SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
นางสาวกชกร สาราญโสม 583050158-9 นักศึกษาชั้นปีที่ 3
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายวิชา 237300 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN ELEMENTARY SCHOOL
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บอกข้อมูลที่สนใจและ
แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว
• ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็น
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์
ต่างๆ
• แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว เช่น
บ้าน ห้องสมุด ผู้ปกครอง ครู หนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์
1. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลอง
ผิดลองถูก การเปรียบเทียบ
• การแก้ปัญหาให้ประสบความสาเร็จ ทาได้โดยใช้ขั้นตอน
การแก้ปัญหา
• ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่าง
ของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋ า
2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ
• อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ กล้องดิจิทัล โทรศัพท์มือถือ
• ประโยชน์ของอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ใช้ในการเรียน ใช้วาดภาพ ใช้
ติดต่อสื่อสาร
2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ
• การแสดงขั้นตอนการ
แก้ปัญหาทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้
สัญลักษณ์
• ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่าง
ของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋ า
3. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ
• การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาาสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ตัวละครย้าย
ตาแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลี่ยนรูปร่าง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตร
คาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 4. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้
ข้อมูลตามวัตถุประสงค์
• การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น
เช่น การใช้เมาส์ คีย์บอร์ด จอสัมผัสการเปิด-ปิด อุปกรณ์
เทคโนโลยี
• การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น
การเข้าและออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การ
เรียกใช้ไฟล์ ทาได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา
โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนาเสนอ
• การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็น
ระบบจะทาให้ เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์
ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน
อย่างเหมาะสม
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย เช่น รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล
ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น
ผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความช่วยเหลือ
เกี่ยวกับการใช้งาน
• ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแล
รักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาด ใช้
อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
• การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง การพัก
สายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวังอุบัติเหตุจาก
การใช้งาน
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. บอกประโยชน์ของข้อมูลและ
รวบรวมข้อมูลที่สนใจจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้
• ข้อมูลบางอย่างมีประโยชน์ในการดาเนินชีวิตต้อง
พิจารณาก่อนนาไปใช้
• แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งข้อมูลที่มีการรวบรวบ
ข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์มีเหตุผลและ มีการอ้างอิง เช่น
- แหล่งข้อมูลของทางราชการ
- แหล่งข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ตรงและ
ศึกษาในเรื่องนั้นๆ
• การรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูล
หลายแหล่ง ที่เชื่อถือได้ ช่วยให้ได้ข้อมูล
ที่ถูกต้องและสมบูรณ์มากขึ้น
1. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ
• การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาทาได้โดยการเขียน
บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์
• ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมตัวต่อ 6-12 ชิ้น
การแต่งตัวมาโรงเรียน
2. บอกประโยชน์และการรักษา
แหล่งข้อมูล
• ประโยชน์ของแหล่งข้อมูล
• การรักษาแหล่งข้อมูล เป็นการรักษาสภาพ
ของแหล่งข้อมูลให้คงอยู่และใช้งานได้นานๆ เช่น ไม่ขีดเขียน
ตามสถานที่ต่างๆ ปฏิบัติตามระเบียบการใช้แหล่งข้อมูล
และไม่ทาให้แหล่งข้อมูลเกิดความชารุดเสียหาย
2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์
หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรม
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้
ตัวละครทางานตามที่ต้องการ และตรวจสอบ
ข้อผิดพลาด ปรับแก้ไขให้ได้ผลลัพธ์ตามที่กาหนด
• การตรวจหาข้อผิดพลาดทาได้โดยตรวจสอบคาสั่ง
ที่แจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่
ต้องการให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 3. บอกชื่อและ
หน้าที่ของอุปกรณ์
พื้นฐานที่เป็น
ส่วนประกอบหลัก
ของคอมพิวเตอร์
• คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยรับเข้าหน่วย
ประมวลผลหน่วยส่งออกซึ่งการประมวลผลเป็นการกระทา
(คานวณเปรียบเทียบ) กับข้อมูลที่รับเข้ามา
• อุปกรณ์พื้นฐานที่เป็นส่วนประกอบหลักของ
คอมพิวเตอร์ มีดังนี้
- เมาส์ ทาหน้าที่ เลื่อนตัวชี้และคลิกคาสั่ง
- แผงแป็นอักขระ ทาหน้าที่รับข้อความสัญลักษณ์และตัวเลข
- จอภาพ ทาหน้าที่ แสดงข้อความ ภาพ
- ซีพียู ทาหน้าที่ ประมวลผลข้อมูล
- ลาโพง ทาหน้าที่ ส่งเสียง
- เครื่องพิมพ์ ทาหน้าที่ พิมพ์ข้อความภาพทางกระดาษ
- อุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น แผ่นบันทึก ซีดี หน่วยความจาแบบแฟลช
3. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด
หมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้
ข้อมูลตามวัตถุประสงค์
• การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและ
ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ
การเรียกใช้ไฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทาได้
ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคาโปรแกรม
กราฟิก โปรแกรมนาเสนอ
• การสร้าง คัดลอก ย้าย ลบ เปลี่ยนชื่อ จัด
หมวดหมู่ไฟล์และโฟลเดอร์อย่างเป็นระบบจะทาให้
เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม
ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์
ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์
เบื้องต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น
รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล
ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น
ผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการ
ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งาน
• ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์
เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาดใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
• การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง
การพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวังอุบัติเหตุจากการใช้งาน
