็กเหนียว st.37 มีความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโต 25 มม. ยาว 100 มม. อยากทราบว่างานชิ้นนี้มีน้าหนักกี่กิโลกรัม. วิธีทา จากตาราง ค่าความหนาแน่นของเหล็ก / st.37 = 7.85 กก./ดม.3 หาค่า V =  4 D2 π แทนค่า V = 4 1002514.3 2  V = 49062.5 มม.3 ปริมาตรของเหล็กเหนียว = 49062.5 มม.3 หาค่า m = V   แทนค่า m = 3 100 85.75.49062  = 0.385 กิโลกรัม  มวลของเหล็กเหนียว = 0.385 กิโลกรัม หาค่า W = m  g แทนค่า W = 0.385  9.81 นิวตัน W = 377 นิวตัน  น้าหนักของเหล็ก = 377 นิวตัน ตอบ. หมายเหตุ ค่าความหนาแน่นของเหล็ก st.37 = 7.85 กก./ดม.3 ปริมาตรจึงต้อง หารด้วย 1003 เพื่อ ทาให้ปริมาตรเป็นหน่วยเดียวกันกับความหนาแน่น ลบ.มม. (มม3 )
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน การหาน้าหนักโลหะรูปพรรณต่าง ๆ โลหะรูปพรรณหรือโลหะที่มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น เส้น ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดเป็นมาตรฐาน และสม่าเสมอตลอด เส้น เช่น เหล็กตัวยูเหล็กแผ่นเรียบและเหล็กเพลากลม เราสามารถหาค่ามวลของโลหะได้โดยใช้ตาราง ซึ่งแสดงจานวน มวลของเหล็กต่อความยาว 1 เมตร หรือต่อตารางพื้นที่ทาเป็นเหล็กแผ่น เมื่อต้องการหาจานวนมวลทั้งหมดของโลหะรูปพรรณแต่ละชิ้น ให้นาความยาวของโลหะรูปพรรณคูณกับค่าที่ อ่านได้จากตาราง จานวนมวล = ความยาว  ค่าจากตาราง (กก./ม.) ในกรณีที่โลหะรูปพรรณไม่ใช่เหล็ก เช่น ทองแดง ทองเหลือง หรืออลูมิเนียม ซึ่งมีความหนาแน่นต่างจาก เหล็ก เมื่อต้องการหาจานวนมวลก็ให้คูณ จานวนมวลของเหล็กที่มีขนาดเท่ากันด้วยค่าคงที่ (k) K =  โลหะอื่น หรือ (ความหนาแน่นของโละหะอื่น)  เหล็ก (ความหนาแน่นของเหล็ก)
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.3 มวลและน้าหนักของวัสดุ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.38 จงหาน้าหนักของแท่งทองแดงขนาด 8 มม. และ 25 มม. ยาว 6 ม. วิธีทา ต้องแปลงหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกัน โดยแปลงหน่วย มม. เป็น ซม. แล้วหารด้วย 1000 กรัม จะ ออกมาเป็น กิโลกรัม m = V   ความหนาแน่น () ของเหล็ก = 7.85 กก./ดม.3 m = 8  25 7.85 m = 1570 ก. m = 1000 1570 กก. m = 1.57 กก.  มวลของเหล็ก = 1.57 กก. มวลทั้งหมดของเหล็ก = ความยาว  ค่าจากตาราง (3.1) = 6  1.57 = 9.42 กก. มวลของทองแดง = มวลของเหล็ก  K = 9.42   ทองแดง  เหล็ก = 9.42  85.7 9.8 = 10.68 กก. น้าหนักของทองแดง (W) = m  g W = 10.68  9.81 นิวตัน  น้าหนักของทองแดง = 104.77 นิวตัน ตอบ