SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1                            เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ภาคเรียนที่ 1/2551                                   เวลา 2 คาบ
วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว33101)                       สัปดาหที่ 1 วันที่ 9-10 มิ.ย. 51
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3                                หอง 3/3 , 3/4
นิสิตฝกสอน นางสาวประภาวดี คําดอนหัน                 อาจารยนิเทศ อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ



มาตรฐานการเรียนรู
          มาตรฐานการเรียนรู ว1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

จุดมุงหมายของหลักสูตร
         1. เพื่อผลิตและพัฒนานักเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิทยาศาสตร
         2. ใหนกเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางดาน
                  ั                               
วิทยาศาสตร
         3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพร
องคความรูใหกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ

คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน
          1. นักเรียนมีทกษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรู
                        ั                                     
วิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อ และแหลงการศึกษาตางๆ
          2. นักเรียนมีความรู และมีทกษะพื้นฐานดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
                                     ั
สิ่งแวดลอมเพียงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา
รวมทั้งรูจักเลือกใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม และตระหนักถึง
ความสําคัญของการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม




                   Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                   http://kids-d.swu.ac.th
สาระพื้นฐาน
        สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

มาตรฐานการเรียนรู
          มาตรฐานการเรียนรู ว1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
      สืบคนขอมูล อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับสารพันธุกรรมในนิวเคลียสที่ควบคุมลักษณะ
และกระบวนการตางๆ ของเซลล สารพันธุกรรมสามารถถายทอดไปสูลูกหลาน และรูถึงประโยชน
ของการใชความรูดานพันธุกรรม

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
        1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะที่ถูกถายทอดทางพันธุกรรมได
        2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของคําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมได
        3. นักเรียนสามารถอธิบายถึงลักษณะเดนและดอยของแตละบุคคลได

สาระการเรียนรู
        การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
        สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีลักษณะเฉพาะ และแตกตางจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ถานักเรียนสังเกต
ลักษณะของเพื่อนในชั้นและในโรงเรียน จะพบวามีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน แตก็มีรายละเอียด
ของลักษณะที่แตกตางกัน เชน บางคนมีจมูกโดง บางคนมีหนังตาชั้นเดียว บางคนตามีสีน้ําตาล
บางคนมีผมหยักศก ลักษณะตาง ๆ เหลานี้ไดรับการถายทอดมาจากพอแมและสามารถถายทอด
จากรุนหนึ่งไปยังรุนตอไปได เราเรียกลักษณะที่ถายทอดไดนี้วาลักษณะทางพันธุกรรม