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน
และนาเสนอข้อมูลในลักษณะ
ต่างๆ
• ขั้นตอนการค้นหาข้อมูล ประกอบด้วย
การกาหนดหัวข้อที่ต้องการค้นหา การเลือกแหล่งข้อมูล การ
เตรียมอุปกรณ์ การค้นหาและรวบรวมข้อมูลการพิจารณา
การสรุปผล
• การนาเสนอข้อมูลสามารถทาได้หลายลักษณะตาม
ความเหมาะสม เช่น นาเสนอหน้าชั้นเรียน จัดทา
เอกสารรายงานจัดทาป้ายประกาศ จัดทาสื่อนาเสนอด้วย
คอมพิวเตอร์
1. แสดงอัลกอริทึมในการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์หรือข้อความ
• อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา
• การแสดงอัลกอริทึมทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ
หรือใช้สัญลักษณ์
• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetri
เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทาความสะอาดห้องเรียน
2. บอกวิธีดูแลและรักษา
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
• วิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ศึกษาและปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งาน
- ปฏิบัติตามระเบียบการใช้และการดูแลรักษา
2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม
• การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมที่สั่งให้
ตัวละครทางานซ้าไม่สิ้นสุด
• การตรวจหาข้อผิดพลาดทาได้โดยตรวจสอบคาสั่ง
ที่แจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่
ต้องการให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ • อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ช่วยให้การ
ติดต่อสื่อสารทาได้สะดวกและรวดเร็ว และเป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วยในการ
เรียนและการดาเนินชีวิต
• เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสาหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ
• การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทาได้โดยใช้เว็บไซต์
สาหรับสืบค้น และต้องกาหนดคาค้นที่เหมาะสมจึงจะได้ข้อมูลตามต้องการ
• ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทาอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่าง ๆ
ข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย (อาจเป็นความรู้ในวิชาอื่นๆ หรือเรื่องที่เป็นประเด็น
ที่สนใจในช่วงเวลานั้น)
• การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู
หรือผู้ปกครอง
4. รวบรวม ประมวลผล และ
นาเสนอข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์
ตามวัตถุประสงค์
• การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียม
อุปกรณ์ในการจดบันทึก
• การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม
เรียงลาดับ
• การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม
เช่น การบอกเล่า การทาเอกสารรายงาน การจัดทาป้ายประกาศ
• การใช้ซอฟต์แวร์ทางานตามวัตถุประสงค์ เช่น
ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิก
สร้างแผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคา ทาป้ายประกาศ หรือ
เอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ ตารางทางานในการประมวลผลข้อมูล
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัยปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้
อินเทอร์เน็ต
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปกป้องข้อมูลส่วนตัว
• ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้งาน
เมื่อ
พบข้อมูลหรือบุคคลที่ทาให้ไม่สบายใจ
• การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทาให้ไม่เกิดความ
เสียหาย
ต่อตนเองและผู้อื่น เช่นไม่ใช้คาหยาบ ล้อเลียน ด่าทอทาให้ผู้อื่นเสียหาย
หรือเสียใจ
• ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. บอกชื่อและหน้าที่ของ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
• อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
- กล้องดิจิทัล ทาหน้าที่ บันทึกภาพ
- สแกนเนอร์ ทาหน้าที่ สแกนข้อความ หรือภาพที่อยู่ในรูปสิ่ง
พิมพ์ ให้อยู่ในรูปข้อมูลดิจิทัล
- แผ่นซีดี ทาหน้าที่ เก็บข้อมูล
1. แสดงอัลกอริทึมในการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์หรือข้อความ
• อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา
• การแสดงอัลกอริทึมทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ
หรือใช้สัญลักษณ์
• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetri
เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทาความสะอาดห้องเรียน
2.บอกหลักการทางานเบื้องต้น
ของคอมพิวเตอร์
• หลักการทางานเบื้องต้นของคอมพิวเตอร์
มีดังนี้รับข้อมูลเข้าโดยผ่านหน่วยรับเข้า แล้วส่งข้อมูลไป
จัดเก็บไว้ยังหน่วยความจาจากนั้นส่งข้อมูลไปยังหน่วย
ประมวลผลเพื่อผ่านกระบวนการคานวณและเปรียบเทียบ
ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ผลลัพธ์ ที่ได้จะถูกส่งไปยังหน่วย
แสดงผล
• การจัดประเภทของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ตามหลักการทางานเบื้องต้น เช่น
- อุปกรณ์รับข้อมูล เช่น เมาส์ แผงแป้นอักขระ
- อุปกรณ์ประมวลผล ได้แก้ซีพียู
- อุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ ลาโพง เครื่องพิมพ์
2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่าง
ง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และ
ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
• การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การออกแบบโดยใช้
storyboard หรือการออกแบบอัลกอริทึม
• การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ หากมี
ข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทา
ให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่
ถูกต้อง
• ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเรื่องราว เช่น นิทานที่มี
การตอบโต้กับผู้ใช้ การ์ตูนสั้น เล่ากิจวัตรประจาวัน
ภาพเคลื่อนไหว
• การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่น
จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch,
logo
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 3. บอกประโยชน์และโทษจาก
การใช้งานคอมพิวเตอร์
• ประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์
- ใช้สร้างงาน เช่น จัดทารายงาน สร้างงาน นาเสนอ
- ใช้ติดต่อสื่อสารและค้นหาความรู้ เช่น ส่ง e-mail ค้นหา
ข้อมูล ศึกษาบทเรียน
- ใช้เพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลง ดูภาพยนตร์ ร้อง
เพลง
• โทษจากการใช้งานคอมพิวเตอร์
- ต่อร่างกาย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานาน
เป็นผลเสียต่อสุขภาพ
- ต่อสังคม เช่น การถูกล่อลวง การสูญเสียความสัมพันธ์กับ
ครอบครัว
3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และ
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
• การใช้คาค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่
รวดเร็วและตรงตามความต้องการ
• การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณา
ประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการสานักข่าว องค์กร)
ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูลการอ้างอิง
• เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนา
เนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูลที่มีความ
สอดคล้องและสัมพันธ์กัน
• การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูลจะต้องนาข้อมูลมา
เรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของตนเองที่เหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมายและวิธีการนาเสนอ (บูรณาการกับวิชา
