SlideShare a Scribd company logo
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
การรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมน
(HORMONE AND HOMEOSTASIS)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
การรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมน (HORMONE AND HOMEOSTASIS)
• 1. ฮอร์โมนและการทางานของฮอร์โมน
• 2. การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
• 3. ความผิดปกติของการรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมน
• 4. การรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมนในสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลัง
ฮอร์โมนและการทางานของฮอร์โมน
การทางานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาทและฮอร์โมน
• ระบบประสาท จะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดเร็ว เช่น การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อ ทาให้เกิด
การเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว แต่ฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อ โดยทั่วไปจะควบคุมการตอบสนองที่ช้ากว่า
และมีผลต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน เช่น การเจริญเติบโตของเซลล์ไข่ในรังไข่
การทางานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาทและฮอร์โมน
• แต่บางครั้งก็มีการทางานอย่างรวดเร็ว เช่นการทางานของอิพิเนฟริน (epinephrine) ซึ่งเป็น
ฮอร์โมนที่มีการหลั่งเมื่อตื่นเต้น ตกใจ ทาให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น เช่นเด็กเห็นสุนัข ที่มีลักษณะดุร้ายแล้วรู้สึก
กลัว ตื่นเต้น จะมีการหลั่งฮอร์โมนอิพิเนฟรินออกมา
6
7
การทางานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาทและฮอร์โมน
• อย่างไรก็ตามทั้งสองระบบจะทางานสัมพันธ์กันตลอดเวลา (coordinating system)
การทางานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาทและฮอร์โมน
• การทางานของระบบต่อมไร้ท่อหรือฮอร์โมนจะมีการทางานร่วมกับระบบประสาทอย่างใกล้ชิด ตัวอย่าง ถ้าระดับน้าตาลใน
เลือดต่า จะกระตุ้นการทางานของระบบประสาทซิมพาเทติก ทาให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น หลอดเลือดแดงหดรัดตัว
ความดันโลหิตสูงขึ้นเป็นต้น และระบบประสาท ยังไปกระตุ้นการทางานของต่อมไร้ท่อ ได้แก่ต่อมหมวกไตส่วนใน ให้หลั่ง
แคททีโคลามีน ออกมากระตุ้นตับ ให้มีการสลายไกลโคเจน กระตุ้นตับอ่อน ให้ผลิตอินซูลินน้อยลง กระตุ้นกลูคากอนให้มีการ
สลายไกลโคเจนมากขึ้น ทาให้มีการหลั่งน้าตาลออกมา ทาให้ระดับน้าตาลในกระแสเลือดและการทางานของร่างกายเป็นปกติ
การทางานร่วมกัน
ระหว่าง ระบบ
ประสาทและฮอร์โมน
การทางานร่วมกันระหว่าง
ระบบประสาทและฮอร์โมน
การทางานของฮอร์โมน :
ควบคุมการเจริญเติบโต
การทางานของฮอร์โมน : ควบคุมเมทาบอลิซึม
การทางานของฮอร์โมน :
ควบคุมการทางานอวัยวะ
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมนต่อเซลล์เป้าหมาย สามารถแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1. Paracrine hormone คือ ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์โดยการไปกระตุ้นหรือยับยั้งกระบวนการบางอย่างใน
เซลล์เป้าหมายที่อยู่ข้างเคียง
2. Autocrine hormone คือ ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ที่เซลล์ผลิตฮอร์โมนเองโดยตรง
