SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน นอนอย่างไรให้สุขภาพดี
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ ขวัญฤทัย คะปูคา เลขที่ 31ชั้น6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทา
นางสาว ขวัญฤทัย คะปูคาเลขที่ 31
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
นอนอย่างไรให้สุขภาพดี
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Howtoget healthysleep?
ประเภทโครงงาน
พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ขวัญฤทัย คะปูคา
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากทุกคนอาจมีปัญหาที่นอนหลับมาเป็นเวลานานแต่ตื่นนอนตอนเช้าแล้วยังรู้สึกไม่สดชื่นไม่เกิ
ดการตื่นตัวในขณะที่บางครั้งนอนหลับเพียงระยะสั้นๆแล้วตื่นมารู้สึกคล่องตัวแต่การขาดการนอนหลั
บในคนปกติสามารถทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพใจของคนผู้นั้นได้เช่นมีอาการมึนงง
เวียนศีรษะ ปวดศีรษะหงุดหงิดสมาธิไม่ดี การตัดสินใจแย่ลงเป็นต้น
ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชราจะมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการนอนหลับทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
เหมือนการเลี้ยงดูปลาถ้าให้ความเอาใจใส่น้อยให้อาหารไม่ดี
ปลาก็จะโตไม่เต็มที่หรือไม่สมบูรณ์อาจมีโรคแทรกได้
การขาดการนอนหลับในคนที่มีโรคประจาตัวอาจจะทาให้โรคหรืออาการของโรคที่มีอยู่นั้นเพิ่มมากขึ้
3
นหรือกาเริบขึ้น
ดังนั้นในทุกคนทุกวัยถ้าไม่เอาใจใส่สุขอนามัยของการนอนหลับแล้วสุขภาพของคนก็จะแย่ลง
เราสามารถทาให้คุณภาพการนอนเปลี่ยนแปลงดีขึ้นได้ด้วยการเอาใจใส่ให้ร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็ม
ที่ สุขภาพกายและสุขภาพใจก็จะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์
-เพื่อทราบกลไกของร่างกายขณะนอนหลับ
-เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
-เพื่อทราบถึงโรคที่เกิดจากการนอนหลับ
ขอบเขตโครงงาน
 กลไกร่างกายขณะนอนหลับ
 รู้จักการวางแผนในการนอนหลับแต่ละครั้ง
 รู้ถึงโรคที่เกิดจากการนอนหลับน้อย
 การแก้ไขปัญหาการนอน
หลักการและทฤษฎี
กลไกของร่างกายขณะนอนหลับเป็นอย่างไร
หลายๆสิ่งในร่างกายเกิดขึ้นกับตัวเราขณะหลับ เมื่อใดก็ตามที่เราหลับร่างกายจะเข้าสู่วงจรที่เรียกว่า Non-REM
Sleep และ REM ย่อมาจาก rapid eye movement หากร่างกายเข้าสู่โหมด REM Sleep เมื่อไหร่
ดวงตาของเราจะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในทิศทางต่างกันไป
Non-REM Sleep
แบ่งเป็น 3ช่วงด้วยกัน ซึ่งแต่ละช่วงนั้นจะใช้เวลาประมาณ 5-15 นาทีแล้วแต่บุคคล
ช่วงที่ 1 เป็นช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากจังหวะตื่นเป็นการนอนหลับ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
ช่วงนี้หากมีใครมาปลุกเราจะตื่นง่ายมากๆ
ช่วงที่ 2 ร่างกายเข้าสู่โหมดหลับตื้น ชีพจรในช่วงนี้จะเต้นช้าลงและอุณหภูมิร่างกายดรอปลง
เตรียมตัวเข้าสู่โหมดหลับลึก
ช่วงที่ 3 ช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายหลับลึก เป็นช่วงที่จะตื่นยากหน่อยหากมีใครมาปลุก และตัวเราจะรู้สึกงัวเงีย
ระหว่างที่เราอยู่ในโหมด Non-REM Sleep ร่างกายจะใช้ช่วงเวลานี้ในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
และเมื่อเราอายุมากขึ้น ร่างกายเราจะหลับลึกได้ยากขึ้น
4
REM Sleep
เกิดขึ้นประมาณ 90 นาที หลังจากที่เรานอนหลับ โดยแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงแรกจะใช้เวลาประมาณ 10 นาที
ช่วงที่สองจะใช้เวลานานขึ้น ช่วงที่สามจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงหรือมากกว่า โดยเมื่อร่างกายเข้าสู่โหมด REM
Sleep ชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น การฝันจะเกิดในช่วงนี้
และสมองจะทางานมากขึ้นไม่น้อยไปกว่าตอนที่เรากาลังตื่น
เด็กจะใช้เวลา 50% ที่อยู่ในโหมด REM Sleep
ผู้ใหญ่ใช้เวลา 20% ที่อยู่ในโหมด REM Sleep
การนอนหลับแบบมีคุณภาพนั้นนอกจากต้องนอนให้ได้วันละ 7-8 ชั่วโมงแล้ว
เรายังต้องรู้สึกสดชื่นทุกครั้งที่ตื่นนอนด้วย เพราะถ้าเรารู้สึกง่วงนอนหลังตื่นนอน แม้ว่านอนหลายชั่วโมงแล้วก็ตาม
แปลว่าการนอนหลับนั้นขาดคุณภาพ
การวางแผนการนอนในแต่ละครั้ง