ภาษาไทย)
4. ใช้ระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์เพื่อการทางาน
• ประเภทของซอฟต์แวร์ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบ และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
• การใช้งานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
เบื้องต้น เช่น การสร้าง ลบ เปลี่ยนชื่อ ย้ายแฟ้มและโฟลเดอร์
4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล
และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่
หลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน
• การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ต้องการ
เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก
• การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม
เรียงลาดับ การหาผลรวม
• วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ประเมิน
ทางเลือก (เปรียบเทียบ ตัดสิน)
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 • การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม
ความเหมาะสม เช่น การบอกเล่า เอกสารรายงานโปสเตอร์
โปรแกรมนาเสนอ
• การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เช่น การ
สารวจเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์ สร้างแบบสอบถาม
และเก็บข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานเพื่อประมวลผลข้อมูล
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าทางโภชนาการและสร้างรายการ
อาหารสาหรับ 5 วัน ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการสารวจ
รายการอาหารที่เป็นทางเลือก และข้อมูลด้านโภชนาการ
5. สร้างภาพหรือชิ้นงานจาก
จินตนาการโดยใช้โปรแกรม
กราฟิกด้วยความรับผิดชอบ
• การใช้โปรแกรมกราฟิกขั้นพื้นฐาน เช่น
การวาดภาพ การระบายสี การพิมพ์ข้อความ
• การสร้างภาพหรือชิ้นงานโดยใช้โปรแกรม
กราฟิก เช่น การวาดภาพประกอบการเล่านิทานโดยไม่
คัดลอกผลงานผู้อื่น ใช้คาสุภาพและไม่สร้างความเสียหายต่อ
ผู้อื่น
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัยเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อพบข้อมูล หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจ
สิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น เช่น
ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อื่น ไม่สร้างความเดือดร้อนต่อ
ผู้อื่นโดยการส่งสแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูล
ส่วนตัวของผู้อื่น ส่งคาเชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวหรือ
การบ้านของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์/ชื่อบัญชีของผู้อื่น
• การสื่อสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ
• การปกป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจากระบบเมื่อเลิก
ใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอกเลขประจาตัวประชาชน
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1.ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ
และเป็นประโยชน์จาก
แหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรง
ตามวัตถุประสงค์
• การดาเนินการเพือให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ มี
ขั้นตอนดังนี้
- กาหนดวัตถุประสงค์และความต้องการของสิ่งที่สนใจเพื่อ
กาหนดข้อมูลที่ต้องการค้นหา
- วางแผนและพิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
- กาหนดหัวข้อของข้อมูลที่ต้องการค้นหาเตรียมอุปกรณ์ที่
ต้องใช้ในการค้นหา บันทึก และเก็บข้อมูล
- ค้นหาและรวบรวมข้อมูล
- พิจารณา เปรียบเทียบ ตัดสินใจ
- สรุปผลและจัดทารายงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล
- เก็บรักษาข้อมูลให้พร้อมใช้งานต่อไป
1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา
การอธิบาการทางาน การคาดการณ์
ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
• การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือ
เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา
การอธิบายการทางาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์
• สถานะเริ่มต้นของการทางานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่
แตกต่างกัน
• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku , โปรแกรม
ทานายตัวเลข, โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิตตามค่าข้อมูลเข้า,
การจัดลาดับการทางานบ้านในช่วงวันหยุด, จัดวางของในครัว
2. สร้างงานเอกสารเพื่อใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันด้วย
ความรับผิดชอบ
• การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคาขั้นพื้นฐาน
เช่น การสร้างเอกสารใหม่ การตกแต่งเอกสารการบันทึกงาน
เอกสาร
• การสร้างงานเอกสาร เช่น บัตรอวยพรใบประกาศ
รายงาน โดยมีการอ้างอิง แหล่งข้อมูล ใช้คาสุภาพ และ ไม่
ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการ
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา
ข้อผิดพลาดและแก้ไข
• การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียนเป็น
ข้อความ หรือผังงาน
• การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข
ที่ครอบคลุมทุกกรณีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตรงตามความ
ต้องการ
• หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อ
พบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้
ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วย
พัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่
โปรแกรมรับข้อมูลน้าหนักหรือส่วนสูงแล้วแสดงผลความสมส่วน
ของร่างกาย, โปรแกรมสั่งให้ตัวละครทาตามเงื่อนไขที่กาหนด
• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
Scratch,logo
3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล
ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
• การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และการพิจารณาผลการค้นหา
• การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล บล็อก โปรแกรม
สนทนา
• การเขียนจดหมาย (บูรณาการกับวิชาภาษาไทย)
• การใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน เช่น
ใช้นัดหมายในการประชุมกลุ่มประชาสัมพันธ์กิจกรรมในห้องเรียน
การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในการเรียน ภายใต้การดูแล
ของครู
• การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น เปรียบเทียบความ
สอดคล้อง สมบูรณ์ของข้อมูลจากหลายแหล่ง แหล่งต้นตอของ
ข้อมูล ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูล
• ข้อมูลที่ดีต้องมีรายละเอียดครบทุกด้าน เช่น ข้อดีและข้อเสีย
ประโยชน์และโทษ
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ตาม
วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์
หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่
หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวันในสิทธิของผู้อื่น
แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือ
บุคคลที่ไม่เหมาะสม
• การรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สร้างทางเลือกประเมินผล จะ
ทาให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
• การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายใน
การรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล นาเสนอ จะ
ช่วยให้การแก้ปัญหาทาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยา
• ตัวอย่างปัญหา เช่น ถ่ายภาพและสารวจแผนที่ในท้องถิ่นเพื่อ
