SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง หลักการทางาน บทบาท และอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ ม.5/3 เลขที่ 14
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
ก
คานา
คานารายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาหาความรู้ที่ได้จากเรื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหา
เกี่ยวกับ หลักการทางาน บทบาท และอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราสามารถนาความรู้
เหล่านี้มาประยุกต์ใช้กับการทางานของเราได้
ข้าพเจ้าได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงการทางานที่
เป็นระบบๆ ของคอมพิวเตอร์ และข้าพเจ้าขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ให้จัดทา
รายงาน และให้แนวทางการศึกษา และข้าพเจ้าหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้และ เป็น
ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน
นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ ม.5/3 เลขที่ 14
ข
สารบัญ
เนื้อหา
คำนำ ............................................................................................................................................. ก
สำรบัญ........................................................................................................................................... ข
สำรบัญภำพ......................................................................................................................................ค
อุปกรณ์พื้นฐำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................. 1
– Keyboard (คีย์บอร์ด)................................................................................................................. 1
– Mouse (เมำส์) ......................................................................................................................... 2
– Scanner (สแกนเนอร์) ................................................................................................................. 2
– Webcam (เว็บแคม)................................................................................................................... 3
– Microphone (ไมโครโฟน)........................................................................................................... 4
– Touch screen (ทัชสกรีน)........................................................................................................... 4
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) ................................................................................ 5
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) ............................................................................................................ 5
– จอภำพ (Monitor)..................................................................................................................... 6
– อุปกรณ์ฉำยภำพ (Projector)......................................................................................................... 6
– อุปกรณ์เสียง (Audio Output) ...................................................................................................... 7
3.2) หน่วยแสดงผลถำวร (Hard Copy) ................................................................................................... 7
– เครื่องพิมพ์ (Printer)................................................................................................................... 7
– เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ............................................................................................................ 8
4.หน่วยควำมจำ (Memory Unit) ........................................................................................................ 8
หลักกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................12
คุณลักษณะสำคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 4 ประกำร คือ................................................................................12
กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................13
บทบำทของคอมพิวเตอร์ ........................................................................................................................14
บรรณำนุกรม ....................................................................................................................................18
ค
สารบัญภาพ
ภำพที่ 1........................................................................................................................................... 2
ภำพที่ 2........................................................................................................................................... 2
ภำพที่ 3........................................................................................................................................... 3
ภำพที่ 4........................................................................................................................................... 3
ภำพที่ 5........................................................................................................................................... 4
ภำพที่ 6........................................................................................................................................... 4
ภำพที่ 7........................................................................................................................................... 5
ภำพที่ 8........................................................................................................................................... 6
ภำพที่ 9........................................................................................................................................... 6
ภำพที่ 10 ......................................................................................................................................... 7
ภำพที่ 11 ......................................................................................................................................... 7
ภำพที่ 12 ......................................................................................................................................... 8
ภำพที่ 13 ......................................................................................................................................... 9