กฎนอนหลับ 90 นาทีโดยการนับย้อนกลับไป 90 นาทีเป็นจานวน5 รอบ เช่นถ้าอยากตื่นนอน 6 โมงเช้า
ก็ควรเข้านอนเวลา 22.30 น.แต่ทั้งนี้ก็สามารถยืดหยุ่นเวลาตามรอบได้ เช่น
ถ้าอยากตื่นนอนตี5 โมง ควรเข้านอนเวลา 21.30 น. /23.00 น. /00.30 น. / 02.00 น.
ถ้าอยากตื่นนอน6 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา21.00 น. /22.30 น. / 24.00 น./ 01.30 น.
ถ้าอยากตื่นนอน7 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา22.00 น. /23.30 น. / 01.00 น./ 02.30 น.
ถ้าอยากตื่นนอน8 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา23.00 น. /00.30 น. / 01.30 น./ 03.30 น.
แต่ทั้งนี้ก็ได้มีการคานวณเวลาการนอนหลับไว้ที่เว็บไซต์ที่ชื่อว่า https://sleepcalculator.com/ที่จะช่วยคานว
ณเวลาก่อนนอนให้ง่ายขึ้นซึ่งในเว็บไซต์จะเผื่อเวลาก่อนเข้านอน15 นาทีเพื่อให้เราได้มีเวลาเตรียมตัวก่อนเข้านอน
โรคที่เกิดจากการนอนน้อย
1.โรคหัวใจวาย โรคหัวใจและหลอดเลือด หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เนื่องจากสารโปรตีนในตัวเราจะสะสมมากขึ้นในหัวใจเวลาร่างกายตื่นโดยธรรมชาติ
แต่ถ้าหากเราไม่นอน หรือนอนดึก สารโปรตีนเหล่านี้จะยิ่งเข้าไปเกาะที่หลอดเลือดหัวใจ
ทาให้เกิดการอุดตันได้ โดยมีการวิจัยในกลุ่มคนที่ทดลองไม่ได้นอนเป็นเวลา 88 ชั่วโมง
พบว่าจะมีความดันเลือดที่สูงมากผิดปกติ และในผู้หญิงที่อายุน้อยกว่า 60 ปี
มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจถึง 2 เท่า
5
2.โรคมะเร็งลาไส้
จุดเริ่มต้นของโรคนี้ คือการนอนดึกได้มีการศึกษาและวิจัยว่าในคน 1,240 คน มีคนที่นอนน้อยกว่า 6
ชั่วโมง ถึง 47% จะมีอาการของมะเร็งลาไส้มากกว่าคนที่นอนหลับอย่างน้อย 7 ชั่วโมงขึ้นไป
3.โรคเบาหวาน
หากคนเป็นโรคเบาหวานพักผ่อนไม่เพียงพอจะทาให้ระดับกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 23%
รวมทั้งระดับอินซูลินในเลือด ก็สูงขึ้นอย่างรวดเร็วถึง 48% อีกทั้งในการวิจัยบางส่วนพบว่า
คนที่เป็นเบาหวานอยู่แล้วจะเกิดภาวะร่างกายดื้ออินซูลินจากการนอนไม่พออีกด้วย
4.โรคนอนไม่หลับเรื้อรัง
การนอนน้อย นอนดึกส่งผลทาให้เป็นโรคนอนไม่หลับเรื้อรังได้
ซึ่งจะทาให้เวลานอนต้องใช้เวลาเกินกว่า 30นาที ถึงจะสามารถหลับได้หรืออาจจะหลับๆตื่นๆทั้งคืน
จนทาให้ตื่นกลางดึก แล้วก็ไม่สามารถหลับอีกเลย และจะต้องมีอาการแบบนี้เกิน 1 เดือน
ถึงจะเรียกว่าการนอนไม่หลับแบบเรื้อรังนั่นเอง
5.โรคอ้วน
จากงานวิจัยพบว่าผู้ที่นอนน้อยกว่า 7 ชั่วโมงต่อวัน มีแนวโน้มที่น้าหนักตัวจะมากขึ้น
และเสี่ยงเป็นโรคอ้วนได้สูงกว่าผู้ที่นอนหลับ 7 ชั่วโมง เนื่องจากผู้ที่นอนน้อยจะมีสารเคมีเลปติน
(Leptin) ที่ช่วยให้รู้สึกอิ่มอยู่ในระดับต่า และมีฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin)
ที่กระตุ้นให้หิวอยู่ในระดับมาก
ทั้งนี้การนอนน้อยยังกระตุ้นให้รู้สึกหิวอาหารที่มีไขมันและคาร์โบไฮเดรตสูงขึ้นด้วย
6.โรคซึมเศร้า
ผู้ที่นอนน้อยหรือมีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับนอนหลับ เกิดอาการซึมเศร้าได้ ทั้งนี้
ภาวะนอนไม่หลับซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับการนอนที่พบได้มากที่สุด
และเป็นอาการที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะซึมเศร้าอย่างเด่นชัด
เนื่องจากภาวะนอนไม่หลับเป็นหนึ่งในอาการที่พบได้เป็นอันดับแรกของโรคซึมเศร้า
6
การแก้ไขปัญหาการนอน
-ควรเข้านอนให้ตรงเวลาเป็นประจาทุกวัน และนอนหลับให้ได้ประมาณ 6-9 ชั่วโมง
-ควรเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกาเฟอีน แอลกอฮอล์ต่างๆ
-ควรทาร่างกายและจิตใจให้ผ่อนคลาย เช่น อาบน้าอุ่นเพื่อปรับอุณหภูมิร่างกายให้เหมาะสม
อ่านหนังสือ ฟังเพลง นั่งสมาธิ ฯลฯ
-ไม่ควรออกกาลังกายหนักก่อนเข้านอนไม่กี่ชั่วโมง
-ไม่ควรนาสิ่งของที่รบกวนการพักผ่อน เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
ที่ก่อให้เกิดแสง สี เสียง มาไว้ในห้องนอน
-หลีกเลี่ยงการดูโทรทัศน์ หรือใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ก่อนเข้านอน
-ไม่ควรเข้านอนทั้งที่ยังรู้สึกกังวลหรือเครียดเกี่ยวกับเรื่องบางอย่าง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28001
https://health.mthai.com/howto/health-care/24127.html
https://tsmactive.com/REMSLEEP

