SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในทุกวันนี้มนุษย์ดาเนินกิจกรรมต่างๆภายในชีวิตประจาวันมากมายโดยการทางานของ
ร่างกายโดยใช้กลไกต่างๆที่ทางานโดยการใช้พลังงาน แล้วยังมีการทางานร่วมกันกับฮอร์โมน
ต่างๆโดยฮอร์โมนแต่ละชนิดนั้นจะทาให้เกิดกระบวนการต่างๆขึ้นทาให้สามารถดาเนินชีวิต
ได้อย่างปกติ โดยฮอร์โมนในร่างกายมีน่าที่ที่ต่างกันไปตามแต่ชนิดแล้วมีต่อมสร้างฮอร์โมน
ในจุดต่างๆของร่างกายต่อมนี้เป็นต่อมไร้ท่อโดยต่อมต่อมหนึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลาย
ชนิด ฮอร์โมนสามารถลาเลียงฮอร์โมนที่สร้างผ่านระบบเลือดไปตามจุดต่างๆของร่างกาย ทา
ให้ร่างกายเกิดการทางานตอบสนองต่อฮอร์โมนต่างๆ ในการศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนนี้
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์หรือฮอร์โมนบางชนิดก็นาสร้างมานามา
เสริมสร้างสมรถภาพร่างกายให้แข็งแรง ดังนั้นความรู้ในเรื่องของฮอร์โมนสามารถทาให้เรา
ดูแลตัวเองได้ และรู้ว่าประโยชน์และโทษของฮอร์โมนตัวนั้นๆเป็นอย่างไรสาคัญต่อร่างกาย
มากแค่ไหนทาอย่างไรถึงจะทาให้ฮอร์โมนตัวนั้นไม่เสื่อมสภาพทาให้เกิดโรคบางชนิดดังนั้น
การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้จึงมีความสาคัญในระดับหนึ่ง
ฮอร์โมน หน้าที่ของฮอร์โมน
ประเภท
ฮอร์โมฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน
เพปไทด์ฮอร์โมน
สเตอรอยด์ฮอร์โมน
ลิพิด ฮอร์โมน
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไต้สมอง
ต่อมไทรอยด์
ต่อมพาราไทรอยด์
ตับอ่อน
ต่อมหมวกไต
ต่อมเพศ
ฮอร์โมนจากรก
ต่อมไพเนียล
ไอส์เลตออฟแลงเกอร์
ฮานส์
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
โรคคอพอกเป็นพิษ
โรคภาวะแคลเซียมใน
เลือดต่า
โรคแอดดิสัน
โรคภาวะน้าตาลในเลือด
ต่า
โรคคอพอกธรรมดา
โรคคุชชิง
โรคซีแฮน
Hormone
ฮอร์โมน คือ ตัวนาส่งสารเคมีจากเซลล์กลุ่มของเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่น ๆ
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งพืชและสัตว์
สามารถผลิตฮอร์โมนได้ที่ ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) โมเลกุลของ
ฮอร์โมนจะถูกปล่อยโดยตรงยังกระแสเลือด ของเหลวในร่างกายอื่นๆ หรือเนื้อ
เยื้อใกล้เคียง
กลับไปหน้าตัวเลือก
หน้าที่ของฮอร์โมน
 กระตุ้นหรือยับยั้งการเจริญเติบโต
 กระตุ้นหรือยับยั้งโปรแกรมการสลายตัวของเซลล์
 กระตุ้นหรือยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน
 ควบคุม กระบวนการสร้างและสลาย
(metabolism) และเตรียมพร้อมสาหรับบทบาท
ใหม่ๆ เช่น การต่อสู้ หนี หรือ กาหนดช่วงเวลาของชีวิต
เช่น วัยรุ่น วัยมีครอบครัวมีลูกหลานไว้สืบสกุล และวัย
ทอง
กลับไปหน้าตัวเลือก
ประเภทของ ฮอร์โมน
ฮอร์โมนของสัตว์มีกระดูกสันหลังแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มดังนี้
- ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน
- เพปไทด์ฮอร์โมน
- สเตอรอยด์ฮอร์โมน
- ลิพิด และ ฟอสโฟลิพิด
กลับไปหน้าตัวเลือก
ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน
เป็นอนุพันธ์ของ กรดอะมิโน ไทโรซีน และ ทริปโตแฟน
ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน เช่น
 อะดรีนาลีน
 โดพามีน
 มีลาโทนิน
 นอร์อะดรีนาลีน
 เซอโรโทนิน
 ไทรอกซีน
 ไตรไอโอโดไทโรนีน
กลับไปหน้าตัวเลือก
เพปไทด์ ฮอร์โมน
ประกอบด้วยโซ่ของ กรดอะมิโน ตัวอย่าง เช่น เพปไทด์ฮอร์โมน
เล็กอย่าง TRH และ วาโซเพรสซิน เพปไทด์ประกอบด้วยโซ่
กรดอะมิโน ที่ต่อกันเป็นโมเลกุลของ โปรตีน ตัวอย่าง โปรตีน
ฮอร์โมน ได้แก่ อินสุลิน และโกรว์ทฮอร์โมน เช่น
 แอนตี้มูลเลอเรียน ฮอร์โมน
 แอนตี้ไดยูรีติก ฮอร์โมน
 ลูทีอิไนซิ่ง ฮอร์โมน
 อินสุลิน
 ฯลฯ
กลับไปหน้าตัวเลือก
สเตอรอยด์ และ สเตอรอล ฮอร์โมน
เป็นอนุพันธ์จากคอเลสเตอรอล แหล่งผลิตในร่างกายได้แก่
เปลือกต่อมหมวกไตและ ต่อมบ่งเพศ ตัวอย่างเช่น
1) สเตอรอยด์ฮอร์โมน เช่น
 เทสโตสเตอโรน
 คอร์ติโซน
2) สเตอรอลฮอร์โมน เช่น
 แคลซิตริออล
กลับไปหน้าตัวเลือก
ลิพิด ฮอร์โมน
มี ฮอร์โมน ดังนี้
 โปรสตาแกลนดิน
 ลิวโคไตรอีน
 โปรสไซคลิน
 ทรอมโบเซน
กลับไปหน้าตัวเลือก
ต่อมไร้ท่อ
หมายถึงต่อมไม่มีท่อ สิ่งที่หลั่งจากต่อมเหล่านี้เข้าสู่กระแสเลือดไหลเวียน
โดยตรง ไม่ต้องผ่านท่อ ดังนั้นเซลล์ของต่อมไร้ท่อจะสัมผัสกับหลอดเลือดฝอย
ภายในต่อมอย่างใกล้ชิด ต่อมเหล่านี้จึงมีเลือดมาเลี้ยงอย่างมากมายต่อมไร้ท่อ
สร้างสารเคมีซึ่งมักจะเรียกว่า ฮอร์โมน โดยต่อมไร้ท่อที่สาคัญในร่ากายมีดังนี้
1. ต่อมใต้สมอง 2. ต่อมไทรอยด์
3. ต่อมพาราไทรอยด์ 4. ตับอ่อน
5. ต่อมหมวกไต 6. ต่อมเพศ
7. ฮอร์โมนจากรก 8. ต่อมเหนือสมอง
9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
กลับไปหน้าตัวเลือก
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ เช่น
1) Growth Hormone เป็นฮอร์โมนควบคุมการ
เจริญเติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะ กระดูกและกล้ามเนื้อ
2) Thyroid Stimulating Hormone
เป็นฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้าง ไทร็อกซินเพิ่มขึ้น
3) Gonadotrophic Hormone
เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์
4) Antidiuretic Hormone
เป็นฮอร์โมนช่วยในการดูดน้ากลับของท่อไต เพื่อรักษา ระดับน้าของร่างกาย
5) Melatonin เป็นฮอร์โมนกระตุ้นให้เซลล์เม็ดสีสร้างเม็ดสีเพิ่มมากขึ้น
กลับไปหน้าตัวเลือก
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ คือ ไทร็อกซิน โดยใช้ไอโอดีนเป็น
วัตถุดิบในการ สร้างฮอร์โมน ซึ่งฮอร์โมนไทร็อกซินมีหน้าที่
สาคัญ ดังนี้
1) ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบ
ประสาท
2) ช่วยในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อเป็นผู้ใหญ่
3) ช่วยควบคุมอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
กลับไปหน้าตัวเลือก
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid
gland)
ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญชื่อ พาราธอร์โมน ซึ่งทาหน้าที่เกี่ยวกับ
การ ควบคุมเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสใน
ร่างกาย การสร้างกระดูกและควบคุมบทบาท ของวิตามินดี
ในร่างกาย โดยวิตามินดีจะรวมกับฮอร์โมนพาราธอร์โมนใน
การสลายแคลเซียมออก จากกระดูกเพื่อรักษาระดับปกติของ
แคลเซียมในพลาสมา
กลับไปหน้าตัวเลือก
ตับอ่อน (Pancrease)
ลักษณะเป็นต่อมขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้าน
หลังของกระเพาะอาหาร ใกล้กับลาไส้เล็ก
ส่วนดูโอดินัม ซึ่งเป็นลาไส้เล็กส่วนต้น ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อ จะผลิต
ฮอร์โมนที่สาคัญ ดังนี้
1) อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง โดยช่วยให้
กลูโคสผ่าน เข้าเซลล์และเปลี่ยนส่วนหนึ่งเป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ ทาให้
ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในระดับ ปกติ
2) กลูคากอน เป็นฮอร์โมนที่ทางานตรงข้ามกับอินซูลิน คือ ทาให้ระดับ
น้าตาลใน เลือดสูงขึ้น
กลับไปหน้าตัวเลือก
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
เป็นก้อนสีเหลืองๆ อยู่เหนือไตข้างละ 1 ต่อม
