SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ทศนิยม
   ทศนิยมแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
   1. ทศนิยมซ้า มี 2 ประเภท
- ทศนิยมรู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้าศูนย์
- ทศนิยมไม่รู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้ากันเป็นระบบ
   2. ทศนิยมไม่ซ้า เป็นทศนิยมที่ไม่ซ้ากัน ไม่เป็นระบบ
สูตร
การเปลี่ยนทศนิยมซ้าแบบไม่รู้จบให้เป็นส่วน


n = จ้านวนของตัวเลขทศนิยมไม่ซ้า


                             ร้อยละ
  ร้อยละ คือ เศษส่วนที่มีส่วนเป็น 100 มีคุณสมบัติ
  1. ก้าไร a% หมายความว่า ทุน 100 บาท ก้าไร a บาท
  2. ขาดทุน a% หมายความว่า ทุน 100 บาท ขาดทุน a บาท
  3. ลดราคา a% หมายความว่า สินค้าราคา 100 บาท ลดราคา a
บาท
สามเหลี่ยมและความเท่ากันทุกประการ
     นิยามของความเท่ากันทุกประการ
    1. รูปสองรูปเท่ากันทุกประการเมื่อรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิท
พอดี
    2. ส่วนของเส้นตรงสองเส้นจะเท่ากันทุกประการ เมื่อส่วนของ
เส้นตรงนันยาวเท่ากัน
    3. มุมสองมุมจะเท่ากันทุกประการ เมื่อมุมทังสองมุมมีขนาดเท่ากัน
 ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
 นิยาม รูปสามเหลี่ยม ABC คือ รูปที่ประกอบด้วยส่วนของเส้นตรง
สามเส้น , และ เชื่อมต่อจุด A,B และ C ว่าจุดยอดมุมของรูป
สามเหลี่ยม ABC
 รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการเมื่อด้านและมุมของรูป
สามเหลี่ยมทังสองมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ
 ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในรูปแบบต่างๆ
    1. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบด้าน-มุม-ด้าน(ด.ม.ด.)
 นิยาม ถ้ารูสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีด้านยาวเท่ากันสองคู่และขนาด
ของมุมในระหว่างด้านคู่ที่ยาวเท่ากัน เท่ากันแล้ว รูปสามเหลี่ยมสอง
รูปนันจะเท่ากันทุกประการ
2. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบมุม-ด้าน-มุม(ม.ด.ม.)
นิยาม ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และ
ด้านซึ่งเป็นแขนร่วมของมุมทังสองที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันด้วย
แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองนันจะเท่ากันทุกประการ
   3. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบด้าน-ด้าน-ด้าน(ด.ด.ด.)
นิยาม ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีด้านยาวเท่ากันสามคู่แล้ว รูป
สามเหลี่ยมนันจะเท่ากันทุกประการ


                               เส้นขนาน


   นิยาม เส้นตรงสองเส้นที่บนระนาบเดียวกันขนานกันเมื่อเส้นทังสองนีไม่
ตัดกัน
หลักการง่ายที่ใช้พิจารณาว่าเส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่
   1. ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัดแล้วขนาดของมุมภายในที่อยู่
บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเป็น 180 องศา
   2. ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ท้าให้ขนาดของมุมภายในที่อยู่
บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเป็น 180 องศาแล้ว เส้นตรงคู่นีจะขนาน
กัน
   ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง
   1 . ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัดแล้วมุมแย้งจะมีขนาดเท่ากัน
2 . เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งที่เกิดขึนมีขนาดเท่ากัน
แล้วเส้นตรงคู่นันจะขนานกัน
    รูปสามเหลี่ยมและเส้นขนาน
 คุณสมบัติของรูปสามเหลี่ยม
    1. ขนาดของมุมทังสามของรูปสามเหลี่ยมใดๆรวมกันได้ 180 องศา
    2. ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไปมุมภายนอกที่เกิดขึน
จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประกอบของมุม
ภายนอกนัน
    3. ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันสองคู่และมีด้านที่อยู่ตรง
ข้ามกันมุมที่มีขนาดเท่ากันยาวเท่ากันคู่หนึ่งแล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนีจะ
เท่ากันทุกประการ สามเหลี่ยมสองรูปที่กล่าวมีความสัมพันธ์แบบมุม-มุม-
ด้าน(ม.ม.ด.)
    4. สามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบมุม-มุม-ด้านด้วย

More Related Content

What's hot

ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังkroojaja
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 

What's hot (20)

20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 

Similar to สรุปสูตร ม.2

เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการORAWAN SAKULDEE
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5T'Rak Daip
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันkanjana2536
 

Similar to สรุปสูตร ม.2 (9)

เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
 

More from krutew Sudarat

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์krutew Sudarat
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2krutew Sudarat
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1krutew Sudarat
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1krutew Sudarat
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองkrutew Sudarat
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นkrutew Sudarat
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านkrutew Sudarat
 