                   Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                   http://kids-d.swu.ac.th
คําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
          ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุมโดยยีน ซึ่งสามารถถายทอดจาก
รุนหนึ่งไปยังรุนตอไปได เชนจากพอ-แม ไปสูลูกหลาน หรือ จากชัวอายุหนึ่งสืบตอเนื่องกันไป
                                                                     ่
เรื่อยๆโดยอาศัยเซลลสืบพันธุ เปนสื่อกลางในการถายทอด
          หนวยพันธุกรรมหรือยีน (gene) หมายถึงหนวยควบคุมการแสดงออกของลักษณะตาง ๆ
ในสิ่งมีชีวิต ลักษณะตาง ๆ เหลานี้สามารถถายทอดจากพอและแมไปยังลูกหลานได โดยปกติ
หนวยพันธุกรรมหรือยีนนี้จะอยูกันเปนคู ๆ บนโครโมโซม ซึ่งจะอยูภายในนิวเคลียสของทุก ๆ
เซลล หนวยพันธุกรรมแตละคู จะไดมาจากพอหนวยหนึ่งและไดจากแมหนวยหนึ่ง เชน สีผม สี
ตา สีผิว ความสูง สติปญญา ลักษณะเสนผม ลักยิ้ม เปนตน สวนลักษณะที่ไมใชลักษณะทาง
พันธุกรรม เชน เพศ เสียง ลักษณะอวน ผอม เปนตน
          โครโมโซม (Chormosome) คือ รางแหโครมาตินหรือรางแหนิวเครียสที่หดตัวสั้นขณะที่
เซลลมีการแบงตัวและเปนที่อยูของยีน โครโมโซมประกอบดวยแขน 2 ขาง ที่เรียกวา โครมาทิด
(chromatid) ซึ่งแขนทั้งสองขางนี้จะมีจุดที่เชื่อมกัน เรียกวา เซนโทรเมียร (centromere) ถาดูจาก
แบบจําลองอาจจะมองดูคลายกับปาทองโกที่เชื่อมติดกัน
          ยีนเดน (Dominant) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะนั้นออกมาได แมมียีนเพียงยีนเดียว
สัญลักษณใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ เชน T G R เปนตน
          เชน ยีนที่ควบคุมลักษณะสูง(T) อยูคูกับยีนที่ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) แตแสดงลักษณะสูง(Tt)
ออกมา แสดงวายีนที่ควบคุมลักษณะสูงเปนยีนเดน
          ยีนดอย (Recessive) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะใหปรากฏออกมาไดก็ตอเมื่อบนคูของ
โครโมโซมนั้น ปรากฏแตยีนดอย สัญลักษณใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก เชน t g r เปนตน
          เชน การแสดงออกของลักษณะเตี้ย(tt) จะตองมียีนที่ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) อยูคูกับยีนที่
ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) เทานั้น
          แอลลีล (Allelic gene) การเขาคูกันไดของยีน เชน ให T แทนลักษณะสูง และ t แทน
ลักษณะเตี้ย ให G แทนลักษณะฝกสีเขียว และ g แทนลักษณะฝกสีเหลือง ถายีนที่เขาคูกันคือ TT Tt
tt GG Gg และ gg เรียกยีนที่เขาคูกันวา ยีนที่เปนแอลลีลกัน นั้นก็คือ T เปนแอลลีลกับ T และ G เปน
แอลลีลกับ G แตยีนที่ควบคุมลักษณะคนละชนิดกันไมสามารถเปนแอลลีลกันได คือ T ไมเปนแอล
ลีลกัน
          จีโนไทป (Genotype) เปนลักษณะของยีนที่อยูบนโครโมโซม ไมสามารถมองเห็นลักษณะ
จีโนไทปได ใชสัญลักษณแทน เชน TT , Tt , tt
          ฟโนไทป (Phenotype) เปนลักษณะที่ปรากฏใหเห็นภายนอก เชน สีผม สีผิว ความสูง
อวน เปนตน


                     Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                     http://kids-d.swu.ac.th
โฮโมไซกัส (Homozygous) หรือพันธุแท เปนลักษณะของจีโนไทปที่มียีนทั้งคูเหมือนกัน
ซึ่งอาจเปนยีนแสดงลักษณะเดนทั้งคูหรือดอยทั้งคูก็ได เชน TT , tt
         เฮเทอโรไซกั ส (Heterozygous) หรื อ พั น ทาง เป น ลั ก ษณะของจี โ นไทป ที่ มี ยี น ทั้ ง คู
แตกตางกัน คือมียีนแสดงลักษณะเดนหนึ่งตัวและแสดงลักษณะดอยหนึ่งตัว เชน Tt
         การถายทอดลักษณะเดนสมบูรณ (Complete dominant) ลักษณะเดนสมบูรณ คือ
ลักษณะที่แสดงออกโดยมีลักษณะเดนสามารถขมลักษณะดอยไวไดโดยสมบูรณ เชน สูงขมเตี้ย
ดําขมขาว
         การถายทอดลักษณะเดนไมสมบูรณ (Incomplete dominant) เปนลักษณะที่ยีนเดนขมยีน
ดอยไมหมด ยีนดอยมีอิทธิพลมาก ผสมแลวได ลักษณะระหวางลักษณะเดนกับลักษณะดอยผสม
กลมกลืนกันทั้ง 2 ลักษณะ เชน การถายทอดสีของดอกบานเย็น ดอกพุทธรักษา