More Related Content

What's hot

2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30ssuserb03cca
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project pPhansachon
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32ssuser015151
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32ssuser015151
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanaporn Sripoug
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้Phongsak Kongkham
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะKittikhun Ieie
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Preawpraow Klinhomm
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)ssuser72ad1c1
 

What's hot (20)

2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
Com
ComCom
Com
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
Final
Final Final
Final
 
Com.1
Com.1Com.1
Com.1
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะ
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)
 

Similar to 2562 final-project-31 (1)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32ssuser7d15e1
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32ssuser7d15e1
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pondssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...ssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pondssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...ssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01..
2562 final-project 01..2562 final-project 01..
2562 final-project 01..ssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pondssuser72ad1c1
 
2562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond12562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond1ssuser72ad1c1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pleng.mu
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26ssuser015151
 

Similar to 2562 final-project-31 (1) (20)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
อาหารคลีน
อาหารคลีนอาหารคลีน
อาหารคลีน
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01..
2562 final-project 01..2562 final-project 01..
2562 final-project 01..
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond12562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26
 
Worf 34-608
Worf 34-608Worf 34-608
Worf 34-608
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
อาหารคลีน
อาหารคลีนอาหารคลีน
อาหารคลีน
 

More from KUMBELL

Jern (1)
Jern (1)Jern (1)
Jern (1)KUMBELL
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3KUMBELL
 
Activity2
Activity2Activity2
Activity2KUMBELL
 
Activity1
Activity1Activity1
Activity1KUMBELL
 
Presentation
PresentationPresentation
PresentationKUMBELL
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718KUMBELL
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3KUMBELL
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2KUMBELL
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectKUMBELL
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)KUMBELL
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17KUMBELL
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project KUMBELL
 