นาเสนอแนวทางในการจัดการพื้นที่ว่างให้เกิดประโยชน์ ทาแบบ
สารวจความคิดเห็นออนไลน์ และวิเคราะห์ข้อมูล นาเสนอข้อมูลโดย
การใช้ Blog หรือ web page
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัยมีมารยาท เข้าใจสิทธิ
และหน้าที่ของตน เคารพ
• อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต (บูรณาการกับวิชาที่
เกี่ยวข้อง)
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง
3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. บอกหลักการ
เบื้องต้นของการ
แก้ปัญหา
• หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
- พิจารณาปัญหา
- วางแผนแก้ปัญหา
- แก้ปัญหา
- ตรวจสอบและปรับปรุง
1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
อธิบายและออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน
• การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
• การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข
ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา
• แนวคิดของการทางานแบบวนซ้า และเงื่อนไข
• การพิจารณากระบวนการทางานที่มีการทางานแบบ
วนซ้า หรือเงื่อนไขเป็นวิธีการที่จะช่วยให้การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
• ตัวอย่างปัญหา เช่น การค้นหาเลขหน้าที่ต้องการให้เร็ว
ที่สุด, การทายเลข ๑ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบให้ถูกภายใน ๒๐ คาถาม, การคานวณ
เวลาในการเดินทาง โดยคานึงถึงระยะทาง เวลา จุดหยุดพัก
2. ใช้คอมพิวเตอร์ใน
การค้นหาข้อมูล
• การใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล เช่น
ค้นหาข้อมูล
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
ค้นหาข้อมูลจากซีดีรอม
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรม
อย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน ตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและ
แก้ไข
• การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียนเป็นข้อความ หรือผังงาน
• การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปรการวนซ้า การตรวจสอบ
เงื่อนไข
• หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์
ไม่ถูกต้องให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
• การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหา
สาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
• ตัวอย่างปัญหา เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหาค่าค.ร.น เกมฝึกพิมพ์
• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 3. เก็บรักษาข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ
• การเก็บรักษาข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
- สาเนาถาวร เช่น เอกสาร แฟ้มสะสมงาน
- สื่อบันทึก เช่น เทป แผ่นบันทึก ซีดีรอม หน่วยความจาแบบ
แฟลช
3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล
อย่างมีประสิทธิภาพ
• การค้นหาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการค้นหาข้อมูลที่ได้
ตรงตามความต้องการในเวลาที่รวดเร็ว จากแหล่งข้อมูลที่
น่าเชื่อถือหลายแหล่ง และข้อมูลมีความสอดคล้องกัน
• การใช้เทคนิคการค้นหาขั้นสูง เช่น การใช้ตัวดาเนินการ
การระบุรูปแบบของข้อมูล หรือชนิดของไฟล์
• การจัดลาดับผลลัพธ์จากการค้นหาของโปรแกรมค้นหา
• การเรียบเรียง สรุปสาระสาคัญ (บูรณาการกับวิชา
ภาษาไทย)
4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่
เหมาะสมโดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์
ประยุกต์
• การจัดทา ข้อมูลเพื่อการนาเสนอต้องพิจารณารูปแบบ
ของข้อมูลให้เหมาะสมกับการสื่อความหมายที่เข้าใจง่ายและ
ชัดเจน เช่น กราฟ ตาราง แผนภาพ รูปภาพ
• การใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ เช่น การสร้างสไลด์ การ
ตกแต่งสไลด์ การกาหนดเทคนิคพิเศษในการนาเสนอ
• การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใหเหมาะสมกับรูปแบบ
การนาเสนอ เช่น นาเสนอรายงานเอกสารโดยใช้ซอฟต์แวร์
ประมวลคานาเสนอแบบบรรยายโดยใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางาน
ร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
หน้าที่ของตนเคารพในสิทธิของผู้อื่น
แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคล
ที่ไม่เหมาะสม
• อันตรายจากการใช้งาน และอาชญากรรมทาง
อินเทอร์เน็ต แนวทางในการป้องกัน
• วิธีกาหนดรหัสผ่าน
• การกาหนดสิทธิ์การใช้งาน (สิทธิ์ในการเข้าถึง)
• แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์
• อันตรายจากการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
ชั้น
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551
(สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 5. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้าง
ชิ้นงานจากจินตนาการหรืองาน
ที่ทาในชีวิตประจาวันอย่างมี
จิตสานึก และความรับผิดชอบ
• การสร้างชิ้นงานต้องมีการวางแผนงานและการ
ออกแบบอย่างสร้างสรรค์
• ใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สร้างชิ้นงาน เช่น แผ่นพับ ป้าย
ประกาศ เอกสารแนะนาชิ้นงานสไลด์นาเสนอข้อมูลโดยมี
การอ้างอิงแหล่งข้อมูล ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่คัดลอก
ผลงานผู้อื่น ใช้คาสุภาพและไม่สร้างความเสียหายต่อผู้อื่น
สาเหตุที่มีการปรับปรุงหลักสูตร เนื่องจากความซ้าซ้อนของเนื้อหาระหว่างชั้นปี หรือช่วงชั้น รวมถึงระหว่างกลุ่มสาระ
รวมทั้งความไม่เหมาะสมของการใช้ตัวชี้วัดร่วมในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ได้กาหนดให้มีตัวชี้วัดเดียวกันทั้งนักเรียนกลุ่ม
ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์ และนักเรียนกลุ่มที่เน้นวิทยาศาสตร์ เกิดปัญหาในเรื่องความยากง่ายที่ไม่เหมาะสมกับนักเรียนทั้ง 2 กลุ่มนี้ และ
การกาหนดสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีออกมาทาให้ขาดความเชื่อมโยงจากเนื้อหานาไปสู่การปฏิบัติ ทาให้
นักเรียนขาดทักษะปฏิบัติการต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ได้มีการบรรจุสาระ
การออกแบบและเทคโนโลยีและสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีผล
ให้การจัดการเรียนรู้ในสาระดังกล่าวเน้นการเรียนเพื่อเป็นผู้ใช้งานเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องและปลอดภัย
มากกว่าการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของผู้เรียนเพื่อเป็นผู้สร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเดิม
การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้ลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา เน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา เพิ่มการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อตอบรับกับการพัฒนากาลังคนให้มีศักยภาพสูงในการ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ นอกจากนั้น สิ่งที่ สสวท. ได้ทาไว้รองรับหลังจากประกาศใช้หลักสูตรใหม่ ก็คือ
การจัดทาคู่มือการใช้หลักสูตร ในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ซึ่งครูและโรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมและ
จัดการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสานักพิมพ์อื่น ๆ ที่สนใจสามารถดาเนินการผลิตหนังสือเรียนตามกรอบ
หลักสูตรใหม่ได้อย่างสะดวก โดยใช้กิจกรรมและแนวทางการจัดกิจกรรมจากคู่มือการใช้หลักสูตรนี้ได้เช่นกัน
การปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560)
“หลักสูตรใหม่ ผลักดันสังคมไทยก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0”
ดร. พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อานวยการ สสวท.
การปรับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลาง จะมีผลกระทบต่อผู้เรียนทั้งประเทศ อีกทั้ง
สภาพโรงเรียนก็แตกต่างกันอย่างมาก แต่ที่น่าแปลกใจคือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปรับหลักสูตร คือ คณะกรรมการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน(กพฐ.) แต่กลับไม่ทราบเรื่องนี้เลย ดังนั้นคาสั่งดังกล่าวดูอาจไม่เหมาะสมและขาดการมีส่วนร่วมจาก
กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามยอมรับว่า เรื่องการปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดให้ทันสมัยเป็นสิ่งที่
จาเป็น และควรต้องรีบดาเนินการ ปัญหา คือ กระบวนการปรับปรุงหลักสูตรต้องมาจากการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง
ผศ.ดร.พัทธนันท์

More Related Content

What's hot

แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNoeyy
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)Rojsak Chiablaem
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรsirato2539
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51nattayos paluang
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...HeroFirst BirdBird
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 

What's hot (20)

Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 

Similar to Curriculum2551&2560

การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400 Noo Bam
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...Atigarn Tingchart
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองกนกศักดิ์ บัวทอง
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางKAWIN TEARNWUN
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
งานการชั้น ป.2 ปี 2556 มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.2  ปี 2556  มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.2  ปี 2556  มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.2 ปี 2556 มีตัวชี้วัดDuangnapa Inyayot
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) maitree_s
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4Anisra Roya
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556Cher Phabet
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6Khemjira_P
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 

Similar to Curriculum2551&2560 (20)

การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3
 
งานการชั้น ป.2 ปี 2556 มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.2  ปี 2556  มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.2  ปี 2556  มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.2 ปี 2556 มีตัวชี้วัด
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Curriculum2551&2560

  • 1. นางสาวกชกร สาราญโสม 583050158-9 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รายวิชา 237300 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN ELEMENTARY SCHOOL การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์
  • 2. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. บอกข้อมูลที่สนใจและ แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว • ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ ต่างๆ • แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว เช่น บ้าน ห้องสมุด ผู้ปกครอง ครู หนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ 1. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลอง ผิดลองถูก การเปรียบเทียบ • การแก้ปัญหาให้ประสบความสาเร็จ ทาได้โดยใช้ขั้นตอน การแก้ปัญหา • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่าง ของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋ า 2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ • อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ กล้องดิจิทัล โทรศัพท์มือถือ • ประโยชน์ของอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ใช้ในการเรียน ใช้วาดภาพ ใช้ ติดต่อสื่อสาร 2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ • การแสดงขั้นตอนการ แก้ปัญหาทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้ สัญลักษณ์ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่าง ของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋ า 3. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาาสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ตัวละครย้าย ตาแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลี่ยนรูปร่าง • ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตร คาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
  • 3. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 4. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ • การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น เช่น การใช้เมาส์ คีย์บอร์ด จอสัมผัสการเปิด-ปิด อุปกรณ์ เทคโนโลยี • การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การ เรียกใช้ไฟล์ ทาได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนาเสนอ • การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็น ระบบจะทาให้ เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน อย่างเหมาะสม • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย เช่น รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น ผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความช่วยเหลือ เกี่ยวกับการใช้งาน • ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแล รักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาด ใช้ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี • การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง การพัก สายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวังอุบัติเหตุจาก การใช้งาน
  • 4. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.2 1. บอกประโยชน์ของข้อมูลและ รวบรวมข้อมูลที่สนใจจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ • ข้อมูลบางอย่างมีประโยชน์ในการดาเนินชีวิตต้อง พิจารณาก่อนนาไปใช้ • แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งข้อมูลที่มีการรวบรวบ ข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์มีเหตุผลและ มีการอ้างอิง เช่น - แหล่งข้อมูลของทางราชการ - แหล่งข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ตรงและ ศึกษาในเรื่องนั้นๆ • การรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูล หลายแหล่ง ที่เชื่อถือได้ ช่วยให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องและสมบูรณ์มากขึ้น 1. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ • การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมตัวต่อ 6-12 ชิ้น การแต่งตัวมาโรงเรียน 2. บอกประโยชน์และการรักษา แหล่งข้อมูล • ประโยชน์ของแหล่งข้อมูล • การรักษาแหล่งข้อมูล เป็นการรักษาสภาพ ของแหล่งข้อมูลให้คงอยู่และใช้งานได้นานๆ เช่น ไม่ขีดเขียน ตามสถานที่ต่างๆ ปฏิบัติตามระเบียบการใช้แหล่งข้อมูล และไม่ทาให้แหล่งข้อมูลเกิดความชารุดเสียหาย 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของ โปรแกรม • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ ตัวละครทางานตามที่ต้องการ และตรวจสอบ ข้อผิดพลาด ปรับแก้ไขให้ได้ผลลัพธ์ตามที่กาหนด • การตรวจหาข้อผิดพลาดทาได้โดยตรวจสอบคาสั่ง ที่แจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ ต้องการให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง • ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