ภำพที่ 14 ......................................................................................................................................... 9
ภำพที่ 15 ........................................................................................................................................10
ภำพที่ 16 ........................................................................................................................................10
ภำพที่ 17 ........................................................................................................................................11
ภำพที่ 18 ........................................................................................................................................11
ภำพที่ 19 ........................................................................................................................................13
ภาพที่ 20.........................................................................................................................................15
ภาพที่ 21.........................................................................................................................................15
ภาพที่ 22.........................................................................................................................................15
ภาพที่ 23.........................................................................................................................................15
ภาพที่ 24.........................................................................................................................................16
ภาพที่ 25.........................................................................................................................................16
ภาพที่ 26.........................................................................................................................................16
ภาพที่ 27.........................................................................................................................................16
ภาพที่ 28.........................................................................................................................................17
ภาพที่ 29.........................................................................................................................................17
ภำพที่ 30.......................................................................................................................................17
1
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางาน
พื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
4.หน่วยความจา (Memory Unit)
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็น
ประเภทต่างๆ ได้ดังนี้
– Keyboard (คีย์บอร์ด)
Keyboard เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น
ปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุก
เครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทาการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์
แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มี
แป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น การวาง
ตาแหน่งแป้นอักขระ จะเป็นไปตามมาตรฐานของระบบพิมพ์สัมผัสของเครื่องพิมพ์ดีด ที่มีการ
ใช้แป้นยกแคร่ (shift) เพื่อทาให้สามารถใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก
ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษรที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต กล่าวคือ
เมื่อมีการกดแป้นพิมพ์แผงแป้นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรือ 8 บิต นี้เข้าไปในระบบ
คอมพิวเตอร์
2
ภาพที่ 1
– Mouse (เมาส์)
Mouse เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทางาน โดยทั่วไปจะ
เป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสาหรับใช้งานเมื่อ
ต้องเลือก หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้2 แบบ ได้แก่ 9 Pin,
Serial Port และ PS/2 (Personal System Version2)
ภาพที่ 2
– Scanner (สแกนเนอร์)
สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็น
ดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ภาพนั้นอาจจะ
เป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ
3
ภาพที่ 3
– Webcam (เว็บแคม)
เว็บแคมหรือชื่อเรียกเต็มๆว่า Web Camera (เว็บแคเมรา) แต่ในบางครั้งก็มีคนเรียกว่า
Video Camera หรือ Video Conference เว็บแคมเป็นอุปกรณ์อินพุตที่ สามารถจับ
ภาพเคลื่อนไหวของเราไปปรากฏในหน้าจอมอนิเตอร์ และสามารถส่งภาพเคลื่อนไหวนี้ผ่าน
ระบบเครือข่ายเพื่อให้คนอีกฟากหนึ่งสามารถเห็นตัวเราเคลื่อนไหว ได้เหมือนอยู่ต่อหน้า ถือว่า
เป็นอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อีกตัวหนึ่ง และมีความจาเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ
ภาพที่ 4
4
– Microphone (ไมโครโฟน)
ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทาการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลใน
เครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็ก
เป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟนจะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก
จึงทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้
รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง
ภาพที่ 5
– Touch screen (ทัชสกรีน)
ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผล
ข้อมูล และอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มักนาไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์
สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นานิ้วหรือ
ใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา แตะ/กดลงบนตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ
ภาพที่ 6
5
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญ
มากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์
อินพุต ตามชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผล
กลางนั้นประกอบไปด้วย
1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
2. หน่วยควบคุม (Control Unit)
3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
ภาพที่ 7
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท
3.1) หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบ
ในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้
ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง
เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่
6
– จอภาพ (Monitor)
ภาพที่ 8
– อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
ภาพที่ 9
7
– อุปกรณ์เสียง (Audio Output)
ภาพที่ 10
3.2) หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจับต้อง
และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง
ๆ หรือให้ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้อุปกรณ์ที่ใช้เช่น
– เครื่องพิมพ์ (Printer)
ภาพที่ 11
8
– เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
ภาพที่ 12
4.หน่วยความจา (Memory Unit)
หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับ
ข้อมูล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผล และเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้
4.1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่งออกได้
เป็น 2 ประเภท คือ
4.1.1) หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory – ROM) เป็น
หน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์
เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้(อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และ
9
พร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
ต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile)
โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic
Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บ
โปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน
เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น
ภาพที่ 13
4.1.2) หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้(Random Access Memory – RAM) เป็น
หน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้ อนุญาตให้เขียน
และอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูล
ชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทาตามลาดับ
ก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว
ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรม
ที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจาก
หน่วยความจาชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
ภาพที่ 14
10
4.2) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
สามารถแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้4 ประเภท ดังนี้
4.2.1) แบบจานแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็นลักษณะของจานแม่เหล็ก
สาหรับบันทึกข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความนิยมและใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์
ภาพที่ 15
4.2.2) แบบแสง เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน โดยใช้
หลักการทางานของแสง การจัดการข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็ก ต่างกันที่การแบ่งจะเป็น
รูปก้นหอย และเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก ที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันดี
เช่น CD , DVD
ภาพที่ 16
11
4.2.3) แบบเทป เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมากและเข้าถึง
ข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมาหลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT
และ QIC เป็นต้นปัจจุบันไม่ค่อยถือเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ภาพที่ 17
4.2.4) แบบอื่นๆ เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทั่วไปในปัจจุบัน มีชื่อเรียก
แตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive , Handy Drive เป็นต้น อีกชนิดคือ Memory
Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้องดิจิตอลแบบพกพา
ภาพที่ 18
12
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า Computer ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึง เครื่อง
คานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ
เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้
ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจาตัว
วิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด
ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึง เครื่องคานวณ
อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่าง
ต่อเนื่องและอัตโนมัติ แต่ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความ
ของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือน
สมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์"
คุณลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 4 ประการ คือ
1. ทางานโดยอัตโนมัติ ถ้าสังเกตการทางานของคอมพิวเตอร์ จะพบว่า อุปกรณ์ทุกอย่างของ
คอมพิวเตอร์ทางานได้เองโดยอัตโนมัติ โดยที่คนไม่ได้เข้าไปควบคุม ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน
ข้อมูล การคานวณ หรือการพิมพ์ผลลัพธ์
2. ทางานได้อเนกประสงค์เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้อเนกประสงค์เพราะทางานได้หลาย
ชนิดขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ใช้เช่น โปรแกรมเงินเดือน โปรแกรมคิดคะแนนสอบของนักเรียน
เป็นต้น
3. เป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันเข้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ล้วน
แล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทางด้าน
อิเล็คทรอนิคส์ทั้งสิ้น เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรไอซี ดังนั้นจึงทางานด้วยความเร็วสูงมาก
13
4. เป็นระบบดิจิตอล คาว่า ดิจิตอล (Digital) มาจากคาว่า Digit หมายถึง ตัวเลข เครื่อง
คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ทางานโดยใช้ระบบตัวเลข ข้อมูลทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ
หรือเครื่องหมายในทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เมื่อส่งเข้าเครื่องรับข้อมูลของคอมพิวเตอร์
แล้ว
จะถูกเปลี่ยนเป็นตัวเลขหมด
การทางานของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอน คือ
1. รับโปรแกรมและข้อมูล โปรแกรมในที่นี้ หมายถึง ชุดของคาสั่งที่จะให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ส่วนข้อมูล อาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล
2. การประมวลผล หมายถึง การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ซึ่งทาได้โดยการคานวณ
เปรียบเทียบ วิเคราะห์โดยใช้สูตรทางวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ โดยอาศัยคาสั่งหรือ
โปรแกรมที่เขียนขึ้น
3. แสดงผลลัพธ์ คือ การนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย แสดงออกในรูปแบบ
ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้เข้าใจ และนาไปใช้ประโยชน์ได้
ขั้นตอนทั้ง 3 แสดงได้ด้วยแผนภาพดังนี้
ภาพที่ 19
14
บทบาทของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นสิ่งสาคัญในชีวิตของเรา และความสาคัญนี้ได้ทวีมากยิ่งขึ้นในอนาคต
คอมพิวเตอร์ได้เข้าไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกับงานที่มีข้อมูลมาก ๆ และกาลังจะกลายเป็น
เครื่องใช้สามัญในบ้านเหมือนกับเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานต่าง ๆ จาแนกได้ดังนี้
15
ภาพที่ 20
1. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา
 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานบริหาร เช่น การคิด
คะแนน
 ทาทะเบียนบุคลากร
 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานบริการ เช่น งานห้องสมุด