More from KUMBELL (16)

Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
Jern (1)
Jern (1)Jern (1)
Jern (1)
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3
 
Activity2
Activity2Activity2
Activity2
 
Activity1
Activity1Activity1
Activity1
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Commmmm
CommmmmCommmmm
Commmmm
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 

2562 final-project-31 (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน นอนอย่างไรให้สุขภาพดี ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ ขวัญฤทัย คะปูคา เลขที่ 31ชั้น6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา นางสาว ขวัญฤทัย คะปูคาเลขที่ 31 ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) นอนอย่างไรให้สุขภาพดี ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Howtoget healthysleep? ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ขวัญฤทัย คะปูคา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากทุกคนอาจมีปัญหาที่นอนหลับมาเป็นเวลานานแต่ตื่นนอนตอนเช้าแล้วยังรู้สึกไม่สดชื่นไม่เกิ ดการตื่นตัวในขณะที่บางครั้งนอนหลับเพียงระยะสั้นๆแล้วตื่นมารู้สึกคล่องตัวแต่การขาดการนอนหลั บในคนปกติสามารถทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพใจของคนผู้นั้นได้เช่นมีอาการมึนงง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะหงุดหงิดสมาธิไม่ดี การตัดสินใจแย่ลงเป็นต้น ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชราจะมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการนอนหลับทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ เหมือนการเลี้ยงดูปลาถ้าให้ความเอาใจใส่น้อยให้อาหารไม่ดี ปลาก็จะโตไม่เต็มที่หรือไม่สมบูรณ์อาจมีโรคแทรกได้ การขาดการนอนหลับในคนที่มีโรคประจาตัวอาจจะทาให้โรคหรืออาการของโรคที่มีอยู่นั้นเพิ่มมากขึ้
  • 3. 3 นหรือกาเริบขึ้น ดังนั้นในทุกคนทุกวัยถ้าไม่เอาใจใส่สุขอนามัยของการนอนหลับแล้วสุขภาพของคนก็จะแย่ลง เราสามารถทาให้คุณภาพการนอนเปลี่ยนแปลงดีขึ้นได้ด้วยการเอาใจใส่ให้ร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็ม ที่ สุขภาพกายและสุขภาพใจก็จะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ -เพื่อทราบกลไกของร่างกายขณะนอนหลับ -เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ -เพื่อทราบถึงโรคที่เกิดจากการนอนหลับ ขอบเขตโครงงาน  กลไกร่างกายขณะนอนหลับ  รู้จักการวางแผนในการนอนหลับแต่ละครั้ง  รู้ถึงโรคที่เกิดจากการนอนหลับน้อย  การแก้ไขปัญหาการนอน หลักการและทฤษฎี กลไกของร่างกายขณะนอนหลับเป็นอย่างไร หลายๆสิ่งในร่างกายเกิดขึ้นกับตัวเราขณะหลับ เมื่อใดก็ตามที่เราหลับร่างกายจะเข้าสู่วงจรที่เรียกว่า Non-REM Sleep และ REM ย่อมาจาก rapid eye movement หากร่างกายเข้าสู่โหมด REM Sleep เมื่อไหร่ ดวงตาของเราจะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในทิศทางต่างกันไป Non-REM Sleep แบ่งเป็น 3ช่วงด้วยกัน ซึ่งแต่ละช่วงนั้นจะใช้เวลาประมาณ 5-15 นาทีแล้วแต่บุคคล ช่วงที่ 1 เป็นช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากจังหวะตื่นเป็นการนอนหลับ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ช่วงนี้หากมีใครมาปลุกเราจะตื่นง่ายมากๆ ช่วงที่ 2 ร่างกายเข้าสู่โหมดหลับตื้น ชีพจรในช่วงนี้จะเต้นช้าลงและอุณหภูมิร่างกายดรอปลง เตรียมตัวเข้าสู่โหมดหลับลึก ช่วงที่ 3 ช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายหลับลึก เป็นช่วงที่จะตื่นยากหน่อยหากมีใครมาปลุก และตัวเราจะรู้สึกงัวเงีย ระหว่างที่เราอยู่ในโหมด Non-REM Sleep ร่างกายจะใช้ช่วงเวลานี้ในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และเมื่อเราอายุมากขึ้น ร่างกายเราจะหลับลึกได้ยากขึ้น
