SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมน (hormone)
ฮอร์โมน (hormone)
        ฮอร์โมน (hormone) คือสารเคมีที่
สร้างจากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อ (endocrine
gland)แล้วถูกลาเลียงไปตามระบบหมุนเวียน
ของโลหิต เพื่อทาหน้าที่ ควบคุมการเจริญ
เติบโต ควบคุมลักษณะทางเพศและควบคุม
การทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
ชนิดสารฮอร์โมน
- โปรตีน
- สเตอรอยด์
- กรดอะมิโน
- เพปไทด์
- กรดไขมัน
สมบัติทั่วไปของฮอร์โมน

1.เป็นสารที่ผลิตจากต่อมไร้ท่อ
2.เป็นสารที่พบได้ในเลือด
3.ฮอร์โมนแต่ละตัวจะมีอวัยวะที่ฮอร์โมนแสดง
ผลเรียกว่า อวัยวะเป้าหมาย (target organ)
ส่วนอวัยวะอื่นๆจะไม่มีผลกระตุ้น
การลาเลียงฮอร์โมน
หน้าที่ของฮอร์โมน
     แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่
1.ควบคุมการเจริญเติบโต (growth)
2.ควบคุมและรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
ให้เป็นปกติ
3.ควบคุมการทางานของร่างกายอย่างอัตโนมัติ
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อที่สาคัญของร่างกาย
ต่อมไร้ท่อมีการเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อทั้ง3ชั้น คือ
   1. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากmesoderm
       * สร้างสารพวกสเตอรอยด์
   -ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex)
   -รังไข่ (ovary)
   -อัณฑะ (testis)
2. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจาก ectoderm
  และendoderm
     * สร้างสารพวกเปปไทด์ โปรตีน
- ต่อมไทรอยด์(thyroid gland)
- ต่อมใต้สมอง(hypophysis หรือ pituitary)
- ต่อมหมวกไตส่วนใน(adrenal medulla)
ความสาคัญของต่อมไร้ท่อต่อร่างกาย
       1.พวกที่ร่างกายขาดไม่ได้
    (essential endocrine gland)
- ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland)
- ต่อมพาราไทรอยด์(parathyriod gland)
- ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex)
- ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์( ตับอ่อน )
2. พวกที่ร่างกายขาดได้
(non-essential endocrine gland)
- ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (pituitary)
- ต่อมไพเนียล(pineal gland)
- ต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla)
- รังไข่ (ovary)
- อัณฑะ(testis)
ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง(คน)