งานแนะแนว
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการเรียนการสอน
ภาพที่ 21
2. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในวงราชการ
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการทาทะเบียนราษฎร์
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการนับคะแนนเลือกตั้ง คิด
ภาษี อากร การบริหารทั่วไป
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการรวบรวมข้อมูลและสถิติ
 การบริหารงานทั่วไปของหน่วยงานราชการ ทา
ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ยิ่งขั้น
ภาพที่ 22
3. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานสังคมศาสตร์
 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานวิจัย เพื่อให้ได้คาตอบ
ออกมาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง
ภาพที่ 23
4.บทบาทของคอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการบันทึก
 ค้นหาทะเบียนประวัติผู้ป่วย
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการวินิจฉัยโรค เช่น ตรวจ
คลื่น สมอง บันทึกการเต้นของหัวใจ
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณหาตาแหน่งที่
ถูกต้อง ของอวัยวะก่อนการผ่าตัด
16
ภาพที่ 24
5และสื่อสาร
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการจองตั๋วเครื่องบิน
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการเก็บข้อมูล สถิติของ
ผู้โดยสาร
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมการจราจรทาง
อากาศ
ภาพที่ 25
6. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการวางแผนธุรกิจ
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการประเมินสถานการณ์ทาาง
เศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างแม่นยา
 คอมพิวเตอร์ช่วยงานธุรการ เช่น งานพัสดุ งาน
ภาษี การทาจดหมายโต้ตอบ
ภาพที่ 26
7. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการรับฝากและถอนเงิน ที่
เป็นภารกิจประจาของธนาคาร
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการคิดดอกเบี้ยในอัตราต่างๆ
 คอมพิวเตอร์ช่วยให้ลูกค้า ฝากถอนเงินด่วน หรือ
โอนเงินจากเครื่องได้โดยอัตโนมัติ (ATM)
ภาพที่ 27
8. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมหุ่นยนต์ให้ทางาน
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณโครงสร้าง
วางแผน ควบคุมการก่อสร้าง
17
ภาพที่ 28
9. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการเปรียบเทียบ คัดเลือก
ข้อมูล
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการทดลองที่เป็นอันตราย
 คอมพิวเตอร์ช่วยในการเดินทางของยานอวกาศ
การถ่ายภาพระยะไกล และการสื่อสารผ่าน
ดาวเทียม
ภาพที่ 29
10. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก
 ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
คิดเงินแทนเครื่องคิดเลข
 การอ่านรหัสด้วยเครื่องอ่าน (Barcode)
ภาพที่ 30
18
บรรณานุกรม
https://reeeyixing.wordpress.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B8
%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0
%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8
%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82
%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0
%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4/
http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in_1p1.html
http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in_1p2.html

More Related Content

What's hot

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการpeepee kullabut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ysmhcnboice
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wsangsin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cin Pichita
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์Yok Sarinee
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์believegg
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยPleawkie Chukyu
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับAngsuthorn
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ninjynoppy39
 
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภทใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภทMint Jiratchaya
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทPop Nattakarn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์cham45314
 
กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1Nuttida Meepo
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานTanyaporn Puttawan
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3TJteerapong29
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ธนัชพร ส่งงาน
 

Similar to หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ (20)

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Com
ComCom
Com
 
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภทใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
 
Presentation3 (2)
Presentation3 (2)Presentation3 (2)
Presentation3 (2)
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com.ppt
Com.pptCom.ppt
Com.ppt
 

More from พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อน
 

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง หลักการทางาน บทบาท และอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ ม.5/3 เลขที่ 14 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก คานา คานารายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาหาความรู้ที่ได้จากเรื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหา เกี่ยวกับ หลักการทางาน บทบาท และอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราสามารถนาความรู้ เหล่านี้มาประยุกต์ใช้กับการทางานของเราได้ ข้าพเจ้าได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงการทางานที่ เป็นระบบๆ ของคอมพิวเตอร์ และข้าพเจ้าขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ให้จัดทา รายงาน และให้แนวทางการศึกษา และข้าพเจ้าหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้และ เป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ ม.5/3 เลขที่ 14