ต่อมหมวกไตในผู้ใหญ่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อ 2 ต่อม
คือต่อมหมวกไตส่วนนอกเจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส
(mesenchymas) ของชั้นมีโซเดิร์มของตัวอ่อน ต่อมหมวกไต
ส่วนในเจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกับเซลล์ประสาท
ในทารกต่อมหมวกไตจะมีขนาดใหญ่ แต่เนื่องจากขาดสารเร่งปฏิกิริยา จึงไม่สามารถ
สร้างฮอร์โมนเหล่านี้ได้ ผลิตได้แต่สารที่จะเปลี่ยนไปเป็นฮอร์โมนอีสโทรเจนที่รก
กลับไปหน้าตัวเลือก
แบ่ง ฮอร์โมนออกเป็น 3 กลุ่ม ที่สาคัญ คือ
1) Glucocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรต โดยเปลี่ยนไกลโคเจนในตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส ใน
วงการแพทย์ใช้เป็นยาลดการอักเสบและรักษาโรคภูมิแพ้ ถ้ามีฮอร์โมนนี้มาก
เกินไป จะทาให้อ้วน อ่อนแอ หน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้าท้องลาย น้าตาลใน
เลือดสูง
2) Mineralocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้า
และเกลือแร่ฮอร์โมนสาคัญกลุ่มนี้คือ aldosterone ช่วยในการทางานของ
ไตในการดูดกลับ Na และ Cl ภายในท่อไต ถ้าขาด aldosterone จะทา
ให้ร่างกาย สูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือดในร่างกาย
ลดลง จนอาจทาให้ผู้ป่วยตาย เพราะความ ดันเลือด ต่า
3) Sex hormone ฮอร์โมนเพศช่วยควบคุมลักษณะทางเพศที่สมบูรณ์ทั้งชาย
และหญิง
4) อะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) เป็นเนื้อชั้นในของต่อมหมวกไต
อยู่ภายใต้การควบคุมของ sympathetic ถูกกระตุ้นในขณะตกใจ เครียด กลัว
โกรธ เนื้อเยื่อชั้นนี้จะทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ
- Adrenalin hormone หรือ Epinephrine hormone กระตุ้น
ให้หัวใจบีบตัวแรง เส้นเลือดขยายตัว เปลี่ยน glycogen ในตับให้เป็นกลูโคสใน
เลือด
- Noradrenlin hormone หรือ Norepinephrine
hormone กระตุ้นให้เส้นเลือดมีการบีบตัว ผลอื่นคล้ายๆ adrenalin แต่มี
ฤทธิ์น้อยกว่า
ต่อมเพศ (Gonad)
ในชายได้แก่อัณฑะและในหญิงได้แก่รังไข่ซึ่งมีหน้าที่สาคัญ 2
อย่างคือ สร้างเซลสืบพันธ์และสร้างฮอร์โมน
ฮอร์โมนที่สาคัญคือ
 เทสทอสเตอโรน (Testosterone)
 เอสโตรเจน (Estrogen)
กลับไปหน้าตัวเลือก
Testosterone
ฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสทอสเตอโรน(Testosterone) ซึ่งจะทา
หน้าที่หลายอย่างคือ
1) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์
2) ทาให้อัตราการเจริญเติบโตของกระดูกเพิ่มขึ้น
3) กระตุ้นการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะเอ็นไซม์
4) ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนเพศชาย
ถ้าตัดอัณฑะออกจะทาให้เกิดผลดังต่อไปนี้
1) ในเด็ก
- ทาให้อวัยวะสืบพันธ์ไม่เจริญ
- ไม่มี Secondary sexual characteristic
- มีไขมันสะสมมากขึ้น แขนขายาวผิดปกติ
- เป็นหมัน
2) ในผู้ใหญ่
- เป็นหมัน
- ไม่มีความรู้สึกทางเพศ มีลักษณะไปทางเพศหญิง
Estrogen
ฮอร์โมนเพศหญิง ที่สาคัญคือ เอสโตรเจน (Estrogen) และ โปรเจสเตอ
โรน (Progesterone)ฮอร์โมน เอสโตรเจน จะเกี่ยวข้องกับการ
เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์และลักษณะต่างๆของความเป็น เพศหญิง ส่วน
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะเกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์คือ ระงับไม่ให้ไข่สุกระหว่าง
ตั้งครรภ์ป้ องกันไม่ให้มีประจาเดือนระหว่างตั้ง ครรภ์ควบคุมการเปลี่ยนแปลง
ของเยื่อบุมดลูกชั้นในเพื่อรองรับการฝังตัวของไข่ ที่ถูกผสม และกระตุ้นต่อม
น้านมให้เจริญเติบโต
ถ้าตัดรังไข่ออกจะทาให้เกิดผลดังต่อไปนี้
1) ในเด็ก
- อวัยวะสืบพันธ์ไม่เจริญ
- ไม่มีเลือดประจาเดือน
- มีลักษณะคล้ายชาย
2) ในผู้ใหญ่
- ประจาเดือนหยุด
- ไม่มีความรู้สึกทางเพศ
- มีลักษณะคล้ายชาย
- ไม่มี Secondary sexual characteristic
ฮอร์โมนจากรก
รกเป็นบริเวณที่ระบบไหลเวียนโลหิตของมารดาและทารกมา
พบกัน โดยเชื่อมต่อสายสะดือของทารกกับมดลูก ของมารดา
รกทาหน้าที่ 2 ประการคือ
- ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจากทารก
ในครรภ์ของทารกในครรภ์
- ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิต
ฮอร์โมนมากมายที่จาเป็น ระหว่างตั้งครรภ์
ฮอร์โมนจากรกมีดังนี้
กลับไปหน้าตัวเลือก
โกนาโดโทรฟินจากรก สามารถวัด HCG ในปัสสาวะของมารดาได้ตั้งแต่วันที่
9 ของการตั้งครรภ์และระดับจะสูงขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 9-12 หลังจากนั้นจะ
ลดลง การตรวจพบ HCG ในปัสสาวะหรือเลือดใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ถึงการ
ตั้งครรภ์ HCG ทาหน้าที่ยืดอายุการทางานของคอร์ปัสลูเทียม กระตุ้นการ
สร้างและหลั่งฮอร์โมนแลกซินเพื่อยับยั้งการหดตัวของมดลูก
Human chorionic somatomammotropin (HCS)
เป็นฮอร์โมนชนิดเปปไทด์ประกอบด้วยกรดอะมิโน 191 หน่วย มีโครงร้างเหมือน
ฮอร์โมน โซมาโทโทรฟินหรือโกรทฮอร์โมน และโพรแลกทิน แต่มีผลแบบโพรแลก
ทินสูงกว่าโกรทฮอร์โมน ขณะที่ระดับ HCG ลดต่าลงหลังจาก 3 เดือนของการ
ตั้งครรภ์ รกจะสร้าง HCS ในสัปดาห์ที่ 4 และจะเพิ่มระดับขึ้น เรื่อยๆ จนถึง
ระดับสูงสุดเมื่อใกล้คลอด
โพรเจสเทอโรน รกจะเริ่มสร้างโพรเจสเทอโรนในสัปดาห์ที่ 6 ของการตั้งครรภ์ถึง
ระดับสูงสุดเมื่อใกล้คลอด โพรเจสเทอโรนถูกขับทิ้งทางปัสสาวะ โพรเจสเทอโรน
เป็นฮอร์โมนที่สาคัญสาหรับการตั้งครรภ์โดยเตรียมเยื่อบุมดลูกเพื่อรับตัวอ่อน
ทางานร่วมกับฮอร์โมนรีแลกซิน ลดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของแม่
ไม่ให้ต่อต้านการมีทารกซึ่งเปรียบเสมือนเซลล์แปลกปลอมในร่างกายของแม่
เอสโทรเจน รกสร้างเอสโทรเจนได้ทั้งเอสทราไดออล เอสโทรนและเอสไทรออล
แต่สร้างเอสไทรออลได้มากกว่าฮอร์โมนอีก 2 ชนิดและมีระดับเพิ่มขึ้นในระหว่าง
การตั้งครรภ์คือช่วยในการพัฒนเต้านมและทาให้กล้ามเนื้อมดลูกมีขนาดโตขึ้น
ทาให้เอ็นยึดต่างๆในอุ้งเชิงกราน และ หังหน่าว ช่วยให้บริเวณช่องคลอดขยาย
ออกได้กว้างขึ้น
ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
ต่อมไพนีล เป็นต่อมเล็กๆ รูปไข่ หรือรูปกรวย คล้าย ๆ เมล็ดสน (pine
cone) เป็นที่มาของชื่อ pinel gland ลักษณะค่อนข้างแข็ง สีน้าตาล
ขนาดยาวจากหน้าไปหลัง ๕-๑๐ มิลลิเมตร กว้าง และสูง ๓-๗ มิลลิเมตร หนัก
๐.๒ กรัม ยื่นมาจากด้านบนของไดเอนเซฟฟาลอน หรืออยู่ด้านล่างสุดของโพรง
สมองที่สาม
ประกอบด้วยเซลล์ 2 ประเภท คือ เซลล์ไพเนียล (pinealocytes) และ
เซลล์ไกลอัน (glial cell) จัดอยู่ในระบบประสาทคือ การรับตัวกระตู้การ
มองเห็น(visual nerve stimuli) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นดวงตาที่
3 ทาหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทางานร่วมกับ ต่อมไฮโปทารามัส
(Hypothalamus) ซึ่งต่อมไฮโปทารามัส จะทาหน้าที่เกี่ยว ความหิว
ความกระหาย เรื่องเซ็กส์ และนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์ และเป็น
ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน
กลับไปหน้าตัวเลือก
ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล (pineal gland) อยู่ บริเวณกึ่งกลางของสมอง
ส่วนซีรีบรัมซ้ายและขวา ฮอร์โมนที่สร้างจาากต่อมนี้คือ เมลาโทนิน ยับยั้งการ
เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทาให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้าลง ระงับการหลั่ง โก
นาโคโพรฟิน ให้น้อยลง ถ้าต่อมไพนิลไม่สามารถสร้างเมลาโทนินได้ จะทาให้
เป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้าสร้างมากเกินไปจะทาให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้ากว่า
ปกติ ต่อมไพเนียลทาหน้าที่เหมือนตัวกลางที่จะรับรู้ความยาวของกลางวันและ
กลางคืนและส่งสัญญาณในรูปของฮอร์โมนเมลาโทนินไปยังระบบต่างๆ เมื่อแสง
สว่างผ่านเลนส์แก้วตาไปตกกระทบกับจอรับภาพบริเวณส่วนหลังสุดของลูกตา
ที่เรตินา(retina) ที่มีใยประสาทมาเลี้ยง จะส่งกระแสประสาทไปที่ ศูนย์
รวมเส้นประสาทที่อยู่เหนือใยประสาทที่ไคว้กันเหนือสมองหรือ นิวเคลียสซูพรา
ไคแอสมาติก((suprachiasmatic nuclei) ผ่านเส้นประสาทซิมพา
เท-ติก จนถึงที่ปมประสาทซูพีเรีย เซอร์วิคัล (superior cervical
ganglion) แล้วส่งต่อไปที่ต่อมไพเนียล
ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
ตับอ่อน (Pancreas) ตั้งอยู่ที่ด้านบนซ้ายของช่องท้อง โดย
วางตัวจากส่วนโค้งของลาไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม (duodenum
) ถึงม้าม (spleen) และด้านหลังของกระเพาะ
(stomach) มีลักษณะค่อนข้างแบน มีความยาวประมาณ
12 –15 เซนติเมตร ตับอ่อนทาหน้าที่ทั้งเป็นต่อมมีท่อคือการสร้าง
น้าย่อยไปที่ลาไส้เล็กและเป็นต่อมไร้ท่อสร้างฮอร์โมนเซลล์ที่ทา
หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนจะรวมกันเป็นกลุ่มมีชื่อว่า ไอเลตส์
ออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islets of Langerhans ) มี
ปริมาณ 1 – 3 เปอร์เซ็นต์ของเนื้อเยื่อตับอ่อนทั้งหมด
กลับไปหน้าตัวเลือก
ฮอร์โมนที่สร้างจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
1) ฮอร์โมนอินซูลิน ( Insulin )
 สร้างจาก เบต้าเซลล์ ( beta cell ) ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่รอบนอกของ
กลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
 อวัยวะเป้ าหมาย ตับ,กล้ามเนื้อ
 หน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด (ระดับน้าตาลในเลือดปกติ 80 - 100
มิลลิกรัม / 100 ลบ.ซม. ) โดยเพิ่มการนากลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อและ
เซลล์ตับ กระตุ้นให้เซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโค
เจน( โมเลกุลของคาร์์โบไฮเดรตที่สร้างจากกลูโคส )เก็บสะสมไว้ภายในเซลล์
2) ฮอร์โมนกลูคากอน ( Glucagon )
 สร้างจาก แอลฟาเซลล์( alpha cell ) ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่ส่วนในและ
เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์( ดูภาพด้านบน
)
 อวัยวะเป้ าหมาย ตับ,กล้ามเนื้อ
 หน้าที่ เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด กระตุ้นให้เซลล์ ้ตับและเซลล์กล้ามเนื้อ
เปลี่ยนไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด เพิ่มการสังเคราะห์
กลูโคสจากกรดอะมิโนและกรดไขมัน
การรักษาสมดุลของระดับน้าตาลในเลือด
ตัวอย่าง โรคในระบบต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
สาเหตุ : โรคนี้เกิดจากตับอ่อนสร้าง ฮอร์โมนอินซูลิน
(Insulin) ได้น้อยหรือไม่ได้เลย
ฮอร์โมนชนิดนี้มีหน้าที่คอยช่วยเหลือให้ร่างกายเผาผลาญ
น้าตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกาย
ไม่พอ น้าตาลก็ไม่ถูกนาไปใช้ จึงเกิดการคั่งของน้าตาลใน
ลือดและอวัยวะต่างๆ เมื่อน้าตาลคั่งในเลือดมากๆ
ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะ ทาให้ปัสสาวะหวานหรือมี
มดขึ้นได้ จึงเรียกว่า เบาหวาน
กลับไปหน้าตัวเลือก
อาการ : ผู้ป่วยมักจะมีอาการปัสสาวะบ่อยและมาก เนื่องจากน้าตาลที่ออกมา
ทางไต จะดึงเอาน้าจากเลือดออกมาด้วย
จึงทาให้มีปัสสาวะมากกว่าปกติ เมื่อถ่ายปัสสาวะมากก็จะทาให้รู้สึกกระหายน้า
ต้องคอยดื่มน้าบ่อยๆ
ประเภทของเบาหวาน
เบาหวานสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆที่มีอาการ สาเหตุ ความรุนแรงและ
การรักษาต่างกัน ได้แก่
 เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและ
อันตรายสูง มักพบในเด็กและคนอายุต่ากว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุ
ได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลยหรือได้น้อยมาก
 เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน เป็นเบาหวานชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่
ซึ่งมักจะมีความรุนแรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป
แต่ก็อาจพบในเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ยัง
สามารถสร้างอินซูลินได้แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทาให้
มีน้าตาลที่เหลือใช้กลายเป็นเบาหวาน
โรคแทรกซ้อนที่อาจพบได้ เช่น
1.ตา อาจเป็นต้อกระจก ก่อนวัย ประสาทตาหรือจอตา(retina) เสื่อม หรือ
เลือดออกในน้าวุ้นลูกตา (Viteous hemorrhage) ทาให้มีอาการตามัว
ลงเรื่อยๆ หรือมองเห็นจุดดาลอยไปลอยมา และอาจทาให้ตาบอดใด้
2. ระบบประสาท ผู้ป่วยอาจเป็นปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาหรือปวดร้อน
ตามปลายมือปลายเท้า ซึ่งอาจทาให้แผลเกิดขึ้นที่เท้าได้ง่าย (อาจลุกลามจนเท้า
เน่า) บางคนอาจมีอาการวิงเวียนเนื่องจากมีภาวะความดันตกในท่ายืน บางคน
อาจไม่มีความรู้สึกทางเพศ หรือท้องเดินตอนกลางคืนบ่อย หรือกระเพาะปัสสาวะ
ไม่ทางาน
3. ไต มักจะเสื่อม จนเกิดภาวะไตวาย มีอาการบวม ซีด ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็น
สาเหตุการตายของผู้ป่วยเบาหวานที่พบได้ค่อนข้างบ่อย
4. ผนังหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ทาให้เป็นความดันโลหิต
สูง ,อัมพาต ,โรคหัวใจขาดเลือด ถ้าหลอดเลือดที่เท้าตีบแข็ง เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่
พอ อาจทาให้เท้าเย็นเป็นตะคริวหรือปวดขณะเดินมากๆ หรืออาจทาให้เป็นแผล
หายยากหรือเท้าเน่า (ซึ่งอาจเกิดร่วมกับการติดเชื้อ)
5. เป็นโรคติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานโรคต่า เช่น วัณโรคปอด, กระเพาะ
ปัสสาวะอักเสบ , กรวยไตอักเสบ , ช่องคลอดอักเสบ , เป็นฝีพุพองบ่อย , เท้าเป็น
แผลซึ่งอาจลุกลามจนเท้าเน่า เป็นต้น
6. ภาวะคีโตซิส (Ketosis) พบเฉพาะในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน
ที่ขาดการฉีดอินซูลินนานๆ ร่างกายจะมีการคั่งของสารคีโตน ซึ่งเกิดจากการเผา
ผลาญไขมัน ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนกระหายน้าอย่างมาก หายใจหอบลึก
และลมหายใจมีกลิ่นหอม มีไข้ กระวนกระวาย มีภาวะขาดน้ารุนแรง (ตาโบ๋ หนัง
เหี่ยว ความดันต่า ชีพจรเบาเร็ว) อาจมีอาการปวดท้อง ท้องเดิน ผู้ป่วยจะซึมลง
เรื่อยๆ จนกระทั่งหมดสติ หากรักษาไม่ทันอาจตายได้
โรคภาวะน้าตาลในเลือดต่า
สาเหตุ : ภาวะน้าตาลในเลือดต่า หมายถึง ระดับน้าตาลหรือกลูโคส
(glucose ) ในเลือดต่ากว่าปกติ ซึ่งอาจมีสาเหตุได้หลายอย่าง
 พบหลังดื่มเหล้าจัด อดข้าว มีไข้สูง หรือออกกาลังมากไป
 ผู้ป่วยเบาหวานที่กาลังได้รับยาเบาหวาน บางครั้งกินอาหารน้อยไป
หรือออกกาลังมากไปกว่าที่เคยทาอยู่ทาให้เกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่า
ได้
 พบในทารกแรกคลอดที่แม่เป็นเบาหวาน
 ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์
 ผู้ป่วยที่ผ่าตัดกระเพาะออกไปแล้ว
 ถ้าเป็นอยู่บ่อยๆ อาจมีสาเหตุจากเบาหวานระยะเริ่มแรก
กลับไปหน้าตัวเลือก
อาการ : ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจหวิว ใจสั่น
มือสั่น เหงื่อออก รู้สึกหิว บางคนอาจมี
อาการปวดศีรษะ ซึม กระสับกระส่าย พูดอ้อแอ้ แขนขาอ่อนแรง ปากชา มือชา
พูดเพ้อ เอะอะ โวยวาย ก้าวร้าว
ลืมตัว หรือทาอะไรแปลกๆ (คล้ายคนเมาเหล้า) ถ้าเป็นรุนแรง อาจมีอาการชัก
หมดสติ ในรายที่เกิดจากการดื่มเหล้า ผู้ป่วยอาจมีอาการตัวเย็นชืด แขนขาเกร็ง
ขากรรไกรแข็ง การตรวจร่างกาย นอกจากพบอาการดังกล่าวแล้ว ชีพจรพามัก
เบา เร็ว และความดันเลือดต่า (แต่ก็อาจพบว่า
ปกติก็ได้) รูม่านตามักจะมีขนาดปกติ และหดลงเมื่อถูกแสง
อาการแทรกซ้อน : หากปล่อยให้หมดสติอยู่นาน หรือเป็นอยู่ซ้า ๆ จะทาให้
สมองพิการ ความจาเสื่อม บุคลิกภาพเปลี่ยนไป
จากเดิม วิกลจริต บางคนอาจหลับไม่ตื่น เนื่องจากสมองพิการอย่างถาวร
โรคภาวะแคลเซียมในเลือดต่า
สาเหตุ :
 ในผู้ใหญ่ส่วนมาก มีสาเหตุจากการผ่าตัดต่อมธัยรอยด์ แล้วตัดเอา
ต่อมพาราธัยรอยด์ออกไปด้วย จึงทาให้เกิดภาวะต่อมพาราธัยรอยด์
ทางานน้อย ต่อมนี้มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนช่วยรักษาระดับของแคลเซียม
ในเลือดให้อยู่ในสมดุล เมื่อต่อมนี้ทางานได้น้อยก็ทาให้ระดับแคลเซียม
ในเลือดต่า ซึ่งอาจแสดงอาการภายหลังผ่าตัดแล้วเป็นปีๆ ก็ได้ และ
อาจเป็นชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
 ในทารกแรกเกิด ถ้ามีอาการภายใน 2-3 วัน หลังคลอด อาจมีสาเหตุ
จากการให้ทารกกินนมวัวระเหย , ทารกที่มีแม่เป็นเบาหวานแบะมี
ภาวะแทรกซ้อของการตั้งครรภ์ , ทารกมีน้าหนักตัวน้อย
กลับไปหน้าตัวเลือก
อาการ :ที่พบได้บ่อย คือ ผู้ป่วยจะมีอาการมือจีบเกร็งทั้งสองข้อง แบบเดียวกับ
ที่พบในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบจากอารมณ์ นอกจากนี้อาจเป็นตะคริวที่ขา ใบหน้า
หรือปวดบิดในท้อง บางคนอาจมีความรู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้นและปลายมือปลาย
เท้า ถ้าเป็นรุนแรงอาจมีอาการชักในทารก อาจมีอาการชัก หายใจลาบาก ตัว
เขียว บางคนมีอาการอาเจียน
อาการแทรกซ้อน : ถ้ามีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ามากๆ อาจทาให้หัวใจวาย
, กล่องเสียงเกร็งตัวจนหานใจไม่ได้
ถ้าเกิดจากภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานน้อย หากปล่อยได้เรื้อรัง อาจทาให้
เป็น
ต้อกระจก บุคลิกเปลี่ยนแปลงซึมเศร้า ถ้าหากเป็นตั้งแต่เล็กๆหากไม่ได้รับการ
รักษา อาจทาให้ ฟันเสีย ร่างกายไม่เจริญเติบโต และปัญญาอ่อนได้
การรักษา : หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาล ในรายที่มีประวัติการผ่าตัดต่อมธัย
รอยด์ (สังเกตเห็นรอยแผลที่คอ) อาจให้การ
รักษาเบื้องต้น ด้วยการฉีดแคลเซียมกลูโคเนต 10 มล. เข้าเส้นเลือดช้าๆซึ่งจะ
ช่วยให้หายชักเกร็งทันที
โรคคอพอกธรรมดา
สาเหตุ :คอพอก (คอหอยพอกก็เรียก) หมายถึง อาการที่ต่อมไทรอยด์
ตรงบริเวณคอหอยเกิดบวมโตผิดปกติ ทาให้คอโป่งเป็นลูกออกมาให้เห็น
ชัดเจน และสามารถคลาได้เป็นก้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาผู้ป่วยทาท่า
กลืนน้าลาย ก้อนนี้จะขยับขึ้นลงตามจังหวะการกลืน
คอพอกธรรมดา มีสาเหตุที่สาคัญ ได้แก่
 การขาดธาตุไอโอดีน
 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย มักพบในหญิงที่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่น หรือ
กาลังตั้งครรภ์ ซึ่งร่างกายต้องการ ฮอร์โมนธัยรอยด์ (ไทร็อกซิน) มาก
ขึ้น
 จากผลของยา
กลับไปหน้าตัวเลือก
อาการ :ผู้ป่วยจะมีอาการคอโต (คอพอก) กว่าปกติ โดยไม่มีความผิดปกติอื่นๆ
(เช่น ไม่อ่อนเพลีย น้าหนักไม่ลด ไม่เหนื่อยง่าย เป็นต้น) แต่ถ้าก้อนโตมากๆ อาจ
ทาให้หายใจลาบาก หรือกลืนลาบาก
การรักษา : คอพอกประจาถิ่น ให้กินเกลือไอโอดิน (เกลืออนามัย) หรือยาไอโอ
ไดดด์ (อาจเป็น ชนิดเม็ดหรือชนิดน้า) เป็นประจา
คอพอกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายควรให้ยาสกัดธัยรอยด์
(Thyroid extract) หรือเอลทร็อกซิน (Eltroxin) กินวันละครั้งๆ
ละ
1-2 เม็ด
โรคคอพอกเป็นพิษ
สาเหตุ : ต่อมธัยรอยด์จะสร้างฮอร์โมนภายใต้การควบคุมของต่อมใต้
สมอง กล่าวคือ ถ้าต่อมธัยรอยด์ทางานได้น้อย ต่อมใต้สมองจะหลั่ง
ฮอร์โมนออกมากระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทางานมากขึ้น แต่ถ้าต่อมธัยรอยด์
ทางานได้มากเกินไป ต่อมใต้สมองก็จะลดการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัย
รอยด์ ทาให้ต่อมธัยรอยด์ทางานน้อยลงส่วนสาเหตุที่ทาให้ต่อมธัยรอยด์
เสียสมดุลในการทางานนั้น ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา
ภูมิแพ้ต่อตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน
กลับไปหน้าตัวเลือก
โรคคุชชิง
สาเหตุ : เกิดจาก มีฮอร์โมนสเตอรอยด์
ในเลือดสูงกว่าปกติ เป็นผลมาจากการ
ใช้ยาสเตอรอยด์นานๆ
อาการ : หน้ากลมเหมือนพระจันทร์ ก้อนไขมัน เกิดขึ้นที่ต้นคอด้านหลัง
รูปร่างอ้วนตรงเอว พุงป่อง อ่อนเพลีย
ปวดหลัง
การรักษา : ถ้ามีสาเหตุจากการเป็นเนื้องอก ของต่อมหมวกไต หรือต่อม
ใต้สมอง มักรักษาด้วยการผ่าตัด แล้วให้กินยาสเตอรอยด์ทดแทนไปชั่ว
ชีวิต
กลับไปหน้าตัวเลือก
อาการ :ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ มือสั่น
(โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาทางานละเอียด เช่น เขียนหนังสือ งานฝีมือ) ใจหวิวใจ
สั่นมักมีความรู้สึกขี้ร้อน คือ ชอบอากาศเย็นมากกว่าอากาศร้อน เหงื่อออกง่าย
(ฝ่ามือจะมีเหงื่อชุ่มคอตลอดเวลา) น้าหนักตัวจะลดลงอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ป่วย
กินได้ปกติหรืออาจกินจุขึ้นกว่าเดิมด้วยซ้า ทั้งนี้เพราะร่างกายมีการเผาผลาญ
อาหารมากผู้ป่วยมักมีลักษณะอยู่ไม่สุข ชอบทาโน่นทานี่ บางทีดูเป็นคนขี้ตื่น
หรือท่าทางหลุกหลิก หรือ อาจมีอาการหงุดหงิด โมโหง่ายบางคนอาจมีอาการ
กล้าเนื้ออ่อนแรง แขนขาไม่มีแรง กลืนลาบาก หรือภาวะอัมพาตครั้งคราว จาก
โพแทสเซียมในเลือดต่า ผู้หญิงบางคนอาจมีประจาเดือนน้อยหรือขาด
ประจาเดือน
โรคแอดดิสัน
สาเหตุ : เกิดจาก หมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อย
อาการ : น้าหนักลด อ่อนเพลีย ท้องเสีย หรือผูก คลื่นไส้
การรักษา : ให้กินยาสเตอรอยด์ ควรกินตลอดชีวิต ควรกิน
อาหารให้เค็มจัด เพราะต้องการโซเดียม
กลับไปหน้าตัวเลือก
โรคซีแฮน
สาเหตุ : เกิดจาก พบในหญิงที่มีประวัติตกเลือด ต่อมใต้สมองทางานน้อย
ก็เลยทาให้ต่อมธัยรอยด์ หมวกไต และรังไข่
ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมนี้ไม่ทางานไปด้วย
อาการ : อ่อนเพลีย คิดช้า ขี้หนาว ความดันเลือดต่า เบื่ออาหาร ซูบผอม
การรักษา ให้ฮอร์โมนธัยรอยด์ กินตลอดชีวิต ในรายที่ต้องการมีบุตร อาจ
ต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่
กลับไปหน้าตัวเลือก
แหล่งอ้างอิง
 www.lks.ac.th
 www.thaigoodview.com
 www.nenfe.nfe.go.th
 www.panyathai.or.th
 www.il.mahidol.ac.th
 www.endocrinesystem4.blogspot.com
 http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/H
ormone/html/Website-endocrine-system/Pancreas.htm
 http://www.thailabonline.com/sec11endosystem.htm