  • 5. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.2 3. บอกชื่อและ หน้าที่ของอุปกรณ์ พื้นฐานที่เป็น ส่วนประกอบหลัก ของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยรับเข้าหน่วย ประมวลผลหน่วยส่งออกซึ่งการประมวลผลเป็นการกระทา (คานวณเปรียบเทียบ) กับข้อมูลที่รับเข้ามา • อุปกรณ์พื้นฐานที่เป็นส่วนประกอบหลักของ คอมพิวเตอร์ มีดังนี้ - เมาส์ ทาหน้าที่ เลื่อนตัวชี้และคลิกคาสั่ง - แผงแป็นอักขระ ทาหน้าที่รับข้อความสัญลักษณ์และตัวเลข - จอภาพ ทาหน้าที่ แสดงข้อความ ภาพ - ซีพียู ทาหน้าที่ ประมวลผลข้อมูล - ลาโพง ทาหน้าที่ ส่งเสียง - เครื่องพิมพ์ ทาหน้าที่ พิมพ์ข้อความภาพทางกระดาษ - อุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น แผ่นบันทึก ซีดี หน่วยความจาแบบแฟลช 3. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด หมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ • การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและ ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การเรียกใช้ไฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทาได้ ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคาโปรแกรม กราฟิก โปรแกรมนาเสนอ • การสร้าง คัดลอก ย้าย ลบ เปลี่ยนชื่อ จัด หมวดหมู่ไฟล์และโฟลเดอร์อย่างเป็นระบบจะทาให้ เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์ เบื้องต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น ผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการ ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งาน • ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาดใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี • การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง การพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวังอุบัติเหตุจากการใช้งาน
  • 6. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.3 1. ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน และนาเสนอข้อมูลในลักษณะ ต่างๆ • ขั้นตอนการค้นหาข้อมูล ประกอบด้วย การกาหนดหัวข้อที่ต้องการค้นหา การเลือกแหล่งข้อมูล การ เตรียมอุปกรณ์ การค้นหาและรวบรวมข้อมูลการพิจารณา การสรุปผล • การนาเสนอข้อมูลสามารถทาได้หลายลักษณะตาม ความเหมาะสม เช่น นาเสนอหน้าชั้นเรียน จัดทา เอกสารรายงานจัดทาป้ายประกาศ จัดทาสื่อนาเสนอด้วย คอมพิวเตอร์ 1. แสดงอัลกอริทึมในการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ • อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา • การแสดงอัลกอริทึมทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ • ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetri เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทาความสะอาดห้องเรียน 2. บอกวิธีดูแลและรักษา อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ • วิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ - ศึกษาและปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งาน - ปฏิบัติตามระเบียบการใช้และการดูแลรักษา 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมที่สั่งให้ ตัวละครทางานซ้าไม่สิ้นสุด • การตรวจหาข้อผิดพลาดทาได้โดยตรวจสอบคาสั่ง ที่แจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ ต้องการให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง • ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
  • 7. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.3 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ • อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ช่วยให้การ ติดต่อสื่อสารทาได้สะดวกและรวดเร็ว และเป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วยในการ เรียนและการดาเนินชีวิต • เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสาหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ • การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทาได้โดยใช้เว็บไซต์ สาหรับสืบค้น และต้องกาหนดคาค้นที่เหมาะสมจึงจะได้ข้อมูลตามต้องการ • ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทาอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่าง ๆ ข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย (อาจเป็นความรู้ในวิชาอื่นๆ หรือเรื่องที่เป็นประเด็น ที่สนใจในช่วงเวลานั้น) • การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง 4. รวบรวม ประมวลผล และ นาเสนอข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์ ตามวัตถุประสงค์ • การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียม อุปกรณ์ในการจดบันทึก • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลาดับ • การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม เช่น การบอกเล่า การทาเอกสารรายงาน การจัดทาป้ายประกาศ • การใช้ซอฟต์แวร์ทางานตามวัตถุประสงค์ เช่น ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิก สร้างแผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคา ทาป้ายประกาศ หรือ เอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ ตารางทางานในการประมวลผลข้อมูล
  • 8. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.3 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัยปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ต • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปกป้องข้อมูลส่วนตัว • ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้งาน เมื่อ พบข้อมูลหรือบุคคลที่ทาให้ไม่สบายใจ • การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทาให้ไม่เกิดความ เสียหาย ต่อตนเองและผู้อื่น เช่นไม่ใช้คาหยาบ ล้อเลียน ด่าทอทาให้ผู้อื่นเสียหาย หรือเสียใจ • ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
  • 9. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 1. บอกชื่อและหน้าที่ของ อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ • อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น - กล้องดิจิทัล ทาหน้าที่ บันทึกภาพ - สแกนเนอร์ ทาหน้าที่ สแกนข้อความ หรือภาพที่อยู่ในรูปสิ่ง พิมพ์ ให้อยู่ในรูปข้อมูลดิจิทัล - แผ่นซีดี ทาหน้าที่ เก็บข้อมูล 1. แสดงอัลกอริทึมในการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ • อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา • การแสดงอัลกอริทึมทาได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ • ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetri เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทาความสะอาดห้องเรียน 2.บอกหลักการทางานเบื้องต้น ของคอมพิวเตอร์ • หลักการทางานเบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ มีดังนี้รับข้อมูลเข้าโดยผ่านหน่วยรับเข้า แล้วส่งข้อมูลไป จัดเก็บไว้ยังหน่วยความจาจากนั้นส่งข้อมูลไปยังหน่วย ประมวลผลเพื่อผ่านกระบวนการคานวณและเปรียบเทียบ ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ผลลัพธ์ ที่ได้จะถูกส่งไปยังหน่วย แสดงผล • การจัดประเภทของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตามหลักการทางานเบื้องต้น เช่น - อุปกรณ์รับข้อมูล เช่น เมาส์ แผงแป้นอักขระ - อุปกรณ์ประมวลผล ได้แก้ซีพียู - อุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ ลาโพง เครื่องพิมพ์ 2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่าง ง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และ ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การออกแบบโดยใช้ storyboard หรือการออกแบบอัลกอริทึม • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ หากมี ข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทา ให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ ถูกต้อง • ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเรื่องราว เช่น นิทานที่มี การตอบโต้กับผู้ใช้ การ์ตูนสั้น เล่ากิจวัตรประจาวัน ภาพเคลื่อนไหว • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่น จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น • ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