กิจกรรมการเรียนการสอน
           รูปแบบการเรียนการสอน : รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนแบบ 5Es
ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ
           1) ครูคุย/ทักทายนักเรียนและชีแจงเกียวกับการมอบหมายงาน
                                           ้     ่
           2) ครูใหนักเรียนทุกคนประดิษฐสมุดบันทึกจากความคิดสรางสรรคโดยมีคําแนะนําของ
ครูใชสําหรับสรุปเนื้อหา ความรู จดบันทึกความประทับใจที่มีตอครูและตัวเองรวมถึงปญหาที่สงสัย
ที่ไดเรียนในคาบลงในสมุดเลมนั้น
           3) ครูใหนักเรียนชวยกันแจกเอกสารประกอบการเรียนรู เรือง การถายทอดลักษณะทาง
                                                                  ่
พันธุกรรม แกเพื่อนๆภายในชั้นเรียน
           4) ครูถามนักเรียนวาคนหรือสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร
เพื่อนําเขากิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน
ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา
           1) ครูแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน
           2) ครูสุมนักเรียนออกมาหนึ่งคนและถามถึงผลการทํากิจกรรม 1 และใหนกเรียนเรียก
                                                                               ั
เพื่อนคนตอไปออกมาจนครบทุกคน
           3) ครูแจกใบความรูที่ 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และใหนักเรียนศึกษา
ใบความรู
           4) ครูแจกใบงานที่ 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม




                      Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                      http://kids-d.swu.ac.th
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป
           1) ครูอธิบายวิธีการทํากิจกรรมที่ 1 ใหนกเรียนฟง
                                                  ั
           2) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการทํากิจกรรมที่ 1 และอธิบายเนื้อหาการถายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมเพิ่มเติมโดยใชสื่อ PowerPoint
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู
           1) ครูใหนกเรียนดูภาพลักษณะตางๆของคนพรอมทั้งถามนักเรียนวาภาพใดเปนลักษณะ
                       ั
เดน ภาพใดเปนลักษณะดอยและลักษณะทีปรากฎนั้นเปนลักษณะทางพันธุกรรมหรือไหมเพื่อย้ํา
                                             ่
ความเขาใจของนักเรียน
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล
           1) ครูใหนกเรียนทุกคนสงใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน
                     ั
           2) ครูใหนกเรียนสงสมุดบันทึก
                         ั
           3) ครูใหนกเรียนสงเกมจับคูคําศัพท
                           ั

สื่อการเรียนการสอน
         1. ใบความรู 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
         2. ใบกิจกรรม 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน
         3. ใบงาน 1 จับคูคําศัพท
         4. สื่อ PowerPoint เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
         5. เอกสารประกอบการเรียนรู เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

การวัดผลและประเมินผล
          1) สังเกตการณปฏิบัติกิจกรรมและการอภิปราย ซึ่งจะประเมินทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรของนักเรียนขณะทําการทดลอง การนําเสนอผลการทดลอง
          2) ใหคะแนนจากใบกิจกรรมและการตอบคําถามทายบท
          3) ประเมินความรับผิดชอบ ความกระตือรือรน ความเพียรพยายาม ความมีน้ําใจ ความ
ซื่อสัตยและความสนใจในการตอบคําถาม ที่นักเรียนแสดงออกใหเห็นตลอดกระบวนการเรียนรู




                   Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                   http://kids-d.swu.ac.th
บรรณานุกรม
      ประดับ นาคแกว.(2548).หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วิทยาศาสตร ม.3.แม็ค.
                                                          
                หนา 9-35
      สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2541).คูมือครู
                วิชาชีววิทยา 2 ว 048.คุรุสภาลาดพราว.หนา 1-28
      http://www.maceducation.com
      http://www.bss.ac.th
      http://www.wt.ac.th




                  Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                  http://kids-d.swu.ac.th
บันทึกหลังการสอน
       ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอน การสอนตามแผนนี้เปนไปตามที่วางแผนไวหรือไม ถาไม
เปนไปตามแผน ผูสอนไดแกปญหาอยางไร มีขอเสนอแนะ/สิ่งที่ไดเรียนรู/มีขอบกพรองอยางไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