3. Endocrine hormone คือ ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์เป้าหมายที่อยู่ระยะไกลออกไปจากเซลล์ที่
เป็นแหล่งสร้างฮอร์โมน
4. Neurocrine hormone คือ ฮอร์โมนที่สร้างจากเซลล์ประสาท เช่น neurosecretory เซลล์ภายใน
สมองส่วน hypothalamus แล้วส่งไปตามเส้นใยประสาทเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมนต่อเซลล์เป้าหมาย สามารถแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
บทบาทสาคัญของฮอร์โมน
1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย เช่น ฮอร์โมน
กระตุ้นการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ของร่างกาย มีผลให้
ร่างกายเติบโต
2. การสืบพันธุ์ เช่น ฮอร์โมนมีความสาคัญและจาเป็นต่อการเจริญ
และพัฒนาการของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ การสร้างเซลล์
สืบพันธุ์ การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ รวมทั้งลักษณะและ
พฤติกรรมทางเพศ
3. การรักษาสภาวะสมดุลภายในร่างกาย เช่น สมดุลของน้า เกลือ
แร่ และกรดเบส เป็นต้น
4. การสร้าง การใช้ และการเก็บสะสมพลังงานของร่างกาย
ปัจจัยที่ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
23
Adenylate cyclase
27
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายข้อแตกต่างของการทางานระหว่างระบบประสาทและฮอร์โมน
• จงอธิบายการทางานร่วมกันระหว่างระบบประสาทและฮอร์โมน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของโปรตีนฮอร์โมนต่อเซลล์เป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง
• จงอธิบายบทบาทสาคัญของฮอร์โมนที่มีต่อกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงบอกลักษณะการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนต่อเซลล์เป้าหมายที่มีระยะห่างแตกต่างกัน
• จงบอกปัจจัยที่มีผลในการควบคุมกระบวนการหลั่งฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
ฮอร์โมนโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามการทางาน คือ
1. ฮอร์โมนเฉพาะที่ (local hormone) มีผลเฉพาะที่มากกว่า เช่น acetylcholine ที่ปล่อยออกมาจากปลายประสาท
parasympathetic secretion ที่ปล่อยออกมาจากผนังลาไส้เล็กส่วน duodenum เป็นต้น
ฮอร์โมนโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามการทางาน คือ
2. ฮอร์โมนทั่วไป (general hormone) สร้างโดยต่อมไร้ท่อแล้วนาเข้าหลอดเลือด เพื่อไปมีผลต่อเนื้อเยื่อ (target tissue) ที่
อยู่ไกลออกไปและมีผลทั่วร่างกาย เช่น ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (growth hormone) จาก pituitary gland และ
thyroxin จาก thyroid gland
การขนส่งฮอร์โมน (hormone transportation) สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 วิธี ดังนี้
1. Portal circulation transport ประกอบด้วย
• hypothalamic–hypophyseal portal circulation เป็นระบบขนส่งฮอร์โมนจากไฮโปทาลามัสไปยังต่อมใต้
สมอง บริเวณนี้มีฮอร์โมนสูงกว่าที่อื่นๆ ประมาณ 100 เท่า
• hepatic portal circulation ขนส่งฮอร์โมนจากตับอ่อนและทางเดินอาหารไปยังตับ
2. การขนส่งผ่านผนังหลอดเลือด (endothelial transport) ผนังหลอดเลือดชั้นในทาหน้าที่จับฮอร์โมนและส่งไปยัง
เซลล์ต่างๆ
3. การขนส่งโดยจับกับโปรตีน (protein binding) ฮอร์โมนที่ละลายน้าได้ไม่ดีจะจับกับโปรตีนในพลาสมาพวกอัลบู