                   ในร่างกายคนเรามีต่อมไร้ท่อ
                    ทั้งหมด 9 ต่อม
                    Tropic hormones:
                     ฮอร์โมนที่ไปมีบทบาท
                     ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
                     ของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ
1 ต่อมไพเนียล
                   2 ต่อมใต้สมอง
                   3 ต่อมไทรอยด์
                   4 ต่อมพารา
                   ไทรอยด์
                   5 ตับอ่อน
                   6 ต่อมหมวกไต
                   7 อวัยวะเพศ
                   8 รก
                   .9 ต่อมไทมัส
                   10 กระเพาะอาหาร
                   และลาไส้เล็ก
Endocrine System
การทางานร่วมกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
           (ไฮโปทาลามัสและต่อมใต้สมอง)
                         -ไฮโปทาลามัสทาหน้าที่เชื่อมโยง
                         ระหว่างระบบต่อมไร้ท่อและ
                         ระบบประสาท
                         -เซลล์ประสาท
                         (neurosecretory cell)
                         จากไฮโปทาลามัสไปควบคุมการ
                         หลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วน
                         หน้า ทั้งแบบกระตุ้น(releasing
                          homrone) และยับยั้ง
                         (inhibiting hormone)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior pituitary gland or adenohypophysis)
-ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่านทางเส้น
เลือด portal vessel
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองpituitary
ต่อมใต้สมองเป็นต่อมไร้ท่ออยูติดต่อกับ
                            ่
ส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส
แบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
   1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(Anterior pituitary)
   2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermidiate )
   3.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
      pituitary
ชนิดฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง
ภาพแสดงอวัยวะที่เป็น taget organ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
    o โกรทฮอร์โมน (GH)
    o โกนาโดโทรฟิน (Gn) ประกอบด้วย FSH
      และ LH
    o โพรแลกทิน
    o อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (ACTH)
    o ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (TSH)
    o เอนดอร์ฟิน
                                         25
ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone,GH)
• ชื่ออีกชือหนึงว่า โซมาโตโทรฟิน หรือ STH
           ่ ่
• ควบคุมการเจริญเติบโตทั่วๆ ไปของร่างกาย
• มีมากเกินไปในเด็กทาให้ร่างกายสูงผิดปกติ
  (gigantism)
• ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนนี้ วัยเด็กจะมีลักษณะ
  เตี้ยแคระ
• มีฮอร์โมนนี้สูงภายหลังโตเต็มวัยแล้วจะเกิด
  อาการอะโครเมกาลี (acromegaly)
giantism
• เนื่องจากในวัยเด็กมีการสร้าง GH มาก
  เกินไปจะมีผลกระตุ้นการเจริญเติบโต
  มากกว่าปกติ เรียกว่า สภาวะยักษ์
  (giantism)
dwarfism
ในวัยเด็กมีการขาดฮอร์โมน GH น้อยทาให้
เกิดอาการร่างกายมีขนาดเล็ก แคระแกร็น
เนื่องจากการเจริญเติบโตของกระดูกถูก
ยับยั้ง ระบบสืบพันธ์ไม่เจริญ
acromegaly
เนื่องจากในวัยผู้ใหญ่มีฮอร์โมน GH มากเกินไปจะมีผลต่อการ
กระตุ้นการเจริญของกระดูกในด้านกว้าง เนื่องจากกระดูก
ทางด้านยาวบิดไปแล้ว ยาวอีกไม่ได้ และยับยั้งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ด้วย ทาให้กระดูกที่คางขยายขนาดกว้างขึ้นฟันห่างใบหน้าเป็น
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู นิ้วมือ นิ้วเท้ามีขนาดใหญ่ขึ้น ผิวหนังหนา
และหยาบ
simmon’s disease
      เนื่องจากในผู้ใหญ่ที่มีฮอร์โมน
      โกรธน้อยมักไม่แสดงลักษณะ
      อาการให้เห็นแต่พบว่าน้าตาล
      ในเลือดต่าจึงทนต่อ
      ความเครียดทางอารมณ์ได้น้อย
      กว่าคนปกติ และมักจะเป็นลม
      หน้ามืดง่าย อาจเป็นโรคผอม
      แห้ง
ฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน
(gonadotrophin หรือgonadotrophichormone,Gn )
ประกอบด้วย
 1 .ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน ( follicle
 stimulating hormone หรือเรียกย่อๆ ว่า FSH
 2. ลูทไนซิงฮอร์โมน (luteinizing hormone)
       ิ
  หรือเรียกย่อว่า LH
 *ฮอร์โมนFSH เป็นฮอร์โมนพวกโปรตีนที่รวมอยู่
    กับคาร์โบไฮเดรต(glycoprotein)
gonadotrophinในเพศชาย
        FSH กระตุ้นการ
         เจริญเติบโตของอัณฑะและ
         หลอดสร้างอสุจิ
         LH กระตุ้นกลุ่มเซลล์อิน
        เตอร์สติเชียลหรือเซลล์เลย์
         ดิก ที่แทรกอยู่ระหว่าง
         หลอดสร้างอสุจิในอัณฑะ
         ให้หลั่งฮอร์โมน เพศชาย
         คือฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน
                                33
ฮอร์โมน FSH ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของอัณฑะ และการสร้างอสุจิ
gonadotrophinในเพศหญิง
 FSH กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิลในรังไข่
  ขณะฟอลลิเคิลเจริญจะสร้างฮอร์โมนอีสโทรเจน
 LH กระตุ้นการตกไข่และเกิดคอร์ปัสลูเทียม
  จะสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่
 ร่วมกับอีสโทรเจน ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงที่รัง
 ไข่และมดลูกเพื่อรอรับการฝังตัวของเซลล์ไข่ที่
 ถูกผสม
                                       35
ฮอร์โมนโพรแลกติน
(prolactin) หรือ (lactogenic hormone)
 มีหน้าที่กระตุ้นต่อมน้านม ให้สร้างน้านม
• เป็นฮอร์โมนประเภทโปรตีน กระตุ้นการเจริญของ
  ท่อของการผลิตน้านมกระตุ้นการสร้างและผลิต
  น้านม
• ในขณะตั้งครรภ์และตอนคลอดจะมีโพรแลกตินสูง
• โพรแลกตินในเพศชายไม่ทราบหน้าที่แน่ชัด แต่มี
  ผู้รายงานว่าโพรแลกตินจะทาหน้าที่ร่วมกับ
  ฮอร์โมนเพศชายในการกระตุ้นอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
  กับการสืบพันธุ์ เช่น ต่อมลูกหมาก ท่อนาอสุจิ และ
  ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน
(adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH
     ทาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทก ของต่อมหมวกไตให้สร้าง
     ฮอร์โมนตามปกติ
ACTH
• กระตุ้นการเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อม
  หมวกไตส่วนนอก
• กระต้นการปลดปล่อยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ
• กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
• กระตุ้นการหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
• ACTH ยังมีลักษณะบางอย่างเหมือนฮอร์โมนจาก
  ต่อมใต้สมองส่วนกลาง(MSH)จึงกระตุ้นเมลานิ
  นภายในสัตว์เลือดเย็น เช่น กบ ทาให้มีสีเข้มขึ้น
ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์
         (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH
        ทาหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนตาม ปกติ ฮอร์โมน
        จาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะควบคุมโดยฮอร์โมน ประสาทที่
         สร้างมาจากไฮโพทามัส
ลามัส
•   ออกฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน
•   สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า หรือเนื้อเยื่ออื่นๆ
•   ทาหน้าที่ระงับความเจ็บปวด
•   ช่วยให้คิดในทางสร้างสรรค์
•   ช่วยเพิ่มความตื่นตัว มีชีวิตชีวาและความสุข
•   จะหลั่งออกมาเมื่อเรามีอารมณ์แจ่มใส
                                            42
ไฮโพทาลามัสกับการสร้างและหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing hormone,GHRH)

• ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone,GHIH)

• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน(prolactin releasing
  hormone,PRH)

• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing
  hormone,TRH)กระตุ้นการหลัง TSH
                              ่

• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn ( gonadotrophin releasing
  hormone,GnRH)กระตุ้นการหลัง FSHและ LH
                               ่
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
    ผลิตฮอร์โมนเมลาโนไซต์(Melanocyte stimulating hormone
หรือMSH ) ทาหน้าที่กระตุ้นการสังเคราะห์รงควัตถุสีนาตาล
                                                    ้
( melanin )และกระตุ้นให้ melanin กระจายไปทั่วเซลล์ทาให้
เกิดการเปลี่ยนสีตัวของสัตว์เลือดเย็นให้มีสีเข้มขึ้น
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior lobe)
เซลนิวโรซีครีทอรี ( neurosecretory cell )
                           • ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
                             หรือนิวโรไฮโพไฟซีส
                             ไม่ได้สร้างฮอร์โมนเอง
                             แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมา
                             จาก นิวโรซีครีทอรี
                             เซลล์ของไฮโพทาลามัส
                             โดยกลุ่มเซลล์เหล่านี้จะ
                             มีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่
                             ภายในต่อมใต้สมอง
                             ส่วนหลัง และเข้าสู่
                             กระแสเลือด
ฮอร์โมนวาโซเพรสซิน ( Vasopressin ) หรือ
   ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH ( antidiuretic hormone )
มีหน้าที่ดูดน้ากลับของหลอดไต และกระตุ้นให้หลอด เลือดบีบตัว
ถ้าขาดฮอร์โมนนีจะเกิดการเบาจืดทาให้ปัสสาวะ บ่อย
                  ้
ADH
• มีผลให้มีการดูดน้ากลับที่ท่อหน่วยไต
• ฮอร์โมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อ กระหายน้า และ
  ขาดน้า ความเครียดสูง ความดันเลือดสูง
• ยาที่มีผลต่อการกระตุ้นประสาทส่วนกลาง ฝิ่น
  เฮโรอีนจะมีผลในการกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนด้วย
• ถ้ามี ADH น้อยมากๆจะทาให้เกิดโรคเบาจืด
  (diabetes insipidus) มีปัสสาวะออกมามากถึง
  วันละ 20 ลิตรต่อวัน
ออกซีโทซิน (Oxytocin)
 ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อ
 เรียบและ อวัยวะภายใน
 กระตุ้นกล้ามเนื้อรอบ ๆ
 ต่อมน้านมให้ขับน้านม
 ฮอร์โมนนี้จะหลั่งออกมา
 มากตอนคลอด เพื่อช่วยให้
 กล้ามเนื้อ มดลูกบีบตัวขณะ
 คลอด
ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
        Islets of langerhans
            ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าทีสร้าง
                                             ่
ฮอร์โมน ได้แก่
- อินซูลิน สร้างจากเซลเบตา มีหน้าที่รักษาระดับ
  น้าตาลในเลือดให้ปกติ
- กลูคากอน (glucagon) สร้างมาจากแอลฟาเซล
  มีหน้าทีกระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนจากตับให้
          ่
  เป็นน้าตาล กลูโคสมากขึ้น
กลไกการทางานของอินซูลินกับกลูคากอน
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
      ต่อมหมวกไต (adrenal gland) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ
2ชนิดคือ
1. อะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) เป็นเนื้อเยื่อ
   ชั้นนอก
2. อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เป็นเนื้อเยื่อ
   ชั้นใน
อะดรีนัลคอร์เทกซ์ ผลิตฮอร์โมนได้มาก สามารถแบ่งออก
เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
อะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex)