More Related Content

What's hot

ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อOui Nuchanart
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนY'tt Khnkt
 
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4DK MK
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6issarayuth
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 

What's hot (18)

ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคน
 
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 

Viewers also liked

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
สรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองสรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองanongrattana
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40nabdowsj13
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อwaratree wanapanubese
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 

Viewers also liked (12)

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
 
Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]
 
สรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองสรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพอง
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40
 
Gene
GeneGene
Gene
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Similar to ฮอร์โมน...มนุษย์

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจssuser48f3f3
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 

Similar to ฮอร์โมน...มนุษย์ (20)

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 

More from dgnjamez

ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีdgnjamez
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาdgnjamez
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์dgnjamez
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือdgnjamez
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานdgnjamez
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานdgnjamez
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาdgnjamez
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์dgnjamez
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานdgnjamez
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีdgnjamez
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์dgnjamez
 

More from dgnjamez (20)

ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือ
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งาน
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chem
ChemChem
Chem
 
Bio
BioBio
Bio
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
Math
MathMath
Math
 
Social
SocialSocial
Social
 
Eng
EngEng
Eng
 
Thai
ThaiThai
Thai
 

ฮอร์โมน...มนุษย์

  • 1.
  • 2. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในทุกวันนี้มนุษย์ดาเนินกิจกรรมต่างๆภายในชีวิตประจาวันมากมายโดยการทางานของ ร่างกายโดยใช้กลไกต่างๆที่ทางานโดยการใช้พลังงาน แล้วยังมีการทางานร่วมกันกับฮอร์โมน ต่างๆโดยฮอร์โมนแต่ละชนิดนั้นจะทาให้เกิดกระบวนการต่างๆขึ้นทาให้สามารถดาเนินชีวิต ได้อย่างปกติ โดยฮอร์โมนในร่างกายมีน่าที่ที่ต่างกันไปตามแต่ชนิดแล้วมีต่อมสร้างฮอร์โมน ในจุดต่างๆของร่างกายต่อมนี้เป็นต่อมไร้ท่อโดยต่อมต่อมหนึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลาย ชนิด ฮอร์โมนสามารถลาเลียงฮอร์โมนที่สร้างผ่านระบบเลือดไปตามจุดต่างๆของร่างกาย ทา ให้ร่างกายเกิดการทางานตอบสนองต่อฮอร์โมนต่างๆ ในการศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนนี้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์หรือฮอร์โมนบางชนิดก็นาสร้างมานามา เสริมสร้างสมรถภาพร่างกายให้แข็งแรง ดังนั้นความรู้ในเรื่องของฮอร์โมนสามารถทาให้เรา ดูแลตัวเองได้ และรู้ว่าประโยชน์และโทษของฮอร์โมนตัวนั้นๆเป็นอย่างไรสาคัญต่อร่างกาย มากแค่ไหนทาอย่างไรถึงจะทาให้ฮอร์โมนตัวนั้นไม่เสื่อมสภาพทาให้เกิดโรคบางชนิดดังนั้น การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้จึงมีความสาคัญในระดับหนึ่ง
  • 6. Hormone ฮอร์โมน คือ ตัวนาส่งสารเคมีจากเซลล์กลุ่มของเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่น ๆ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งพืชและสัตว์ สามารถผลิตฮอร์โมนได้ที่ ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) โมเลกุลของ ฮอร์โมนจะถูกปล่อยโดยตรงยังกระแสเลือด ของเหลวในร่างกายอื่นๆ หรือเนื้อ เยื้อใกล้เคียง กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 7. หน้าที่ของฮอร์โมน  กระตุ้นหรือยับยั้งการเจริญเติบโต  กระตุ้นหรือยับยั้งโปรแกรมการสลายตัวของเซลล์  กระตุ้นหรือยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน  ควบคุม กระบวนการสร้างและสลาย (metabolism) และเตรียมพร้อมสาหรับบทบาท ใหม่ๆ เช่น การต่อสู้ หนี หรือ กาหนดช่วงเวลาของชีวิต เช่น วัยรุ่น วัยมีครอบครัวมีลูกหลานไว้สืบสกุล และวัย ทอง กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 8. ประเภทของ ฮอร์โมน ฮอร์โมนของสัตว์มีกระดูกสันหลังแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มดังนี้ - ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน - เพปไทด์ฮอร์โมน - สเตอรอยด์ฮอร์โมน - ลิพิด และ ฟอสโฟลิพิด กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 9. ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน เป็นอนุพันธ์ของ กรดอะมิโน ไทโรซีน และ ทริปโตแฟน ฮอร์โมน อนุพันธ์ของอะมีน เช่น  อะดรีนาลีน  โดพามีน  มีลาโทนิน  นอร์อะดรีนาลีน  เซอโรโทนิน  ไทรอกซีน  ไตรไอโอโดไทโรนีน กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 10. เพปไทด์ ฮอร์โมน ประกอบด้วยโซ่ของ กรดอะมิโน ตัวอย่าง เช่น เพปไทด์ฮอร์โมน เล็กอย่าง TRH และ วาโซเพรสซิน เพปไทด์ประกอบด้วยโซ่ กรดอะมิโน ที่ต่อกันเป็นโมเลกุลของ โปรตีน ตัวอย่าง โปรตีน ฮอร์โมน ได้แก่ อินสุลิน และโกรว์ทฮอร์โมน เช่น  แอนตี้มูลเลอเรียน ฮอร์โมน  แอนตี้ไดยูรีติก ฮอร์โมน  ลูทีอิไนซิ่ง ฮอร์โมน  อินสุลิน  ฯลฯ กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 11. สเตอรอยด์ และ สเตอรอล ฮอร์โมน เป็นอนุพันธ์จากคอเลสเตอรอล แหล่งผลิตในร่างกายได้แก่ เปลือกต่อมหมวกไตและ ต่อมบ่งเพศ ตัวอย่างเช่น 1) สเตอรอยด์ฮอร์โมน เช่น  เทสโตสเตอโรน  คอร์ติโซน 2) สเตอรอลฮอร์โมน เช่น  แคลซิตริออล กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 12. ลิพิด ฮอร์โมน มี ฮอร์โมน ดังนี้  โปรสตาแกลนดิน  ลิวโคไตรอีน  โปรสไซคลิน  ทรอมโบเซน กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 13. ต่อมไร้ท่อ หมายถึงต่อมไม่มีท่อ สิ่งที่หลั่งจากต่อมเหล่านี้เข้าสู่กระแสเลือดไหลเวียน โดยตรง ไม่ต้องผ่านท่อ ดังนั้นเซลล์ของต่อมไร้ท่อจะสัมผัสกับหลอดเลือดฝอย ภายในต่อมอย่างใกล้ชิด ต่อมเหล่านี้จึงมีเลือดมาเลี้ยงอย่างมากมายต่อมไร้ท่อ สร้างสารเคมีซึ่งมักจะเรียกว่า ฮอร์โมน โดยต่อมไร้ท่อที่สาคัญในร่ากายมีดังนี้ 1. ต่อมใต้สมอง 2. ต่อมไทรอยด์ 3. ต่อมพาราไทรอยด์ 4. ตับอ่อน 5. ต่อมหมวกไต 6. ต่อมเพศ 7. ฮอร์โมนจากรก 8. ต่อมเหนือสมอง 9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 14. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ เช่น 1) Growth Hormone เป็นฮอร์โมนควบคุมการ เจริญเติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะ กระดูกและกล้ามเนื้อ 2) Thyroid Stimulating Hormone เป็นฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้าง ไทร็อกซินเพิ่มขึ้น 3) Gonadotrophic Hormone เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ 4) Antidiuretic Hormone เป็นฮอร์โมนช่วยในการดูดน้ากลับของท่อไต เพื่อรักษา ระดับน้าของร่างกาย 5) Melatonin เป็นฮอร์โมนกระตุ้นให้เซลล์เม็ดสีสร้างเม็ดสีเพิ่มมากขึ้น กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 15. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ คือ ไทร็อกซิน โดยใช้ไอโอดีนเป็น วัตถุดิบในการ สร้างฮอร์โมน ซึ่งฮอร์โมนไทร็อกซินมีหน้าที่ สาคัญ ดังนี้ 1) ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบ ประสาท 2) ช่วยในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อเป็นผู้ใหญ่ 3) ช่วยควบคุมอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 16. ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland) ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญชื่อ พาราธอร์โมน ซึ่งทาหน้าที่เกี่ยวกับ การ ควบคุมเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสใน ร่างกาย การสร้างกระดูกและควบคุมบทบาท ของวิตามินดี ในร่างกาย โดยวิตามินดีจะรวมกับฮอร์โมนพาราธอร์โมนใน การสลายแคลเซียมออก จากกระดูกเพื่อรักษาระดับปกติของ แคลเซียมในพลาสมา กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 17. ตับอ่อน (Pancrease) ลักษณะเป็นต่อมขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้าน หลังของกระเพาะอาหาร ใกล้กับลาไส้เล็ก ส่วนดูโอดินัม ซึ่งเป็นลาไส้เล็กส่วนต้น ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อ จะผลิต ฮอร์โมนที่สาคัญ ดังนี้ 1) อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง โดยช่วยให้ กลูโคสผ่าน เข้าเซลล์และเปลี่ยนส่วนหนึ่งเป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ ทาให้ ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในระดับ ปกติ 2) กลูคากอน เป็นฮอร์โมนที่ทางานตรงข้ามกับอินซูลิน คือ ทาให้ระดับ น้าตาลใน เลือดสูงขึ้น กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 18. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) เป็นก้อนสีเหลืองๆ อยู่เหนือไตข้างละ 1 ต่อม ต่อมหมวกไตในผู้ใหญ่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อ 2 ต่อม คือต่อมหมวกไตส่วนนอกเจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส (mesenchymas) ของชั้นมีโซเดิร์มของตัวอ่อน ต่อมหมวกไต ส่วนในเจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกับเซลล์ประสาท ในทารกต่อมหมวกไตจะมีขนาดใหญ่ แต่เนื่องจากขาดสารเร่งปฏิกิริยา จึงไม่สามารถ สร้างฮอร์โมนเหล่านี้ได้ ผลิตได้แต่สารที่จะเปลี่ยนไปเป็นฮอร์โมนอีสโทรเจนที่รก กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 19. แบ่ง ฮอร์โมนออกเป็น 3 กลุ่ม ที่สาคัญ คือ 1) Glucocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต โดยเปลี่ยนไกลโคเจนในตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส ใน วงการแพทย์ใช้เป็นยาลดการอักเสบและรักษาโรคภูมิแพ้ ถ้ามีฮอร์โมนนี้มาก เกินไป จะทาให้อ้วน อ่อนแอ หน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้าท้องลาย น้าตาลใน เลือดสูง 2) Mineralocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้า และเกลือแร่ฮอร์โมนสาคัญกลุ่มนี้คือ aldosterone ช่วยในการทางานของ ไตในการดูดกลับ Na และ Cl ภายในท่อไต ถ้าขาด aldosterone จะทา ให้ร่างกาย สูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือดในร่างกาย ลดลง จนอาจทาให้ผู้ป่วยตาย เพราะความ ดันเลือด ต่า
  • 20. 3) Sex hormone ฮอร์โมนเพศช่วยควบคุมลักษณะทางเพศที่สมบูรณ์ทั้งชาย และหญิง 4) อะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) เป็นเนื้อชั้นในของต่อมหมวกไต อยู่ภายใต้การควบคุมของ sympathetic ถูกกระตุ้นในขณะตกใจ เครียด กลัว โกรธ เนื้อเยื่อชั้นนี้จะทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ - Adrenalin hormone หรือ Epinephrine hormone กระตุ้น ให้หัวใจบีบตัวแรง เส้นเลือดขยายตัว เปลี่ยน glycogen ในตับให้เป็นกลูโคสใน เลือด - Noradrenlin hormone หรือ Norepinephrine hormone กระตุ้นให้เส้นเลือดมีการบีบตัว ผลอื่นคล้ายๆ adrenalin แต่มี ฤทธิ์น้อยกว่า
  • 21. ต่อมเพศ (Gonad) ในชายได้แก่อัณฑะและในหญิงได้แก่รังไข่ซึ่งมีหน้าที่สาคัญ 2 อย่างคือ สร้างเซลสืบพันธ์และสร้างฮอร์โมน ฮอร์โมนที่สาคัญคือ  เทสทอสเตอโรน (Testosterone)  เอสโตรเจน (Estrogen) กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 22. Testosterone ฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสทอสเตอโรน(Testosterone) ซึ่งจะทา หน้าที่หลายอย่างคือ 1) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ 2) ทาให้อัตราการเจริญเติบโตของกระดูกเพิ่มขึ้น 3) กระตุ้นการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะเอ็นไซม์ 4) ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนเพศชาย
  • 23. ถ้าตัดอัณฑะออกจะทาให้เกิดผลดังต่อไปนี้ 1) ในเด็ก - ทาให้อวัยวะสืบพันธ์ไม่เจริญ - ไม่มี Secondary sexual characteristic - มีไขมันสะสมมากขึ้น แขนขายาวผิดปกติ - เป็นหมัน 2) ในผู้ใหญ่ - เป็นหมัน - ไม่มีความรู้สึกทางเพศ มีลักษณะไปทางเพศหญิง
  • 24. Estrogen ฮอร์โมนเพศหญิง ที่สาคัญคือ เอสโตรเจน (Estrogen) และ โปรเจสเตอ โรน (Progesterone)ฮอร์โมน เอสโตรเจน จะเกี่ยวข้องกับการ เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์และลักษณะต่างๆของความเป็น เพศหญิง ส่วน ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะเกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์คือ ระงับไม่ให้ไข่สุกระหว่าง ตั้งครรภ์ป้ องกันไม่ให้มีประจาเดือนระหว่างตั้ง ครรภ์ควบคุมการเปลี่ยนแปลง ของเยื่อบุมดลูกชั้นในเพื่อรองรับการฝังตัวของไข่ ที่ถูกผสม และกระตุ้นต่อม น้านมให้เจริญเติบโต
  • 25. ถ้าตัดรังไข่ออกจะทาให้เกิดผลดังต่อไปนี้ 1) ในเด็ก - อวัยวะสืบพันธ์ไม่เจริญ - ไม่มีเลือดประจาเดือน - มีลักษณะคล้ายชาย 2) ในผู้ใหญ่ - ประจาเดือนหยุด - ไม่มีความรู้สึกทางเพศ - มีลักษณะคล้ายชาย - ไม่มี Secondary sexual characteristic
  • 26. ฮอร์โมนจากรก รกเป็นบริเวณที่ระบบไหลเวียนโลหิตของมารดาและทารกมา พบกัน โดยเชื่อมต่อสายสะดือของทารกกับมดลูก ของมารดา รกทาหน้าที่ 2 ประการคือ - ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจากทารก ในครรภ์ของทารกในครรภ์ - ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิต ฮอร์โมนมากมายที่จาเป็น ระหว่างตั้งครรภ์ ฮอร์โมนจากรกมีดังนี้ กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 27. โกนาโดโทรฟินจากรก สามารถวัด HCG ในปัสสาวะของมารดาได้ตั้งแต่วันที่ 9 ของการตั้งครรภ์และระดับจะสูงขึ้นระหว่างสัปดาห์ที่ 9-12 หลังจากนั้นจะ ลดลง การตรวจพบ HCG ในปัสสาวะหรือเลือดใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ถึงการ ตั้งครรภ์ HCG ทาหน้าที่ยืดอายุการทางานของคอร์ปัสลูเทียม กระตุ้นการ สร้างและหลั่งฮอร์โมนแลกซินเพื่อยับยั้งการหดตัวของมดลูก Human chorionic somatomammotropin (HCS) เป็นฮอร์โมนชนิดเปปไทด์ประกอบด้วยกรดอะมิโน 191 หน่วย มีโครงร้างเหมือน ฮอร์โมน โซมาโทโทรฟินหรือโกรทฮอร์โมน และโพรแลกทิน แต่มีผลแบบโพรแลก ทินสูงกว่าโกรทฮอร์โมน ขณะที่ระดับ HCG ลดต่าลงหลังจาก 3 เดือนของการ ตั้งครรภ์ รกจะสร้าง HCS ในสัปดาห์ที่ 4 และจะเพิ่มระดับขึ้น เรื่อยๆ จนถึง ระดับสูงสุดเมื่อใกล้คลอด
  • 28. โพรเจสเทอโรน รกจะเริ่มสร้างโพรเจสเทอโรนในสัปดาห์ที่ 6 ของการตั้งครรภ์ถึง ระดับสูงสุดเมื่อใกล้คลอด โพรเจสเทอโรนถูกขับทิ้งทางปัสสาวะ โพรเจสเทอโรน เป็นฮอร์โมนที่สาคัญสาหรับการตั้งครรภ์โดยเตรียมเยื่อบุมดลูกเพื่อรับตัวอ่อน ทางานร่วมกับฮอร์โมนรีแลกซิน ลดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของแม่ ไม่ให้ต่อต้านการมีทารกซึ่งเปรียบเสมือนเซลล์แปลกปลอมในร่างกายของแม่ เอสโทรเจน รกสร้างเอสโทรเจนได้ทั้งเอสทราไดออล เอสโทรนและเอสไทรออล แต่สร้างเอสไทรออลได้มากกว่าฮอร์โมนอีก 2 ชนิดและมีระดับเพิ่มขึ้นในระหว่าง การตั้งครรภ์คือช่วยในการพัฒนเต้านมและทาให้กล้ามเนื้อมดลูกมีขนาดโตขึ้น ทาให้เอ็นยึดต่างๆในอุ้งเชิงกราน และ หังหน่าว ช่วยให้บริเวณช่องคลอดขยาย ออกได้กว้างขึ้น