มินหรือโกลบูลิน ซึ่งฮอร์โมนที่เกาะกับโปรตีนไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ ส่วนฮอร์โมนที่ละลายน้าได้จะอยู่ในรูปอิสระ
และสามารถออกฤทธิ์ได้
36
hypothalamic–hypophyseal portal circulation hepatic portal circulation
Portal circulation transport
37
38
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนมี 3 วิธี
1. การหลั่งฮอร์โมนตามปริมาณการใช้ ฮอร์โมนจะหลั่งออกมาเมื่อมี
ความต้องการใช้ เซลล์ของต่อมไร้ท่อจะตอบสนองต่อตัวกระตุ้น เช่น
การเปลี่ยนแปลงของสารในกระแสเลือด หรือความเข้มข้นของฮอร์โมน
ในกระแสเลือด เฉพาะเจาะจงต่ออวัยวะเป้าหมายเท่านั้น ซึ่งตัวกระตุ้น
เหล่านี้ อาจจะมีจานวนมากแล้วกระตุ้น ให้ฮอร์โมนหยุดการทางาน เช่น
ถ้าร่างกายมีระดับน้าตาลในกระแสเลือดสูง จะกระตุ้นให้มีการหลั่ง
ฮอร์โมนอินซูลินออกมา หรือถ้าร่างกายมีระดับน้าตาลในเลือดต่า จะ
กระตุ้นให้มีการหลั่งฮอร์โมนกลูคากอนออกมาทางาน ซึ่งแล้วแต่การ
ทางานของฮอร์โมนแต่ละตัว
39
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนมี 3 วิธี
2. การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบบยับยั้งย้อนกลับ
(negative feedback ) เป็นรูปแบบการ
ควบคุมที่ใช้มาก คือการที่อวัยวะเป้าหมายสร้างสาร
ขึ้นมาเพื่อกระตุ้นหรือยับยั้งการทางานของต่อมไร้ท่อ
หลั่งฮอร์โมนหรือน้อยลงโดยทางตรง เช่น การทางาน
ของฮอร์โมนอินซูลิน เมื่อระดับของกลูโคสในกระแส
เลือดมาก ตับอ่อนจะผลิตฮอร์โมนอินซูลินออกมาเพื่อ
นากลูโคสเข้าเซลล์ ซึ่งจะทาให้ระดับกลูโคสใน
กระแสเลือดลดลง เมื่อระดับของน้าตาลในกระแส
เลือดที่ต่าลงก็จะไปส่งสัญญาณให้ตับอ่อนผลิต
ฮอร์โมนอินซูลินลดน้อยลง เป็นต้น
40
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนมี 3 วิธี
3. การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบบกระตุ้น
ย้อนกลับ (positive feedback)
เป็นรูปแบบที่พบน้อยกว่า เป็นการทางาน
ตรงกันข้าม กับการยับยั้งที่กล่าวมาแล้ว คือ
แทนที่จะไปยับยั้งแต่ผลของฮอร์โมน จะไป
กระตุ้นให้มีการทางานของต่อมไร้ท่อมากขึ้น
เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ซึ่งการที่ทารกดูด
นมมารดาอยู่สม่าเสมอ จะเป็นการกระตุ้นให้
ต่อมใต้สมองสร้างฮอร์โมนออกซิโทซิน
ตลอดเวลาหรือมากขึ้น
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
• การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อชนิดต่างๆของร่างกายจะอยู่ในสภาวะที่ร่างกายสามารถควบคุมให้ฮอร์โมนเหล่านั้นทางาน
มากหรือน้อยได้ตามความต้องการ ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เป็นสิ่งเร้าทั้งภายในและสิ่งเร้าภายนอก
• หากต่อมไร้ท่อรับสัญญาณจากสิ่งเร้าให้หลั่งฮอร์โมนโดยไม่จากัด อวัยวะเป้าหมายจะถูกกระตุ้นให้ทางานตลอดเวลา ทาให้
เกิดผลเสียจนเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายจึงจาเป็นต้องมีระบบควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อโดยระบบ ควบคุม
ดังกล่าว อาจเป็นปริมาณของฮอร์โมนเอง หรือ ระดับสารเคมีอื่น ๆ ในเลือด เพื่อให้ระบบต่างๆทางานสัมพันธ์กันและสอด
ประสานกันได้อย่างสมดุล เพื่อเป็นการรักษาดุลยภาพของร่างกายที่เรียกว่า Homeostasis ดังนั้นร่างกายจึงต้องมี
การควบคุมการทางานของฮอร์โมนให้พอเหมาะพอดีเพื่อไม่ให้เกิดความผิดปกติ ซึ่งทาได้ 2 ลักษณะ
• การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ ( negative feedback )
• การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ ( positive feedback )
43
การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ ( NEGATIVE FEEDBACK )
• การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ : เกิดจากเมื่อมีการหลั่งฮอร์โมนออกมาแล้วจะมีการส่งสัญญาณบางอย่าง
กลับไปยังแหล่งที่หลั่งฮอร์โมนออกมาให้ลดหรือห้ามการหลั่ง ฮอร์โมนจากแหล่งนั้นอีกตัวอย่างเช่น
• การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ : เมื่อระดับCa2+ ในเลือดลดลงกว่าปกติของร่างกาย
ต่อมพาราไทรอยด์จะหลั่งพาราทอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย เช่น กระดูกจะปล่อย
Ca++ เข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้นจนถึงระดับปกติ เมื่อระดับCa2+ อยู่ในระดับปกติแล้ว ก็จะย้อนกลับไป
ยับยั้งต่อมพาราไทรอยด์ไม่ให้มีการหลั่งพาราทอร์โมนออกมาอีก
• การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ : เมื่อระดับฮอร์โมนไทรอกซินในเลือดสูงขึ้นจะไปยับยั้งไฮโพทา
ลามัสไม่ให้หลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่งฮอร์โมน TSH ไปกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนจาก
ต่อมไทรอยด์ทาให้ต่อมไทรอยด์หยุดหลั่งฮอร์โมนไทรอกซิน
45
การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ ( POSITIVE FEEDBACK )
• การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ : เกิดจากเมื่อมีการหลั่งฮอร์โมนออกมาแล้วจะมีการส่งสัญญาณบางอย่างกลับไปยังแหล่งที่หลั่ง
ฮอร์โมนนั้นออกมาให้เพิ่มการหลั่ง ฮอร์โมนจากแหล่งนั้นอีก เช่น
• การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน :
• ขณะคลอดศีรษะของทารกจะขยายปากมดลูกให้กว้างออก หน่วยรับความรู้สึกบริเวณปากมดลูกจะส่งกระแสประสาทไปยังต่อม
ใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินเพิ่มขึ้นกระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อมดลูกให้ดันทารกออกมาเพื่อขยายปาก
มดลูกให้กว้างขึ้นยิ่งปากมดลูกกว้างขึ้นก็ยิ่งมีผล กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินมากขึ้นจนกระทั่งทารกคลอดออกมา การ
หลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินจึงจะหยุดลง
• ขณะทารกดูดนมแม่จะเกิดกระแสประสาทไปกระตุ้นไฮโพทาลามัสให้ส่งสัญญาณไปกระตุ้นให้ต่อใต้สมองส่วนหน้าหลั่งฮอร์โมน
ออกซิโทซินเพื่อกระตุ้นให้เต้านมบีบตัวหลั่งน้านมออกมาเมื่อทารกยิ่งดูดนมมากขึ้นยิ่งมีการหลั่งออกซิโทซินมากขึ้น
48
oxytocin
POSITIVE
FEEDBACK
POSITIVE FEEDBACK
50
กลไกการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ส่วนใหญ่
เป็นกลไกการควบคุมย้อนกลับแบบ
negative feedback
การควบคุม homeostasis ของ
แคลเซียมโดย PTH และ Calcitonin
การทางานแบบตรงข้ามกัน
(antagonistic) ของฮอร์โมน 2 ชนิด
52
NEGATIVE
FEEDBACK
NEGATIVE FEEDBACK
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• หากเราแบ่งชนิดของฮอร์โมนโดยทั่วไปตามการทางาน จะแบ่งได้เป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง
• การขนส่งฮอร์โมน (HORMONE TRANSPORTATION) สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่วิธี อะไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• หากเราแบ่งชนิดของฮอร์โมนโดยทั่วไปตามการทางาน จะแบ่งได้เป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง
• การขนส่งฮอร์โมน (HORMONE TRANSPORTATION) สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่วิธี อะไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายและยกตัวอย่างการควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ ( Positive feedback )
• จงอธิบายและยกตัวอย่างการควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ ( NEGATIVE FEEDBACK )
ความผิดปกติของการรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมน
58
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
1. กรรมพันธุ์ เช่น ความบกพร่องของเอนไซม์ทาให้
ขาดสารเร่งปฏิกิริยาที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน หรือมี
สารเร่งปฏิกิริยาทางานมากเกินไป มีผลทาให้ขาด
ฮอร์โมนหรือการสังเคราะห์ฮอร์โมนมากเกินไป
หรือโปรตีนขนส่งในเลือดมีมากหรือน้อยเกินไป
เป็นผลทาให้ระดับฮอร์โมนในเลือดเปลี่ยนแปลง
หรือความผิดปกติของตัวรับสัญญาณเป็นผลทาให้
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมนผิดปกติ
59
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
2. การหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ
2.1 การขาดฮอร์โมน เนื่องจากเซลล์ของต่อไร้ท่อถูกทาลายโดยเชื้อโรค สารเคมีหรือร่างกายเกิดการต่อต้าน เช่น ใช้
กลูโคคอร์ทิคอยด์มากๆ เพื่อลดการอักเสบจากการปลูกถ่ายเนื้อเยื่อทาให้ต่อมหมวกไตฝ่ อไปในที่สุดและหยุดสร้าง
ฮอร์โมน หรือต่อมทางานไม่เต็มที่ ก็สามารถทดสอบโดยการกระตุ้นต่อม (stimulation test) โดยใช้ยากระตุ้น
ต่อมหรือให้ trophic hormone เพื่อดูว่าสามารถกระตุ้นต่อมได้หรือไม่ ถ้าไม่สามารถกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนได้
แสดงว่าต่อมไม่ทางานทาให้ร่างกายเกิดภาวะขาดฮอร์โมน การรักษาสามารถทาได้โดยการให้ฮอร์โมนที่ขาดทดแทน
2.2 ฮอร์โมนมากผิดปกติ เนื่องจากเซลล์ขยายจานวนมากเกินไป (hyperplasia, adenoma or carcinoma) ทา
ให้หลั่งฮอร์โมนมากเกินไปเกิดภาวะฮอร์โมนเกินซึ่งสามารถทดสอบได้โดยยับยั้งการทางานของต่อม
(suppression test) ถ้าไม่สามารถยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนได้แสดงว่าต่อมฮอร์โมนมากผิดปกติซึ่งสามารถรักษา
ได้โดยการฉายแสงเพื่อทาลายบางส่วนของต่อม หรือตัดต่อมออกแล้วให้ฮอร์โมนเสริม
60
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
3. Hormone resistance เซลล์
เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อฤทธิ์ของ
ฮอร์โมนซึ่งเกี่ยวข้องกับตัวรับ
สัญญาณมีน้อยกว่าปกติและ
กระบวนการภายหลังจากฮอร์โมนจับ
กับตัวรับสัญญาณ เช่น insulin
resistance ทาให้ผู้ป่ วยไม่ตอบสนอง
ต่ออินซูลิน ผู้ป่ วยก็จะแสดงอาการขาด
ฮอร์โมนซึ่งการรักษาทาได้ยาก
61
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Growth hormone Gigantism (ในเด็ก) มีรูปร่างสูงใหญ่ผิดปกติ Dwarfism (ในเด็ก) มีรูปร่างเตี้ยแคระผิดปกติ
Acromegaly (ในผู้ใหญ่) กระดูกเจริญผิดปกติเฉพาะ
ส่วนทาให้มือเท้า ใบหน้า
ใหญ่ คางยื่น
Simmond’s disease
(ในผู้ใหญ่)
น้าหนักลด กล้ามเนื้อฝ่ อ เหนื่อย
ง่ายและผอม (เรียกกลุ่มอาการ
cachexia)
ADH SIADH (syndrome of
inappropriate ADH
secretion)
ปริมาณน้าในร่างกายมากทา
ให้น้าหนักตัวมาก
โรคเบาจืด (Diabetes
insipidus)
ปัสสาวะมีปริมาณมากแต่มีความ
เข้มข้นน้อย กระหายน้าบ่อย
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
62