  • 3. ข สารบัญ เนื้อหา คำนำ ............................................................................................................................................. ก สำรบัญ........................................................................................................................................... ข สำรบัญภำพ......................................................................................................................................ค อุปกรณ์พื้นฐำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................. 1 – Keyboard (คีย์บอร์ด)................................................................................................................. 1 – Mouse (เมำส์) ......................................................................................................................... 2 – Scanner (สแกนเนอร์) ................................................................................................................. 2 – Webcam (เว็บแคม)................................................................................................................... 3 – Microphone (ไมโครโฟน)........................................................................................................... 4 – Touch screen (ทัชสกรีน)........................................................................................................... 4 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) ................................................................................ 5 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) ............................................................................................................ 5 – จอภำพ (Monitor)..................................................................................................................... 6 – อุปกรณ์ฉำยภำพ (Projector)......................................................................................................... 6 – อุปกรณ์เสียง (Audio Output) ...................................................................................................... 7 3.2) หน่วยแสดงผลถำวร (Hard Copy) ................................................................................................... 7 – เครื่องพิมพ์ (Printer)................................................................................................................... 7 – เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ............................................................................................................ 8 4.หน่วยควำมจำ (Memory Unit) ........................................................................................................ 8 หลักกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................12 คุณลักษณะสำคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 4 ประกำร คือ................................................................................12 กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................13 บทบำทของคอมพิวเตอร์ ........................................................................................................................14 บรรณำนุกรม ....................................................................................................................................18
  • 4. ค สารบัญภาพ ภำพที่ 1........................................................................................................................................... 2 ภำพที่ 2........................................................................................................................................... 2 ภำพที่ 3........................................................................................................................................... 3 ภำพที่ 4........................................................................................................................................... 3 ภำพที่ 5........................................................................................................................................... 4 ภำพที่ 6........................................................................................................................................... 4 ภำพที่ 7........................................................................................................................................... 5 ภำพที่ 8........................................................................................................................................... 6 ภำพที่ 9........................................................................................................................................... 6 ภำพที่ 10 ......................................................................................................................................... 7 ภำพที่ 11 ......................................................................................................................................... 7 ภำพที่ 12 ......................................................................................................................................... 8 ภำพที่ 13 ......................................................................................................................................... 9 ภำพที่ 14 ......................................................................................................................................... 9 ภำพที่ 15 ........................................................................................................................................10 ภำพที่ 16 ........................................................................................................................................10 ภำพที่ 17 ........................................................................................................................................11 ภำพที่ 18 ........................................................................................................................................11 ภำพที่ 19 ........................................................................................................................................13 ภาพที่ 20.........................................................................................................................................15 ภาพที่ 21.........................................................................................................................................15 ภาพที่ 22.........................................................................................................................................15 ภาพที่ 23.........................................................................................................................................15 ภาพที่ 24.........................................................................................................................................16 