  • 29. ต่อมไพเนียล (Pineal gland) ต่อมไพนีล เป็นต่อมเล็กๆ รูปไข่ หรือรูปกรวย คล้าย ๆ เมล็ดสน (pine cone) เป็นที่มาของชื่อ pinel gland ลักษณะค่อนข้างแข็ง สีน้าตาล ขนาดยาวจากหน้าไปหลัง ๕-๑๐ มิลลิเมตร กว้าง และสูง ๓-๗ มิลลิเมตร หนัก ๐.๒ กรัม ยื่นมาจากด้านบนของไดเอนเซฟฟาลอน หรืออยู่ด้านล่างสุดของโพรง สมองที่สาม ประกอบด้วยเซลล์ 2 ประเภท คือ เซลล์ไพเนียล (pinealocytes) และ เซลล์ไกลอัน (glial cell) จัดอยู่ในระบบประสาทคือ การรับตัวกระตู้การ มองเห็น(visual nerve stimuli) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นดวงตาที่ 3 ทาหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทางานร่วมกับ ต่อมไฮโปทารามัส (Hypothalamus) ซึ่งต่อมไฮโปทารามัส จะทาหน้าที่เกี่ยว ความหิว ความกระหาย เรื่องเซ็กส์ และนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์ และเป็น ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 30. ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล (pineal gland) อยู่ บริเวณกึ่งกลางของสมอง ส่วนซีรีบรัมซ้ายและขวา ฮอร์โมนที่สร้างจาากต่อมนี้คือ เมลาโทนิน ยับยั้งการ เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทาให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้าลง ระงับการหลั่ง โก นาโคโพรฟิน ให้น้อยลง ถ้าต่อมไพนิลไม่สามารถสร้างเมลาโทนินได้ จะทาให้ เป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้าสร้างมากเกินไปจะทาให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้ากว่า ปกติ ต่อมไพเนียลทาหน้าที่เหมือนตัวกลางที่จะรับรู้ความยาวของกลางวันและ กลางคืนและส่งสัญญาณในรูปของฮอร์โมนเมลาโทนินไปยังระบบต่างๆ เมื่อแสง สว่างผ่านเลนส์แก้วตาไปตกกระทบกับจอรับภาพบริเวณส่วนหลังสุดของลูกตา ที่เรตินา(retina) ที่มีใยประสาทมาเลี้ยง จะส่งกระแสประสาทไปที่ ศูนย์ รวมเส้นประสาทที่อยู่เหนือใยประสาทที่ไคว้กันเหนือสมองหรือ นิวเคลียสซูพรา ไคแอสมาติก((suprachiasmatic nuclei) ผ่านเส้นประสาทซิมพา เท-ติก จนถึงที่ปมประสาทซูพีเรีย เซอร์วิคัล (superior cervical ganglion) แล้วส่งต่อไปที่ต่อมไพเนียล
  • 31. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ ตับอ่อน (Pancreas) ตั้งอยู่ที่ด้านบนซ้ายของช่องท้อง โดย วางตัวจากส่วนโค้งของลาไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม (duodenum ) ถึงม้าม (spleen) และด้านหลังของกระเพาะ (stomach) มีลักษณะค่อนข้างแบน มีความยาวประมาณ 12 –15 เซนติเมตร ตับอ่อนทาหน้าที่ทั้งเป็นต่อมมีท่อคือการสร้าง น้าย่อยไปที่ลาไส้เล็กและเป็นต่อมไร้ท่อสร้างฮอร์โมนเซลล์ที่ทา หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนจะรวมกันเป็นกลุ่มมีชื่อว่า ไอเลตส์ ออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islets of Langerhans ) มี ปริมาณ 1 – 3 เปอร์เซ็นต์ของเนื้อเยื่อตับอ่อนทั้งหมด กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 32. ฮอร์โมนที่สร้างจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ 1) ฮอร์โมนอินซูลิน ( Insulin )  สร้างจาก เบต้าเซลล์ ( beta cell ) ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่รอบนอกของ กลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์  อวัยวะเป้ าหมาย ตับ,กล้ามเนื้อ  หน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด (ระดับน้าตาลในเลือดปกติ 80 - 100 มิลลิกรัม / 100 ลบ.ซม. ) โดยเพิ่มการนากลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อและ เซลล์ตับ กระตุ้นให้เซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโค เจน( โมเลกุลของคาร์์โบไฮเดรตที่สร้างจากกลูโคส )เก็บสะสมไว้ภายในเซลล์
  • 33. 2) ฮอร์โมนกลูคากอน ( Glucagon )  สร้างจาก แอลฟาเซลล์( alpha cell ) ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่ส่วนในและ เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์( ดูภาพด้านบน )  อวัยวะเป้ าหมาย ตับ,กล้ามเนื้อ  หน้าที่ เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด กระตุ้นให้เซลล์ ้ตับและเซลล์กล้ามเนื้อ เปลี่ยนไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด เพิ่มการสังเคราะห์ กลูโคสจากกรดอะมิโนและกรดไขมัน
  • 36. โรคเบาหวาน สาเหตุ : โรคนี้เกิดจากตับอ่อนสร้าง ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ได้น้อยหรือไม่ได้เลย ฮอร์โมนชนิดนี้มีหน้าที่คอยช่วยเหลือให้ร่างกายเผาผลาญ น้าตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกาย ไม่พอ น้าตาลก็ไม่ถูกนาไปใช้ จึงเกิดการคั่งของน้าตาลใน ลือดและอวัยวะต่างๆ เมื่อน้าตาลคั่งในเลือดมากๆ ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะ ทาให้ปัสสาวะหวานหรือมี มดขึ้นได้ จึงเรียกว่า เบาหวาน กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 37. อาการ : ผู้ป่วยมักจะมีอาการปัสสาวะบ่อยและมาก เนื่องจากน้าตาลที่ออกมา ทางไต จะดึงเอาน้าจากเลือดออกมาด้วย จึงทาให้มีปัสสาวะมากกว่าปกติ เมื่อถ่ายปัสสาวะมากก็จะทาให้รู้สึกกระหายน้า ต้องคอยดื่มน้าบ่อยๆ
  • 38. ประเภทของเบาหวาน เบาหวานสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆที่มีอาการ สาเหตุ ความรุนแรงและ การรักษาต่างกัน ได้แก่  เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและ อันตรายสูง มักพบในเด็กและคนอายุต่ากว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุ ได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลยหรือได้น้อยมาก  เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน เป็นเบาหวานชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมักจะมีความรุนแรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ยัง สามารถสร้างอินซูลินได้แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทาให้ มีน้าตาลที่เหลือใช้กลายเป็นเบาหวาน
  • 39. โรคแทรกซ้อนที่อาจพบได้ เช่น 1.ตา อาจเป็นต้อกระจก ก่อนวัย ประสาทตาหรือจอตา(retina) เสื่อม หรือ เลือดออกในน้าวุ้นลูกตา (Viteous hemorrhage) ทาให้มีอาการตามัว ลงเรื่อยๆ หรือมองเห็นจุดดาลอยไปลอยมา และอาจทาให้ตาบอดใด้ 2. ระบบประสาท ผู้ป่วยอาจเป็นปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาหรือปวดร้อน ตามปลายมือปลายเท้า ซึ่งอาจทาให้แผลเกิดขึ้นที่เท้าได้ง่าย (อาจลุกลามจนเท้า เน่า) บางคนอาจมีอาการวิงเวียนเนื่องจากมีภาวะความดันตกในท่ายืน บางคน อาจไม่มีความรู้สึกทางเพศ หรือท้องเดินตอนกลางคืนบ่อย หรือกระเพาะปัสสาวะ ไม่ทางาน 3. ไต มักจะเสื่อม จนเกิดภาวะไตวาย มีอาการบวม ซีด ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็น สาเหตุการตายของผู้ป่วยเบาหวานที่พบได้ค่อนข้างบ่อย
  • 40. 4. ผนังหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ทาให้เป็นความดันโลหิต สูง ,อัมพาต ,โรคหัวใจขาดเลือด ถ้าหลอดเลือดที่เท้าตีบแข็ง เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่ พอ อาจทาให้เท้าเย็นเป็นตะคริวหรือปวดขณะเดินมากๆ หรืออาจทาให้เป็นแผล หายยากหรือเท้าเน่า (ซึ่งอาจเกิดร่วมกับการติดเชื้อ) 5. เป็นโรคติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานโรคต่า เช่น วัณโรคปอด, กระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ , กรวยไตอักเสบ , ช่องคลอดอักเสบ , เป็นฝีพุพองบ่อย , เท้าเป็น แผลซึ่งอาจลุกลามจนเท้าเน่า เป็นต้น 6. ภาวะคีโตซิส (Ketosis) พบเฉพาะในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน ที่ขาดการฉีดอินซูลินนานๆ ร่างกายจะมีการคั่งของสารคีโตน ซึ่งเกิดจากการเผา ผลาญไขมัน ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนกระหายน้าอย่างมาก หายใจหอบลึก และลมหายใจมีกลิ่นหอม มีไข้ กระวนกระวาย มีภาวะขาดน้ารุนแรง (ตาโบ๋ หนัง เหี่ยว ความดันต่า ชีพจรเบาเร็ว) อาจมีอาการปวดท้อง ท้องเดิน ผู้ป่วยจะซึมลง เรื่อยๆ จนกระทั่งหมดสติ หากรักษาไม่ทันอาจตายได้