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Triiodothyronine
(T3) และ thyroxine
(T4)
Hyperthyroidism มีอัตราเมทาบอลิซึมและ
อุณหภูมิในร่างกายสูง
Cretinism (ในทารก) อ้วนเตี้ยและการพัฒนาทางจิตใจช้า
กว่าปกติ
Graves’ disease ตาโปน ร่างกายทางาน
มากกว่าปกติ นอนไม่หลับ
Myxedema (ในผู้ใหญ่)
โรคคอพอก (Goiter;
ร่างกายขาดไอโอดีน)
เซื่องซึม น้าหนักขึ้น ผมร่วง และ
อุณหภูมิในร่างกายต่า
ขาดไอโอดีนที่จะไปสร้าง T3 และ
T4 ทาให้ TSH ไปกระตุ้นให้ต่อม
ไทรอยด์มีขนาดใหญ่ผิดปกติ
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
63
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Parathyroid
hormone (PTH)
Hyperparathyroidism มีอาการทางประสาทกระดูก
เปราะและหักง่าย กล้ามเนื้อ
ทางานผิดปกติเนื่องจากมี
Ca2+ ในเลือดน้อยกว่าปกติ
Hypoparathyroidism มีอาการทางประสาทกล้ามเนื้อ
อ่อนแรง กระดูกแข็งมาก เกิด
ตะคริวเนื่องจากมี Ca2+ ในเลือด
มากกว่าปกติ
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
64
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Insulin Overproduction of
insulin
ระดับน้าตาลในเลือดต่า
เกินไปอาจเป็นอันตรายถึง
ชีวิต
โรคเบาหวาน (Diabetes
mellitus)
ประเภทที่ 1 ตับอ่อนสร้างอินซูลิน
น้อยเกินไปทาให้ระดับน้าตาลใน
เลือดสูงกว่าปกติ
ประเภทที่ 2 เกิดขึ้นส่วนมากใน
ผู้ใหญ่ที่มีน้าหนักตัวมากทาให้
เนื้อเยื่อไขมันหลั่งสารที่ทาให้
ตัวรับอินซูลินไม่ทางาน
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
65
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Cortisol Cushing’s syndrome น้าหนักเพิ่มอย่างรวดเร็ว
เกิดการสะสมแผ่นไขมันรอบ
ใบหน้าและคอ เรียกว่า
moon face
Addison’s disease อ่อนเพลีย เป็นไข้ น้าหนักลด
คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังตกกะเป็น
จุดๆ
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
66
ฮอร์โมน หลั่งมากเกินไป อาการ หลั่งน้อยเกินไป อาการ
Aldosterone hyperaldosterone น้าหนักตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจาก
ร่างกายสะสมน้าเจือจาง
Na+ ที่มีอยู่มาก
Hypoaldosteronism ปัสสาวะมาก K+ ในเลือดมาก Na+
ในเลือดต่า
สรุปความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อสามารถเกิดได้สาเหตุใดบ้าง จงอธิบาย
• ให้ยกตัวอย่างพร้อมอธิบายความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่มีสาเหตุจากพันธุกรรม
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ให้ยกตัวอย่างพร้อมอธิบายความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่มีสาเหตุจากการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ
• ให้ยกตัวอย่างพร้อมอธิบายความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่มีสาเหตุจากเซลล์เป้าหมายไม่
ตอบสนองต่อฤทธิ์ฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพร่างกายด้วยฮอร์โมนในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
70
ฮอร์โมนในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
(Invertebrate hormone)
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นต่าที่เริ่มมีระบบ
ประสาท เช่น ไฮดรา จะมีกลุ่มเซลล์ประสาทชนิด
พิเศษ เรียกว่า เซลล์นิวโรซีครีทอรี
(neurosecretory) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน
แทนการรับส่งกระแสประสาท แต่บทบาทใน