More from krutew Sudarat (18)

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
ดงมรณะ7
ดงมรณะ7ดงมรณะ7
ดงมรณะ7
 
ดงมรณะ6
ดงมรณะ6ดงมรณะ6
ดงมรณะ6
 
ดงมรณะ5
ดงมรณะ5ดงมรณะ5
ดงมรณะ5
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมอง
 
Math m1 book2
Math m1 book2Math m1 book2
Math m1 book2
 
Math m1 book1
Math m1 book1Math m1 book1
Math m1 book1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 

สรุปสูตร ม.2

  • 1. ทศนิยม ทศนิยมแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ทศนิยมซ้า มี 2 ประเภท - ทศนิยมรู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้าศูนย์ - ทศนิยมไม่รู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้ากันเป็นระบบ 2. ทศนิยมไม่ซ้า เป็นทศนิยมที่ไม่ซ้ากัน ไม่เป็นระบบ สูตร การเปลี่ยนทศนิยมซ้าแบบไม่รู้จบให้เป็นส่วน n = จ้านวนของตัวเลขทศนิยมไม่ซ้า ร้อยละ ร้อยละ คือ เศษส่วนที่มีส่วนเป็น 100 มีคุณสมบัติ 1. ก้าไร a% หมายความว่า ทุน 100 บาท ก้าไร a บาท 2. ขาดทุน a% หมายความว่า ทุน 100 บาท ขาดทุน a บาท 3. ลดราคา a% หมายความว่า สินค้าราคา 100 บาท ลดราคา a บาท
  • 2. สามเหลี่ยมและความเท่ากันทุกประการ นิยามของความเท่ากันทุกประการ 1. รูปสองรูปเท่ากันทุกประการเมื่อรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิท พอดี 2. ส่วนของเส้นตรงสองเส้นจะเท่ากันทุกประการ เมื่อส่วนของ เส้นตรงนันยาวเท่ากัน 3. มุมสองมุมจะเท่ากันทุกประการ เมื่อมุมทังสองมุมมีขนาดเท่ากัน ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม นิยาม รูปสามเหลี่ยม ABC คือ รูปที่ประกอบด้วยส่วนของเส้นตรง สามเส้น , และ เชื่อมต่อจุด A,B และ C ว่าจุดยอดมุมของรูป สามเหลี่ยม ABC รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการเมื่อด้านและมุมของรูป สามเหลี่ยมทังสองมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในรูปแบบต่างๆ 1. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบด้าน-มุม-ด้าน(ด.ม.ด.) นิยาม ถ้ารูสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีด้านยาวเท่ากันสองคู่และขนาด ของมุมในระหว่างด้านคู่ที่ยาวเท่ากัน เท่ากันแล้ว รูปสามเหลี่ยมสอง รูปนันจะเท่ากันทุกประการ
  • 3. 2. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบมุม-ด้าน-มุม(ม.ด.ม.) นิยาม ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และ ด้านซึ่งเป็นแขนร่วมของมุมทังสองที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันด้วย แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองนันจะเท่ากันทุกประการ 3. ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมในแบบด้าน-ด้าน-ด้าน(ด.ด.ด.) นิยาม ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีด้านยาวเท่ากันสามคู่แล้ว รูป สามเหลี่ยมนันจะเท่ากันทุกประการ เส้นขนาน นิยาม เส้นตรงสองเส้นที่บนระนาบเดียวกันขนานกันเมื่อเส้นทังสองนีไม่ ตัดกัน หลักการง่ายที่ใช้พิจารณาว่าเส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ 1. ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัดแล้วขนาดของมุมภายในที่อยู่ บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเป็น 180 องศา 2. ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ท้าให้ขนาดของมุมภายในที่อยู่ บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเป็น 180 องศาแล้ว เส้นตรงคู่นีจะขนาน กัน ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง 1 . ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัดแล้วมุมแย้งจะมีขนาดเท่ากัน
  • 4. 2 . เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งที่เกิดขึนมีขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นันจะขนานกัน รูปสามเหลี่ยมและเส้นขนาน คุณสมบัติของรูปสามเหลี่ยม 1. ขนาดของมุมทังสามของรูปสามเหลี่ยมใดๆรวมกันได้ 180 องศา 2. ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไปมุมภายนอกที่เกิดขึน จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประกอบของมุม ภายนอกนัน 3. ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันสองคู่และมีด้านที่อยู่ตรง ข้ามกันมุมที่มีขนาดเท่ากันยาวเท่ากันคู่หนึ่งแล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนีจะ เท่ากันทุกประการ สามเหลี่ยมสองรูปที่กล่าวมีความสัมพันธ์แบบมุม-มุม- ด้าน(ม.ม.ด.) 4. สามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบมุม-มุม-ด้านด้วย