  • 41. โรคภาวะน้าตาลในเลือดต่า สาเหตุ : ภาวะน้าตาลในเลือดต่า หมายถึง ระดับน้าตาลหรือกลูโคส (glucose ) ในเลือดต่ากว่าปกติ ซึ่งอาจมีสาเหตุได้หลายอย่าง  พบหลังดื่มเหล้าจัด อดข้าว มีไข้สูง หรือออกกาลังมากไป  ผู้ป่วยเบาหวานที่กาลังได้รับยาเบาหวาน บางครั้งกินอาหารน้อยไป หรือออกกาลังมากไปกว่าที่เคยทาอยู่ทาให้เกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่า ได้  พบในทารกแรกคลอดที่แม่เป็นเบาหวาน  ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์  ผู้ป่วยที่ผ่าตัดกระเพาะออกไปแล้ว  ถ้าเป็นอยู่บ่อยๆ อาจมีสาเหตุจากเบาหวานระยะเริ่มแรก กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 42. อาการ : ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจหวิว ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออก รู้สึกหิว บางคนอาจมี อาการปวดศีรษะ ซึม กระสับกระส่าย พูดอ้อแอ้ แขนขาอ่อนแรง ปากชา มือชา พูดเพ้อ เอะอะ โวยวาย ก้าวร้าว ลืมตัว หรือทาอะไรแปลกๆ (คล้ายคนเมาเหล้า) ถ้าเป็นรุนแรง อาจมีอาการชัก หมดสติ ในรายที่เกิดจากการดื่มเหล้า ผู้ป่วยอาจมีอาการตัวเย็นชืด แขนขาเกร็ง ขากรรไกรแข็ง การตรวจร่างกาย นอกจากพบอาการดังกล่าวแล้ว ชีพจรพามัก เบา เร็ว และความดันเลือดต่า (แต่ก็อาจพบว่า ปกติก็ได้) รูม่านตามักจะมีขนาดปกติ และหดลงเมื่อถูกแสง
  • 43. อาการแทรกซ้อน : หากปล่อยให้หมดสติอยู่นาน หรือเป็นอยู่ซ้า ๆ จะทาให้ สมองพิการ ความจาเสื่อม บุคลิกภาพเปลี่ยนไป จากเดิม วิกลจริต บางคนอาจหลับไม่ตื่น เนื่องจากสมองพิการอย่างถาวร
  • 44. โรคภาวะแคลเซียมในเลือดต่า สาเหตุ :  ในผู้ใหญ่ส่วนมาก มีสาเหตุจากการผ่าตัดต่อมธัยรอยด์ แล้วตัดเอา ต่อมพาราธัยรอยด์ออกไปด้วย จึงทาให้เกิดภาวะต่อมพาราธัยรอยด์ ทางานน้อย ต่อมนี้มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนช่วยรักษาระดับของแคลเซียม ในเลือดให้อยู่ในสมดุล เมื่อต่อมนี้ทางานได้น้อยก็ทาให้ระดับแคลเซียม ในเลือดต่า ซึ่งอาจแสดงอาการภายหลังผ่าตัดแล้วเป็นปีๆ ก็ได้ และ อาจเป็นชั่วคราวหรือถาวรก็ได้  ในทารกแรกเกิด ถ้ามีอาการภายใน 2-3 วัน หลังคลอด อาจมีสาเหตุ จากการให้ทารกกินนมวัวระเหย , ทารกที่มีแม่เป็นเบาหวานแบะมี ภาวะแทรกซ้อของการตั้งครรภ์ , ทารกมีน้าหนักตัวน้อย กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 45. อาการ :ที่พบได้บ่อย คือ ผู้ป่วยจะมีอาการมือจีบเกร็งทั้งสองข้อง แบบเดียวกับ ที่พบในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบจากอารมณ์ นอกจากนี้อาจเป็นตะคริวที่ขา ใบหน้า หรือปวดบิดในท้อง บางคนอาจมีความรู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้นและปลายมือปลาย เท้า ถ้าเป็นรุนแรงอาจมีอาการชักในทารก อาจมีอาการชัก หายใจลาบาก ตัว เขียว บางคนมีอาการอาเจียน อาการแทรกซ้อน : ถ้ามีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ามากๆ อาจทาให้หัวใจวาย , กล่องเสียงเกร็งตัวจนหานใจไม่ได้ ถ้าเกิดจากภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานน้อย หากปล่อยได้เรื้อรัง อาจทาให้ เป็น ต้อกระจก บุคลิกเปลี่ยนแปลงซึมเศร้า ถ้าหากเป็นตั้งแต่เล็กๆหากไม่ได้รับการ รักษา อาจทาให้ ฟันเสีย ร่างกายไม่เจริญเติบโต และปัญญาอ่อนได้
  • 46. การรักษา : หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาล ในรายที่มีประวัติการผ่าตัดต่อมธัย รอยด์ (สังเกตเห็นรอยแผลที่คอ) อาจให้การ รักษาเบื้องต้น ด้วยการฉีดแคลเซียมกลูโคเนต 10 มล. เข้าเส้นเลือดช้าๆซึ่งจะ ช่วยให้หายชักเกร็งทันที
  • 47. โรคคอพอกธรรมดา สาเหตุ :คอพอก (คอหอยพอกก็เรียก) หมายถึง อาการที่ต่อมไทรอยด์ ตรงบริเวณคอหอยเกิดบวมโตผิดปกติ ทาให้คอโป่งเป็นลูกออกมาให้เห็น ชัดเจน และสามารถคลาได้เป็นก้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาผู้ป่วยทาท่า กลืนน้าลาย ก้อนนี้จะขยับขึ้นลงตามจังหวะการกลืน คอพอกธรรมดา มีสาเหตุที่สาคัญ ได้แก่  การขาดธาตุไอโอดีน  การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย มักพบในหญิงที่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่น หรือ กาลังตั้งครรภ์ ซึ่งร่างกายต้องการ ฮอร์โมนธัยรอยด์ (ไทร็อกซิน) มาก ขึ้น  จากผลของยา กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 48. อาการ :ผู้ป่วยจะมีอาการคอโต (คอพอก) กว่าปกติ โดยไม่มีความผิดปกติอื่นๆ (เช่น ไม่อ่อนเพลีย น้าหนักไม่ลด ไม่เหนื่อยง่าย เป็นต้น) แต่ถ้าก้อนโตมากๆ อาจ ทาให้หายใจลาบาก หรือกลืนลาบาก การรักษา : คอพอกประจาถิ่น ให้กินเกลือไอโอดิน (เกลืออนามัย) หรือยาไอโอ ไดดด์ (อาจเป็น ชนิดเม็ดหรือชนิดน้า) เป็นประจา คอพอกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายควรให้ยาสกัดธัยรอยด์ (Thyroid extract) หรือเอลทร็อกซิน (Eltroxin) กินวันละครั้งๆ ละ 1-2 เม็ด
  • 49. โรคคอพอกเป็นพิษ สาเหตุ : ต่อมธัยรอยด์จะสร้างฮอร์โมนภายใต้การควบคุมของต่อมใต้ สมอง กล่าวคือ ถ้าต่อมธัยรอยด์ทางานได้น้อย ต่อมใต้สมองจะหลั่ง ฮอร์โมนออกมากระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทางานมากขึ้น แต่ถ้าต่อมธัยรอยด์ ทางานได้มากเกินไป ต่อมใต้สมองก็จะลดการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัย รอยด์ ทาให้ต่อมธัยรอยด์ทางานน้อยลงส่วนสาเหตุที่ทาให้ต่อมธัยรอยด์ เสียสมดุลในการทางานนั้น ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา ภูมิแพ้ต่อตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 50. โรคคุชชิง สาเหตุ : เกิดจาก มีฮอร์โมนสเตอรอยด์ ในเลือดสูงกว่าปกติ เป็นผลมาจากการ ใช้ยาสเตอรอยด์นานๆ อาการ : หน้ากลมเหมือนพระจันทร์ ก้อนไขมัน เกิดขึ้นที่ต้นคอด้านหลัง รูปร่างอ้วนตรงเอว พุงป่อง อ่อนเพลีย ปวดหลัง การรักษา : ถ้ามีสาเหตุจากการเป็นเนื้องอก ของต่อมหมวกไต หรือต่อม ใต้สมอง มักรักษาด้วยการผ่าตัด แล้วให้กินยาสเตอรอยด์ทดแทนไปชั่ว ชีวิต กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 51. อาการ :ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ มือสั่น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาทางานละเอียด เช่น เขียนหนังสือ งานฝีมือ) ใจหวิวใจ สั่นมักมีความรู้สึกขี้ร้อน คือ ชอบอากาศเย็นมากกว่าอากาศร้อน เหงื่อออกง่าย (ฝ่ามือจะมีเหงื่อชุ่มคอตลอดเวลา) น้าหนักตัวจะลดลงอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ป่วย กินได้ปกติหรืออาจกินจุขึ้นกว่าเดิมด้วยซ้า ทั้งนี้เพราะร่างกายมีการเผาผลาญ อาหารมากผู้ป่วยมักมีลักษณะอยู่ไม่สุข ชอบทาโน่นทานี่ บางทีดูเป็นคนขี้ตื่น หรือท่าทางหลุกหลิก หรือ อาจมีอาการหงุดหงิด โมโหง่ายบางคนอาจมีอาการ กล้าเนื้ออ่อนแรง แขนขาไม่มีแรง กลืนลาบาก หรือภาวะอัมพาตครั้งคราว จาก โพแทสเซียมในเลือดต่า ผู้หญิงบางคนอาจมีประจาเดือนน้อยหรือขาด ประจาเดือน
  • 52. โรคแอดดิสัน สาเหตุ : เกิดจาก หมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อย อาการ : น้าหนักลด อ่อนเพลีย ท้องเสีย หรือผูก คลื่นไส้ การรักษา : ให้กินยาสเตอรอยด์ ควรกินตลอดชีวิต ควรกิน อาหารให้เค็มจัด เพราะต้องการโซเดียม กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 53. โรคซีแฮน สาเหตุ : เกิดจาก พบในหญิงที่มีประวัติตกเลือด ต่อมใต้สมองทางานน้อย ก็เลยทาให้ต่อมธัยรอยด์ หมวกไต และรังไข่ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมนี้ไม่ทางานไปด้วย อาการ : อ่อนเพลีย คิดช้า ขี้หนาว ความดันเลือดต่า เบื่ออาหาร ซูบผอม การรักษา ให้ฮอร์โมนธัยรอยด์ กินตลอดชีวิต ในรายที่ต้องการมีบุตร อาจ ต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่ กลับไปหน้าตัวเลือก
  • 54. แหล่งอ้างอิง  www.lks.ac.th  www.thaigoodview.com  www.nenfe.nfe.go.th  www.panyathai.or.th  www.il.mahidol.ac.th  www.endocrinesystem4.blogspot.com  http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/H ormone/html/Website-endocrine-system/Pancreas.htm  http://www.thailabonline.com/sec11endosystem.htm