การควบคุมระบบต่างๆ ของฮอร์โมนยังไม่
เด่นชัดเหมือนสัตว์ชั้นสูง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น กุ้ง หอย
แมลง จะมีเซลล์นิวโรซีครีทอรีสร้างฮอร์โมนเพื่อ
ควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ รวมทั้ง
กิจกรรมต่างๆ ของร่างกาย
72
พลานาเรีย (Planaria) พบมี secretory cell บริเวณสมองทาหน้าที่สร้างสาร polypeptide ซึ่งมาทาหน้าที่
- ควบคุมการสืบพันธุ์
- ควบคุมการเปลี่ยนแปลงทางร่างการเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับ regeneration ของ posterior segment
- ควบคุมการเจริญของ gonad
73
กุ้ง (shrimp) ในการลอกคราบจะถูกควบคุมโดยฮอร์โมน 2 ชนิด ซึ่งสร้างจากอวัยวะเล็กๆ ที่อยูในก้านตา (eye-stalk) คือ
• X-organ อยู่บนก้านลูกตาแต่ละข้าง ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเคลื่อนไปตามแอกซอนไปยัง sinus gland ที่อยู่ในก้านลูกตา
ซึ่งสะสมฮอร์โมน molt inhibit hormone ไปยังยั้งการสร้าง molting hormone จาก Y-organ
• Y-organ เป็นต่อมขนาดเล็กอยู่ที่ฐานของกล้ามเนื้อที่บังคับmandible หน้าที่สร้างฮอร์โมนกระตุ้นให้เกิดการลอกคราบ
(molting)
74
แมลง (insect) พบว่ามีฮอร์โมนควบคุมกระบวนการเจริญเติบโตและ
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ได้แก่
1. ฮอร์โมนจากสมอง (brain hormone หรือ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมน
ซึ่งสร้างจาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ท่อ
บริเวณทรวงอก ทาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไป
เก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป
2. ฮอร์โมนเกี่ยวกับการลอกคราบ (ecdysone hormone หรือ
molting hormone หรือ MH) สร้างบริเวณทรวงอกมีผลทาให้
แมลงลอกคาบ และmetamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย
3. ฮอร์โมนยูวีไนล์ (Juvenile hormone หรือ JH) สร้าง จากต่อม
ทางสมองมาทางซ้ายเรียก corpus allatum ทาหน้าที่ห้ามระยะตัว
หนอนและดักแด้ไม่ให้ไม่ให้เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้ามี JH ลดลง จะ
กระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้
75
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายระบบต่อมไร้ท่อและการทางานของระบบต่อมไร้ท่อในพลานาเรีย
• จงอธิบายระบบต่อมไร้ท่อและการทางานของระบบต่อมไร้ท่อในกุ้ง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายระบบต่อมไร้ท่อและการทางานของระบบต่อมไร้ท่อในแมลง
• จงเขียนแผนภาพการทางานของระบบต่อมไร้ท่อในแมลงที่กาลังลอกคราบ
78
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
Wichai Likitponrak
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
sukanya petin
 
Hormone
HormoneHormone
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 

Similar to 6.ดุลกับฮอร์โมน

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
dgnjamez
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
Bee Attarit
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
pitsanu duangkartok
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
Wichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 

Similar to 6.ดุลกับฮอร์โมน (20)

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

6.ดุลกับฮอร์โมน