  • 10. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 3. บอกประโยชน์และโทษจาก การใช้งานคอมพิวเตอร์ • ประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์ - ใช้สร้างงาน เช่น จัดทารายงาน สร้างงาน นาเสนอ - ใช้ติดต่อสื่อสารและค้นหาความรู้ เช่น ส่ง e-mail ค้นหา ข้อมูล ศึกษาบทเรียน - ใช้เพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลง ดูภาพยนตร์ ร้อง เพลง • โทษจากการใช้งานคอมพิวเตอร์ - ต่อร่างกาย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานาน เป็นผลเสียต่อสุขภาพ - ต่อสังคม เช่น การถูกล่อลวง การสูญเสียความสัมพันธ์กับ ครอบครัว 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล • การใช้คาค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่ รวดเร็วและตรงตามความต้องการ • การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณา ประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการสานักข่าว องค์กร) ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูลการอ้างอิง • เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนา เนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูลที่มีความ สอดคล้องและสัมพันธ์กัน • การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูลจะต้องนาข้อมูลมา เรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของตนเองที่เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมายและวิธีการนาเสนอ (บูรณาการกับวิชา ภาษาไทย) 4. ใช้ระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์เพื่อการทางาน • ประเภทของซอฟต์แวร์ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบ และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ • การใช้งานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เช่น การสร้าง ลบ เปลี่ยนชื่อ ย้ายแฟ้มและโฟลเดอร์ 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ หลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน • การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลาดับ การหาผลรวม • วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ประเมิน ทางเลือก (เปรียบเทียบ ตัดสิน)
  • 11. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 • การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม ความเหมาะสม เช่น การบอกเล่า เอกสารรายงานโปสเตอร์ โปรแกรมนาเสนอ • การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เช่น การ สารวจเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์ สร้างแบบสอบถาม และเก็บข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานเพื่อประมวลผลข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าทางโภชนาการและสร้างรายการ อาหารสาหรับ 5 วัน ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการสารวจ รายการอาหารที่เป็นทางเลือก และข้อมูลด้านโภชนาการ 5. สร้างภาพหรือชิ้นงานจาก จินตนาการโดยใช้โปรแกรม กราฟิกด้วยความรับผิดชอบ • การใช้โปรแกรมกราฟิกขั้นพื้นฐาน เช่น การวาดภาพ การระบายสี การพิมพ์ข้อความ • การสร้างภาพหรือชิ้นงานโดยใช้โปรแกรม กราฟิก เช่น การวาดภาพประกอบการเล่านิทานโดยไม่ คัดลอกผลงานผู้อื่น ใช้คาสุภาพและไม่สร้างความเสียหายต่อ ผู้อื่น 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัยเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง เมื่อพบข้อมูล หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจ สิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น เช่น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อื่น ไม่สร้างความเดือดร้อนต่อ ผู้อื่นโดยการส่งสแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูล ส่วนตัวของผู้อื่น ส่งคาเชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวหรือ การบ้านของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์/ชื่อบัญชีของผู้อื่น • การสื่อสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ • การปกป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจากระบบเมื่อเลิก ใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอกเลขประจาตัวประชาชน
  • 12. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.5 1.ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ และเป็นประโยชน์จาก แหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรง ตามวัตถุประสงค์ • การดาเนินการเพือให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ มี ขั้นตอนดังนี้ - กาหนดวัตถุประสงค์และความต้องการของสิ่งที่สนใจเพื่อ กาหนดข้อมูลที่ต้องการค้นหา - วางแผนและพิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ - กาหนดหัวข้อของข้อมูลที่ต้องการค้นหาเตรียมอุปกรณ์ที่ ต้องใช้ในการค้นหา บันทึก และเก็บข้อมูล - ค้นหาและรวบรวมข้อมูล - พิจารณา เปรียบเทียบ ตัดสินใจ - สรุปผลและจัดทารายงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล - เก็บรักษาข้อมูลให้พร้อมใช้งานต่อไป 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาการทางาน การคาดการณ์ ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือ เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ • สถานะเริ่มต้นของการทางานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่ แตกต่างกัน • ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku , โปรแกรม ทานายตัวเลข, โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิตตามค่าข้อมูลเข้า, การจัดลาดับการทางานบ้านในช่วงวันหยุด, จัดวางของในครัว 2. สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันด้วย ความรับผิดชอบ • การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคาขั้นพื้นฐาน เช่น การสร้างเอกสารใหม่ การตกแต่งเอกสารการบันทึกงาน เอกสาร • การสร้างงานเอกสาร เช่น บัตรอวยพรใบประกาศ รายงาน โดยมีการอ้างอิง แหล่งข้อมูล ใช้คาสุภาพ และ ไม่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา ข้อผิดพลาดและแก้ไข • การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียนเป็น ข้อความ หรือผังงาน • การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตรงตามความ ต้องการ • หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อ พบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
  • 13. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.5 • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วย พัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ โปรแกรมรับข้อมูลน้าหนักหรือส่วนสูงแล้วแสดงผลความสมส่วน ของร่างกาย, โปรแกรมสั่งให้ตัวละครทาตามเงื่อนไขที่กาหนด • ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch,logo 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล • การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และการพิจารณาผลการค้นหา • การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล บล็อก โปรแกรม สนทนา • การเขียนจดหมาย (บูรณาการกับวิชาภาษาไทย) • การใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน เช่น ใช้นัดหมายในการประชุมกลุ่มประชาสัมพันธ์กิจกรรมในห้องเรียน การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในการเรียน ภายใต้การดูแล ของครู • การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น เปรียบเทียบความ สอดคล้อง สมบูรณ์ของข้อมูลจากหลายแหล่ง แหล่งต้นตอของ ข้อมูล ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูล • ข้อมูลที่ดีต้องมีรายละเอียดครบทุกด้าน เช่น ข้อดีและข้อเสีย ประโยชน์และโทษ
  • 14. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.5 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ข้อมูลและสารสนเทศ ตาม วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวันในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือ บุคคลที่ไม่เหมาะสม • การรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สร้างทางเลือกประเมินผล จะ ทาให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ • การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายใน การรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล นาเสนอ จะ ช่วยให้การแก้ปัญหาทาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยา • ตัวอย่างปัญหา เช่น ถ่ายภาพและสารวจแผนที่ในท้องถิ่นเพื่อ นาเสนอแนวทางในการจัดการพื้นที่ว่างให้เกิดประโยชน์ ทาแบบ สารวจความคิดเห็นออนไลน์ และวิเคราะห์ข้อมูล นาเสนอข้อมูลโดย การใช้ Blog หรือ web page 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัยมีมารยาท เข้าใจสิทธิ และหน้าที่ของตน เคารพ • อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต (บูรณาการกับวิชาที่ เกี่ยวข้อง)