                             ลงชื่อ.............................................................(นิสิตปฏิบัติการสอน)
                                         (นางสาวประภาวดี คําดอนหัน)


                   Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                   http://kids-d.swu.ac.th
บันทึกหลังการสอนของอาจารยนิเทศ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

                               ลงชื่อ....................................................................(อาจารยนิเทศประจําโรงเรียน)
                                                       (อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ)


                                  Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
                                  http://kids-d.swu.ac.th
ผังความคิด เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม


การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม


                  คําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
                                  • ลักษณะทางพันธุกรรม
                                  • ความแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรม
                                      (Genetic variation)
                                  • พันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ (Heredity)
                                  • หนวยพันธุกรรมหรือยีน (gene)
                                  • โครโมโซม (Chormosome)
                                  • ยีนเดน (Dominant)
                                  • ยีนดอย (Recessive)
                                  • แอลลีล (Allelic gene)
                                  • มัลติเปลแอลลีล (Multiple alleles)
                                  • จีโนไทป (Genotype)
                                  • ฟโนไทป (Phenotype)
                                  • โฮโมไซกัส (Homozygous) หรือพันธุแท
                                  • เฮเทอโรไซกั ส (Heterozygous) หรื อ
                                      พันทาง
                                  • ลักษณะเดน (Dominant)
                                  • ลักษณะดอย (Recessive)
                                  • ลักษณะเดนรวม (Co-dominant)
                                  • ก า ร ถ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ เ ด น ส ม บู ร ณ
                                      (Complete dominant)
                                  • การถ า ยทอดลั ก ษณะเด น ไม ส มบู ร ณ
                                      (Incomplete dominant)



       Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
       http://kids-d.swu.ac.th

More Related Content

What's hot

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก กkrupornpana55
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Ketsarin Prommajun
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
tanakit pintong
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
Prachoom Rangkasikorn
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
kruthai40
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
tanakit pintong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกKob Ying Ya
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
Chamada Rinzine
 

What's hot (19)

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก ก
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 

Viewers also liked

Tax center 2013
Tax center 2013Tax center 2013
Tax center 2013
25thbsb
 
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-GovernmentOpen Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
abiyotb
 
Social media in government - presentation to NSW Health
Social media in government - presentation to NSW HealthSocial media in government - presentation to NSW Health
Social media in government - presentation to NSW Health
Craig Thomler
 
University of Freiburg
University of FreiburgUniversity of Freiburg
University of Freiburg
University of Freiburg
 
We Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
We Love Local Government - social media presentation for ADSO EventWe Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
We Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
Glen Ocsko
 
Social Media for Municipalities
Social Media for MunicipalitiesSocial Media for Municipalities
Social Media for Municipalities
Geben Communication
 
The Outcome Economy
The Outcome EconomyThe Outcome Economy
The Outcome Economy
Helge Tennø
 

Viewers also liked (7)

Tax center 2013
Tax center 2013Tax center 2013
Tax center 2013
 
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-GovernmentOpen Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
Open Data & Social Media: Recent Trends in e-Government
 
Social media in government - presentation to NSW Health
Social media in government - presentation to NSW HealthSocial media in government - presentation to NSW Health
Social media in government - presentation to NSW Health
 
University of Freiburg
University of FreiburgUniversity of Freiburg
University of Freiburg
 
We Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
We Love Local Government - social media presentation for ADSO EventWe Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
We Love Local Government - social media presentation for ADSO Event
 
Social Media for Municipalities
Social Media for MunicipalitiesSocial Media for Municipalities
Social Media for Municipalities
 
The Outcome Economy
The Outcome EconomyThe Outcome Economy
The Outcome Economy
 

Similar to แผนการเรียนรู้1

แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556Kruthai Kidsdee
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
Chirinee Deeraksa
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
kruthailand
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
aphithak
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 