ภาพที่ 25.........................................................................................................................................16 ภาพที่ 26.........................................................................................................................................16 ภาพที่ 27.........................................................................................................................................16 ภาพที่ 28.........................................................................................................................................17 ภาพที่ 29.........................................................................................................................................17 ภำพที่ 30.......................................................................................................................................17
  • 5. 1 อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางาน พื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) 4.หน่วยความจา (Memory Unit) 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็น ประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ – Keyboard (คีย์บอร์ด) Keyboard เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น ปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุก เครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทาการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มี แป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น การวาง ตาแหน่งแป้นอักขระ จะเป็นไปตามมาตรฐานของระบบพิมพ์สัมผัสของเครื่องพิมพ์ดีด ที่มีการ ใช้แป้นยกแคร่ (shift) เพื่อทาให้สามารถใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษรที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต กล่าวคือ เมื่อมีการกดแป้นพิมพ์แผงแป้นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรือ 8 บิต นี้เข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์
  • 6. 2 ภาพที่ 1 – Mouse (เมาส์) Mouse เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทางาน โดยทั่วไปจะ เป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสาหรับใช้งานเมื่อ ต้องเลือก หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal System Version2) ภาพที่ 2 – Scanner (สแกนเนอร์) สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็น ดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ภาพนั้นอาจจะ เป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ
  • 7. 3 ภาพที่ 3 – Webcam (เว็บแคม) เว็บแคมหรือชื่อเรียกเต็มๆว่า Web Camera (เว็บแคเมรา) แต่ในบางครั้งก็มีคนเรียกว่า Video Camera หรือ Video Conference เว็บแคมเป็นอุปกรณ์อินพุตที่ สามารถจับ ภาพเคลื่อนไหวของเราไปปรากฏในหน้าจอมอนิเตอร์ และสามารถส่งภาพเคลื่อนไหวนี้ผ่าน ระบบเครือข่ายเพื่อให้คนอีกฟากหนึ่งสามารถเห็นตัวเราเคลื่อนไหว ได้เหมือนอยู่ต่อหน้า ถือว่า เป็นอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อีกตัวหนึ่ง และมีความจาเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ภาพที่ 4
  • 8. 4 – Microphone (ไมโครโฟน) ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทาการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลใน เครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็ก เป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟนจะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้ รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง ภาพที่ 5 – Touch screen (ทัชสกรีน) ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผล ข้อมูล และอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มักนาไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นานิ้วหรือ ใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา แตะ/กดลงบนตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ ภาพที่ 6
  • 9. 5 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญ มากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์ อินพุต ตามชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผล กลางนั้นประกอบไปด้วย 1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) 2. หน่วยควบคุม (Control Unit) 3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ภาพที่ 7 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท 3.1) หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบ ในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่
  • 10. 6 – จอภาพ (Monitor) ภาพที่ 8 – อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) ภาพที่ 9
  • 11. 7 – อุปกรณ์เสียง (Audio Output) ภาพที่ 10 3.2) หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้อุปกรณ์ที่ใช้เช่น – เครื่องพิมพ์ (Printer) ภาพที่ 11
  • 12. 8 – เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ภาพที่ 12 4.หน่วยความจา (Memory Unit) หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับ ข้อมูล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผล และเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ 4.1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภท คือ 4.1.1) หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory – ROM) เป็น หน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้(อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และ
  • 13. 9 พร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง ต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile) โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บ โปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น ภาพที่ 13 4.1.2) หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้(Random Access Memory – RAM) เป็น หน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้ อนุญาตให้เขียน และอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูล ชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทาตามลาดับ ก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรม ที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจาก หน่วยความจาชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น ภาพที่ 14
  • 14. 10 4.2) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit) สามารถแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้4 ประเภท ดังนี้ 4.2.1) แบบจานแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็นลักษณะของจานแม่เหล็ก สาหรับบันทึกข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความนิยมและใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์ ภาพที่ 15 4.2.2) แบบแสง เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน โดยใช้ หลักการทางานของแสง การจัดการข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็ก ต่างกันที่การแบ่งจะเป็น รูปก้นหอย และเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก ที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันดี เช่น CD , DVD ภาพที่ 16