1. ฮอร์โมนกลูโคคอร์ตคอยด์ (Glucocorticoid hormone)
                    ิ
ทาหน้าที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต กระตุ้นการ
เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตและไกลโคเจนเป็นกลูโคส และยังควบ
คุมสมดุลของเกลือแร่
2. ฮอร์โมนมิเนราโลคอทิคอยด์ (mineralocorticoid)
ทาหน้าที่ ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย เช่น
อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ดูดโซเดียมกลับท่อหน่วยไต
อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla)
อะดรีนัลเมดุลลา ผลิตฮอร์โมนดังนี้
        - อะดรีนาลิน (adrenalin) ทาให้น้าตาลในเลือด
เพิ่มขึ้น และ กระตุ้นการเต้นของหัวใจ
         - นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin) หลั่งจาก
เส้นประสาทซิมพา เทติก ทาให้ความดันเลือดสูง
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
 - ไทรอกซิน (thyroxin) คือสารที่สกัดจากต่อไทรอยด์
 ทาหน้าที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย
 และกระตุ้นเมตามอร์โฟซิสของสัตว์ครึ่งบกครึงน้าให้เปลี่ยนเป็น
                                          ่
 ตัวเต็มวัย ถ้าต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินจะทาให้
 เกิดโรคคอพอก , มิกซีดีมา แต่ถ้าต่อมไทรอยด์ถูกกระตุ้นให
 สร้าง ฮอร์โมนมากเกินไป ทาให้เกิดโรคคอพอกเป็นพิษ
- แคลซิโทนนิน (Calcitonin) ทาหน้าที่ลดระดับแคลเซียม
   ในเลือด
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์
- พาราทอร์โมน (parathormone,PTH) ทาหน้าที่
  รักษาสมดุลและ ฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่
- มีผลกระตุ้นให้มีการเพิ่มแคลเซียมและฟอสฟอรัส
- ถ้ามีระดับแคลเซียมต่าในเลือดจะกระตุ้นให้มีการหลัง
                                                  ่
  ฮอร์โมนมากขึ้น
- ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะทาให้มีการสะสม
  แคลเซียมที่ไตที่เส้นเลือด กระดูกเสียแคลเซียมมาก
  เกินไป หักง่ายเป็นโรคกระดูกพรุน
ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
เพศชาย
        ฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgens) ประกอบไปด้วย
เทสโทสเตอโรน (testosteron) มีหน้าที่ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น
เพศหญิง
- เอสโทรเจน (estrogens) สร้างจากเซลล์ฟอลลิเคิลในรังไข่ ฮอร์โมนนี้จะ
 ต่าในขณะมีประจาเดือน
- ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน (progesterone) สร้างจาก คอร์ปัสลูเทียม
 ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่าง กายในช่วงวัยรุ่น
ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล
           ต่อมไพเนียลอยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม
พูซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน ต่อมนีจะ
                                                        ้
สร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์ชนสูงในช่วง
                                               ั้
วัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าขาดจะทา
   ให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวกับการปรับตัวของสัตว์
  1. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง MSH
  2. ต่อมไพเนียล         melatonin
ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
   1. Thymus gland
ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม Biological clock
   1. ต่อมไพเนียล

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อwaratree wanapanubese
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 

What's hot (20)

ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
หู
หูหู
หู
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 

Viewers also liked

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
สรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองสรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองanongrattana
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40nabdowsj13
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์dgnjamez
 
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012Namthip Theangtrong
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointsupamitr
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...Prachoom Rangkasikorn
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 

Viewers also liked (20)

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
สรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพองสรชัช ลำพอง
สรชัช ลำพอง
 
Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 
Acromegal
AcromegalAcromegal
Acromegal
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 

Similar to ระบบต่อมไร้ท่อ

ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2Aon Narinchoti
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 

Similar to ระบบต่อมไร้ท่อ (20)

ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 

More from โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 

More from โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

ระบบต่อมไร้ท่อ