Similar to แผนการเรียนรู้1 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 

แผนการเรียนรู้1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ภาคเรียนที่ 1/2551 เวลา 2 คาบ วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว33101) สัปดาหที่ 1 วันที่ 9-10 มิ.ย. 51 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หอง 3/3 , 3/4 นิสิตฝกสอน นางสาวประภาวดี คําดอนหัน อาจารยนิเทศ อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ว1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน จุดมุงหมายของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตและพัฒนานักเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิทยาศาสตร 2. ใหนกเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางดาน ั  วิทยาศาสตร 3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพร องคความรูใหกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน 1. นักเรียนมีทกษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรู ั  วิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อ และแหลงการศึกษาตางๆ 2. นักเรียนมีความรู และมีทกษะพื้นฐานดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ ั สิ่งแวดลอมเพียงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งรูจักเลือกใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม และตระหนักถึง ความสําคัญของการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 2. สาระพื้นฐาน สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ว1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น สืบคนขอมูล อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับสารพันธุกรรมในนิวเคลียสที่ควบคุมลักษณะ และกระบวนการตางๆ ของเซลล สารพันธุกรรมสามารถถายทอดไปสูลูกหลาน และรูถึงประโยชน ของการใชความรูดานพันธุกรรม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะที่ถูกถายทอดทางพันธุกรรมได 2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของคําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมได 3. นักเรียนสามารถอธิบายถึงลักษณะเดนและดอยของแตละบุคคลได สาระการเรียนรู การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีลักษณะเฉพาะ และแตกตางจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ถานักเรียนสังเกต ลักษณะของเพื่อนในชั้นและในโรงเรียน จะพบวามีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน แตก็มีรายละเอียด ของลักษณะที่แตกตางกัน เชน บางคนมีจมูกโดง บางคนมีหนังตาชั้นเดียว บางคนตามีสีน้ําตาล บางคนมีผมหยักศก ลักษณะตาง ๆ เหลานี้ไดรับการถายทอดมาจากพอแมและสามารถถายทอด จากรุนหนึ่งไปยังรุนตอไปได เราเรียกลักษณะที่ถายทอดไดนี้วาลักษณะทางพันธุกรรม Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 3. คําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุมโดยยีน ซึ่งสามารถถายทอดจาก รุนหนึ่งไปยังรุนตอไปได เชนจากพอ-แม ไปสูลูกหลาน หรือ จากชัวอายุหนึ่งสืบตอเนื่องกันไป  ่ เรื่อยๆโดยอาศัยเซลลสืบพันธุ เปนสื่อกลางในการถายทอด หนวยพันธุกรรมหรือยีน (gene) หมายถึงหนวยควบคุมการแสดงออกของลักษณะตาง ๆ ในสิ่งมีชีวิต ลักษณะตาง ๆ เหลานี้สามารถถายทอดจากพอและแมไปยังลูกหลานได โดยปกติ หนวยพันธุกรรมหรือยีนนี้จะอยูกันเปนคู ๆ บนโครโมโซม ซึ่งจะอยูภายในนิวเคลียสของทุก ๆ เซลล หนวยพันธุกรรมแตละคู จะไดมาจากพอหนวยหนึ่งและไดจากแมหนวยหนึ่ง เชน สีผม สี ตา สีผิว ความสูง สติปญญา ลักษณะเสนผม ลักยิ้ม เปนตน สวนลักษณะที่ไมใชลักษณะทาง พันธุกรรม เชน เพศ เสียง ลักษณะอวน ผอม เปนตน โครโมโซม (Chormosome) คือ รางแหโครมาตินหรือรางแหนิวเครียสที่หดตัวสั้นขณะที่ เซลลมีการแบงตัวและเปนที่อยูของยีน โครโมโซมประกอบดวยแขน 2 ขาง ที่เรียกวา