  • 15. 11 4.2.3) แบบเทป เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมากและเข้าถึง ข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมาหลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT และ QIC เป็นต้นปัจจุบันไม่ค่อยถือเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ภาพที่ 17 4.2.4) แบบอื่นๆ เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทั่วไปในปัจจุบัน มีชื่อเรียก แตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive , Handy Drive เป็นต้น อีกชนิดคือ Memory Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้องดิจิตอลแบบพกพา ภาพที่ 18
  • 16. 12 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า Computer ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึง เครื่อง คานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้ ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจาตัว วิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึง เครื่องคานวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่าง ต่อเนื่องและอัตโนมัติ แต่ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความ ของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือน สมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์" คุณลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 4 ประการ คือ 1. ทางานโดยอัตโนมัติ ถ้าสังเกตการทางานของคอมพิวเตอร์ จะพบว่า อุปกรณ์ทุกอย่างของ คอมพิวเตอร์ทางานได้เองโดยอัตโนมัติ โดยที่คนไม่ได้เข้าไปควบคุม ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน ข้อมูล การคานวณ หรือการพิมพ์ผลลัพธ์ 2. ทางานได้อเนกประสงค์เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้อเนกประสงค์เพราะทางานได้หลาย ชนิดขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ใช้เช่น โปรแกรมเงินเดือน โปรแกรมคิดคะแนนสอบของนักเรียน เป็นต้น 3. เป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันเข้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ล้วน แล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทางด้าน อิเล็คทรอนิคส์ทั้งสิ้น เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรไอซี ดังนั้นจึงทางานด้วยความเร็วสูงมาก
  • 17. 13 4. เป็นระบบดิจิตอล คาว่า ดิจิตอล (Digital) มาจากคาว่า Digit หมายถึง ตัวเลข เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ทางานโดยใช้ระบบตัวเลข ข้อมูลทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือเครื่องหมายในทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เมื่อส่งเข้าเครื่องรับข้อมูลของคอมพิวเตอร์ แล้ว จะถูกเปลี่ยนเป็นตัวเลขหมด การทางานของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอน คือ 1. รับโปรแกรมและข้อมูล โปรแกรมในที่นี้ หมายถึง ชุดของคาสั่งที่จะให้คอมพิวเตอร์ทางาน ส่วนข้อมูล อาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล 2. การประมวลผล หมายถึง การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งทาได้โดยการคานวณ เปรียบเทียบ วิเคราะห์โดยใช้สูตรทางวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ โดยอาศัยคาสั่งหรือ โปรแกรมที่เขียนขึ้น 3. แสดงผลลัพธ์ คือ การนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย แสดงออกในรูปแบบ ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้เข้าใจ และนาไปใช้ประโยชน์ได้ ขั้นตอนทั้ง 3 แสดงได้ด้วยแผนภาพดังนี้ ภาพที่ 19
  • 18. 14 บทบาทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นสิ่งสาคัญในชีวิตของเรา และความสาคัญนี้ได้ทวีมากยิ่งขึ้นในอนาคต คอมพิวเตอร์ได้เข้าไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกับงานที่มีข้อมูลมาก ๆ และกาลังจะกลายเป็น เครื่องใช้สามัญในบ้านเหมือนกับเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานต่าง ๆ จาแนกได้ดังนี้
  • 19. 15 ภาพที่ 20 1. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา  คอมพิวเตอร์ช่วยในงานบริหาร เช่น การคิด คะแนน  ทาทะเบียนบุคลากร  คอมพิวเตอร์ช่วยในงานบริการ เช่น งานห้องสมุด งานแนะแนว  คอมพิวเตอร์ช่วยในการเรียนการสอน ภาพที่ 21 2. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในวงราชการ  คอมพิวเตอร์ช่วยในการทาทะเบียนราษฎร์  คอมพิวเตอร์ช่วยในการนับคะแนนเลือกตั้ง คิด ภาษี อากร การบริหารทั่วไป  คอมพิวเตอร์ช่วยในการรวบรวมข้อมูลและสถิติ  การบริหารงานทั่วไปของหน่วยงานราชการ ทา ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ยิ่งขั้น ภาพที่ 22 3. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานสังคมศาสตร์  คอมพิวเตอร์ช่วยในงานวิจัย เพื่อให้ได้คาตอบ ออกมาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ภาพที่ 23 4.บทบาทของคอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์  คอมพิวเตอร์ช่วยในการบันทึก  ค้นหาทะเบียนประวัติผู้ป่วย  คอมพิวเตอร์ช่วยในการวินิจฉัยโรค เช่น ตรวจ คลื่น สมอง บันทึกการเต้นของหัวใจ  คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณหาตาแหน่งที่ ถูกต้อง ของอวัยวะก่อนการผ่าตัด
  • 20. 16 ภาพที่ 24 5และสื่อสาร  คอมพิวเตอร์ช่วยในการจองตั๋วเครื่องบิน  คอมพิวเตอร์ช่วยในการเก็บข้อมูล สถิติของ ผู้โดยสาร  คอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมการจราจรทาง อากาศ ภาพที่ 25 6. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ  คอมพิวเตอร์ช่วยในการวางแผนธุรกิจ  คอมพิวเตอร์ช่วยในการประเมินสถานการณ์ทาาง เศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างแม่นยา  คอมพิวเตอร์ช่วยงานธุรการ เช่น งานพัสดุ งาน ภาษี การทาจดหมายโต้ตอบ ภาพที่ 26 7. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร  คอมพิวเตอร์ช่วยในการรับฝากและถอนเงิน ที่ เป็นภารกิจประจาของธนาคาร  คอมพิวเตอร์ช่วยในการคิดดอกเบี้ยในอัตราต่างๆ  คอมพิวเตอร์ช่วยให้ลูกค้า ฝากถอนเงินด่วน หรือ โอนเงินจากเครื่องได้โดยอัตโนมัติ (ATM) ภาพที่ 27 8. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม  คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ  คอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมหุ่นยนต์ให้ทางาน  คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณโครงสร้าง วางแผน ควบคุมการก่อสร้าง
  • 21. 17 ภาพที่ 28 9. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์  คอมพิวเตอร์ช่วยในการเปรียบเทียบ คัดเลือก ข้อมูล  คอมพิวเตอร์ช่วยในการทดลองที่เป็นอันตราย  คอมพิวเตอร์ช่วยในการเดินทางของยานอวกาศ การถ่ายภาพระยะไกล และการสื่อสารผ่าน ดาวเทียม ภาพที่ 29 10. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก  ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ คิดเงินแทนเครื่องคิดเลข  การอ่านรหัสด้วยเครื่องอ่าน (Barcode) ภาพที่ 30