  • 15. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.6 1. บอกหลักการ เบื้องต้นของการ แก้ปัญหา • หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา - พิจารณาปัญหา - วางแผนแก้ปัญหา - แก้ปัญหา - ตรวจสอบและปรับปรุง 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ อธิบายและออกแบบวิธีการ แก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน • การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา • แนวคิดของการทางานแบบวนซ้า และเงื่อนไข • การพิจารณากระบวนการทางานที่มีการทางานแบบ วนซ้า หรือเงื่อนไขเป็นวิธีการที่จะช่วยให้การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ • ตัวอย่างปัญหา เช่น การค้นหาเลขหน้าที่ต้องการให้เร็ว ที่สุด, การทายเลข ๑ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบให้ถูกภายใน ๒๐ คาถาม, การคานวณ เวลาในการเดินทาง โดยคานึงถึงระยะทาง เวลา จุดหยุดพัก 2. ใช้คอมพิวเตอร์ใน การค้นหาข้อมูล • การใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล เช่น ค้นหาข้อมูล ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ค้นหาข้อมูลจากซีดีรอม 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรม อย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน ตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและ แก้ไข • การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียนเป็นข้อความ หรือผังงาน • การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปรการวนซ้า การตรวจสอบ เงื่อนไข • หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ ไม่ถูกต้องให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหา สาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น • ตัวอย่างปัญหา เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหาค่าค.ร.น เกมฝึกพิมพ์ • ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
  • 16. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.6 3. เก็บรักษาข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ • การเก็บรักษาข้อมูลในรูปแบบต่างๆ - สาเนาถาวร เช่น เอกสาร แฟ้มสะสมงาน - สื่อบันทึก เช่น เทป แผ่นบันทึก ซีดีรอม หน่วยความจาแบบ แฟลช 3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล อย่างมีประสิทธิภาพ • การค้นหาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการค้นหาข้อมูลที่ได้ ตรงตามความต้องการในเวลาที่รวดเร็ว จากแหล่งข้อมูลที่ น่าเชื่อถือหลายแหล่ง และข้อมูลมีความสอดคล้องกัน • การใช้เทคนิคการค้นหาขั้นสูง เช่น การใช้ตัวดาเนินการ การระบุรูปแบบของข้อมูล หรือชนิดของไฟล์ • การจัดลาดับผลลัพธ์จากการค้นหาของโปรแกรมค้นหา • การเรียบเรียง สรุปสาระสาคัญ (บูรณาการกับวิชา ภาษาไทย) 4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ เหมาะสมโดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ • การจัดทา ข้อมูลเพื่อการนาเสนอต้องพิจารณารูปแบบ ของข้อมูลให้เหมาะสมกับการสื่อความหมายที่เข้าใจง่ายและ ชัดเจน เช่น กราฟ ตาราง แผนภาพ รูปภาพ • การใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ เช่น การสร้างสไลด์ การ ตกแต่งสไลด์ การกาหนดเทคนิคพิเศษในการนาเสนอ • การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใหเหมาะสมกับรูปแบบ การนาเสนอ เช่น นาเสนอรายงานเอกสารโดยใช้ซอฟต์แวร์ ประมวลคานาเสนอแบบบรรยายโดยใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางาน ร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ หน้าที่ของตนเคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคล ที่ไม่เหมาะสม • อันตรายจากการใช้งาน และอาชญากรรมทาง อินเทอร์เน็ต แนวทางในการป้องกัน • วิธีกาหนดรหัสผ่าน • การกาหนดสิทธิ์การใช้งาน (สิทธิ์ในการเข้าถึง) • แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ • อันตรายจากการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
  • 17. ชั้น หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 (สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.2) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.6 5. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้าง ชิ้นงานจากจินตนาการหรืองาน ที่ทาในชีวิตประจาวันอย่างมี จิตสานึก และความรับผิดชอบ • การสร้างชิ้นงานต้องมีการวางแผนงานและการ ออกแบบอย่างสร้างสรรค์ • ใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สร้างชิ้นงาน เช่น แผ่นพับ ป้าย ประกาศ เอกสารแนะนาชิ้นงานสไลด์นาเสนอข้อมูลโดยมี การอ้างอิงแหล่งข้อมูล ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่คัดลอก ผลงานผู้อื่น ใช้คาสุภาพและไม่สร้างความเสียหายต่อผู้อื่น
  • 18. สาเหตุที่มีการปรับปรุงหลักสูตร เนื่องจากความซ้าซ้อนของเนื้อหาระหว่างชั้นปี หรือช่วงชั้น รวมถึงระหว่างกลุ่มสาระ รวมทั้งความไม่เหมาะสมของการใช้ตัวชี้วัดร่วมในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ได้กาหนดให้มีตัวชี้วัดเดียวกันทั้งนักเรียนกลุ่ม ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์ และนักเรียนกลุ่มที่เน้นวิทยาศาสตร์ เกิดปัญหาในเรื่องความยากง่ายที่ไม่เหมาะสมกับนักเรียนทั้ง 2 กลุ่มนี้ และ การกาหนดสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีออกมาทาให้ขาดความเชื่อมโยงจากเนื้อหานาไปสู่การปฏิบัติ ทาให้ นักเรียนขาดทักษะปฏิบัติการต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้มีการบรรจุสาระ การออกแบบและเทคโนโลยีและสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีผล ให้การจัดการเรียนรู้ในสาระดังกล่าวเน้นการเรียนเพื่อเป็นผู้ใช้งานเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องและปลอดภัย มากกว่าการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของผู้เรียนเพื่อเป็นผู้สร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเดิม
  • 19. การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้ลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา เน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา เพิ่มการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อตอบรับกับการพัฒนากาลังคนให้มีศักยภาพสูงในการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ นอกจากนั้น สิ่งที่ สสวท. ได้ทาไว้รองรับหลังจากประกาศใช้หลักสูตรใหม่ ก็คือ การจัดทาคู่มือการใช้หลักสูตร ในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ซึ่งครูและโรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมและ จัดการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสานักพิมพ์อื่น ๆ ที่สนใจสามารถดาเนินการผลิตหนังสือเรียนตามกรอบ หลักสูตรใหม่ได้อย่างสะดวก โดยใช้กิจกรรมและแนวทางการจัดกิจกรรมจากคู่มือการใช้หลักสูตรนี้ได้เช่นกัน การปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) “หลักสูตรใหม่ ผลักดันสังคมไทยก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0” ดร. พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อานวยการ สสวท.
  • 20. การปรับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลาง จะมีผลกระทบต่อผู้เรียนทั้งประเทศ อีกทั้ง สภาพโรงเรียนก็แตกต่างกันอย่างมาก แต่ที่น่าแปลกใจคือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปรับหลักสูตร คือ คณะกรรมการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน(กพฐ.) แต่กลับไม่ทราบเรื่องนี้เลย ดังนั้นคาสั่งดังกล่าวดูอาจไม่เหมาะสมและขาดการมีส่วนร่วมจาก กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามยอมรับว่า เรื่องการปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดให้ทันสมัยเป็นสิ่งที่ จาเป็น และควรต้องรีบดาเนินการ ปัญหา คือ กระบวนการปรับปรุงหลักสูตรต้องมาจากการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง ผศ.ดร.พัทธนันท์