โครมาทิด (chromatid) ซึ่งแขนทั้งสองขางนี้จะมีจุดที่เชื่อมกัน เรียกวา เซนโทรเมียร (centromere) ถาดูจาก แบบจําลองอาจจะมองดูคลายกับปาทองโกที่เชื่อมติดกัน ยีนเดน (Dominant) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะนั้นออกมาได แมมียีนเพียงยีนเดียว สัญลักษณใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ เชน T G R เปนตน เชน ยีนที่ควบคุมลักษณะสูง(T) อยูคูกับยีนที่ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) แตแสดงลักษณะสูง(Tt) ออกมา แสดงวายีนที่ควบคุมลักษณะสูงเปนยีนเดน ยีนดอย (Recessive) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะใหปรากฏออกมาไดก็ตอเมื่อบนคูของ โครโมโซมนั้น ปรากฏแตยีนดอย สัญลักษณใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก เชน t g r เปนตน เชน การแสดงออกของลักษณะเตี้ย(tt) จะตองมียีนที่ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) อยูคูกับยีนที่ ควบคุมลักษณะเตี้ย(t) เทานั้น แอลลีล (Allelic gene) การเขาคูกันไดของยีน เชน ให T แทนลักษณะสูง และ t แทน ลักษณะเตี้ย ให G แทนลักษณะฝกสีเขียว และ g แทนลักษณะฝกสีเหลือง ถายีนที่เขาคูกันคือ TT Tt tt GG Gg และ gg เรียกยีนที่เขาคูกันวา ยีนที่เปนแอลลีลกัน นั้นก็คือ T เปนแอลลีลกับ T และ G เปน แอลลีลกับ G แตยีนที่ควบคุมลักษณะคนละชนิดกันไมสามารถเปนแอลลีลกันได คือ T ไมเปนแอล ลีลกัน จีโนไทป (Genotype) เปนลักษณะของยีนที่อยูบนโครโมโซม ไมสามารถมองเห็นลักษณะ จีโนไทปได ใชสัญลักษณแทน เชน TT , Tt , tt ฟโนไทป (Phenotype) เปนลักษณะที่ปรากฏใหเห็นภายนอก เชน สีผม สีผิว ความสูง อวน เปนตน Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 4. โฮโมไซกัส (Homozygous) หรือพันธุแท เปนลักษณะของจีโนไทปที่มียีนทั้งคูเหมือนกัน ซึ่งอาจเปนยีนแสดงลักษณะเดนทั้งคูหรือดอยทั้งคูก็ได เชน TT , tt เฮเทอโรไซกั ส (Heterozygous) หรื อ พั น ทาง เป น ลั ก ษณะของจี โ นไทป ที่ มี ยี น ทั้ ง คู แตกตางกัน คือมียีนแสดงลักษณะเดนหนึ่งตัวและแสดงลักษณะดอยหนึ่งตัว เชน Tt การถายทอดลักษณะเดนสมบูรณ (Complete dominant) ลักษณะเดนสมบูรณ คือ ลักษณะที่แสดงออกโดยมีลักษณะเดนสามารถขมลักษณะดอยไวไดโดยสมบูรณ เชน สูงขมเตี้ย ดําขมขาว การถายทอดลักษณะเดนไมสมบูรณ (Incomplete dominant) เปนลักษณะที่ยีนเดนขมยีน ดอยไมหมด ยีนดอยมีอิทธิพลมาก ผสมแลวได ลักษณะระหวางลักษณะเดนกับลักษณะดอยผสม กลมกลืนกันทั้ง 2 ลักษณะ เชน การถายทอดสีของดอกบานเย็น ดอกพุทธรักษา กิจกรรมการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอน : รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนแบบ 5Es ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1) ครูคุย/ทักทายนักเรียนและชีแจงเกียวกับการมอบหมายงาน ้ ่ 2) ครูใหนักเรียนทุกคนประดิษฐสมุดบันทึกจากความคิดสรางสรรคโดยมีคําแนะนําของ ครูใชสําหรับสรุปเนื้อหา ความรู จดบันทึกความประทับใจที่มีตอครูและตัวเองรวมถึงปญหาที่สงสัย ที่ไดเรียนในคาบลงในสมุดเลมนั้น 3) ครูใหนักเรียนชวยกันแจกเอกสารประกอบการเรียนรู เรือง การถายทอดลักษณะทาง ่ พันธุกรรม แกเพื่อนๆภายในชั้นเรียน 4) ครูถามนักเรียนวาคนหรือสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร เพื่อนําเขากิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 1) ครูแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน 2) ครูสุมนักเรียนออกมาหนึ่งคนและถามถึงผลการทํากิจกรรม 1 และใหนกเรียนเรียก ั เพื่อนคนตอไปออกมาจนครบทุกคน 3) ครูแจกใบความรูที่ 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และใหนักเรียนศึกษา ใบความรู 4) ครูแจกใบงานที่ 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 5. ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 1) ครูอธิบายวิธีการทํากิจกรรมที่ 1 ใหนกเรียนฟง ั 2) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการทํากิจกรรมที่ 1 และอธิบายเนื้อหาการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมเพิ่มเติมโดยใชสื่อ PowerPoint ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 1) ครูใหนกเรียนดูภาพลักษณะตางๆของคนพรอมทั้งถามนักเรียนวาภาพใดเปนลักษณะ ั เดน ภาพใดเปนลักษณะดอยและลักษณะทีปรากฎนั้นเปนลักษณะทางพันธุกรรมหรือไหมเพื่อย้ํา ่ ความเขาใจของนักเรียน ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 1) ครูใหนกเรียนทุกคนสงใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน ั 2) ครูใหนกเรียนสงสมุดบันทึก ั 3) ครูใหนกเรียนสงเกมจับคูคําศัพท ั สื่อการเรียนการสอน 1. ใบความรู 1 เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2. ใบกิจกรรม 1 เรื่อง เราเหมือนหรือตางกัน 3. ใบงาน 1 จับคูคําศัพท 4. สื่อ PowerPoint เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 5. เอกสารประกอบการเรียนรู เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การวัดผลและประเมินผล 1) สังเกตการณปฏิบัติกิจกรรมและการอภิปราย ซึ่งจะประเมินทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรของนักเรียนขณะทําการทดลอง การนําเสนอผลการทดลอง 2) ใหคะแนนจากใบกิจกรรมและการตอบคําถามทายบท 3) ประเมินความรับผิดชอบ ความกระตือรือรน ความเพียรพยายาม ความมีน้ําใจ ความ ซื่อสัตยและความสนใจในการตอบคําถาม ที่นักเรียนแสดงออกใหเห็นตลอดกระบวนการเรียนรู Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 6. บรรณานุกรม ประดับ นาคแกว.(2548).หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วิทยาศาสตร ม.3.แม็ค.  หนา 9-35 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2541).คูมือครู วิชาชีววิทยา 2 ว 048.คุรุสภาลาดพราว.หนา 1-28 http://www.maceducation.com http://www.bss.ac.th http://www.wt.ac.th Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 7. บันทึกหลังการสอน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอน การสอนตามแผนนี้เปนไปตามที่วางแผนไวหรือไม ถาไม เปนไปตามแผน ผูสอนไดแกปญหาอยางไร มีขอเสนอแนะ/สิ่งที่ไดเรียนรู/มีขอบกพรองอยางไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.............................................................(นิสิตปฏิบัติการสอน) (นางสาวประภาวดี คําดอนหัน) Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 8. บันทึกหลังการสอนของอาจารยนิเทศ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ....................................................................(อาจารยนิเทศประจําโรงเรียน) (อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ) Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th
  • 9. ผังความคิด เรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คําศัพทที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม • ลักษณะทางพันธุกรรม • ความแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรม (Genetic variation) • พันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ (Heredity) • หนวยพันธุกรรมหรือยีน (gene) • โครโมโซม (Chormosome) • ยีนเดน (Dominant) • ยีนดอย (Recessive) • แอลลีล (Allelic gene) • มัลติเปลแอลลีล (Multiple alleles) • จีโนไทป (Genotype) • ฟโนไทป (Phenotype) • โฮโมไซกัส (Homozygous) หรือพันธุแท • เฮเทอโรไซกั ส (Heterozygous) หรื อ พันทาง • ลักษณะเดน (Dominant) • ลักษณะดอย (Recessive) • ลักษณะเดนรวม (Co-dominant) • ก า ร ถ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ เ ด น ส ม บู ร ณ (Complete dominant) • การถ า ยทอดลั ก ษณะเด น ไม ส มบู ร ณ (Incomplete dominant) Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th