  • 4. 4 REM Sleep เกิดขึ้นประมาณ 90 นาที หลังจากที่เรานอนหลับ โดยแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงแรกจะใช้เวลาประมาณ 10 นาที ช่วงที่สองจะใช้เวลานานขึ้น ช่วงที่สามจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงหรือมากกว่า โดยเมื่อร่างกายเข้าสู่โหมด REM Sleep ชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น การฝันจะเกิดในช่วงนี้ และสมองจะทางานมากขึ้นไม่น้อยไปกว่าตอนที่เรากาลังตื่น เด็กจะใช้เวลา 50% ที่อยู่ในโหมด REM Sleep ผู้ใหญ่ใช้เวลา 20% ที่อยู่ในโหมด REM Sleep การนอนหลับแบบมีคุณภาพนั้นนอกจากต้องนอนให้ได้วันละ 7-8 ชั่วโมงแล้ว เรายังต้องรู้สึกสดชื่นทุกครั้งที่ตื่นนอนด้วย เพราะถ้าเรารู้สึกง่วงนอนหลังตื่นนอน แม้ว่านอนหลายชั่วโมงแล้วก็ตาม แปลว่าการนอนหลับนั้นขาดคุณภาพ การวางแผนการนอนในแต่ละครั้ง กฎนอนหลับ 90 นาทีโดยการนับย้อนกลับไป 90 นาทีเป็นจานวน5 รอบ เช่นถ้าอยากตื่นนอน 6 โมงเช้า ก็ควรเข้านอนเวลา 22.30 น.แต่ทั้งนี้ก็สามารถยืดหยุ่นเวลาตามรอบได้ เช่น ถ้าอยากตื่นนอนตี5 โมง ควรเข้านอนเวลา 21.30 น. /23.00 น. /00.30 น. / 02.00 น. ถ้าอยากตื่นนอน6 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา21.00 น. /22.30 น. / 24.00 น./ 01.30 น. ถ้าอยากตื่นนอน7 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา22.00 น. /23.30 น. / 01.00 น./ 02.30 น. ถ้าอยากตื่นนอน8 โมงเช้า ควรเข้านอนเวลา23.00 น. /00.30 น. / 01.30 น./ 03.30 น. แต่ทั้งนี้ก็ได้มีการคานวณเวลาการนอนหลับไว้ที่เว็บไซต์ที่ชื่อว่า https://sleepcalculator.com/ที่จะช่วยคานว ณเวลาก่อนนอนให้ง่ายขึ้นซึ่งในเว็บไซต์จะเผื่อเวลาก่อนเข้านอน15 นาทีเพื่อให้เราได้มีเวลาเตรียมตัวก่อนเข้านอน โรคที่เกิดจากการนอนน้อย 1.โรคหัวใจวาย โรคหัวใจและหลอดเลือด หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ เนื่องจากสารโปรตีนในตัวเราจะสะสมมากขึ้นในหัวใจเวลาร่างกายตื่นโดยธรรมชาติ แต่ถ้าหากเราไม่นอน หรือนอนดึก สารโปรตีนเหล่านี้จะยิ่งเข้าไปเกาะที่หลอดเลือดหัวใจ ทาให้เกิดการอุดตันได้ โดยมีการวิจัยในกลุ่มคนที่ทดลองไม่ได้นอนเป็นเวลา 88 ชั่วโมง พบว่าจะมีความดันเลือดที่สูงมากผิดปกติ และในผู้หญิงที่อายุน้อยกว่า 60 ปี มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจถึง 2 เท่า
  • 5. 5 2.โรคมะเร็งลาไส้ จุดเริ่มต้นของโรคนี้ คือการนอนดึกได้มีการศึกษาและวิจัยว่าในคน 1,240 คน มีคนที่นอนน้อยกว่า 6 ชั่วโมง ถึง 47% จะมีอาการของมะเร็งลาไส้มากกว่าคนที่นอนหลับอย่างน้อย 7 ชั่วโมงขึ้นไป 3.โรคเบาหวาน หากคนเป็นโรคเบาหวานพักผ่อนไม่เพียงพอจะทาให้ระดับกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 23% รวมทั้งระดับอินซูลินในเลือด ก็สูงขึ้นอย่างรวดเร็วถึง 48% อีกทั้งในการวิจัยบางส่วนพบว่า คนที่เป็นเบาหวานอยู่แล้วจะเกิดภาวะร่างกายดื้ออินซูลินจากการนอนไม่พออีกด้วย 4.โรคนอนไม่หลับเรื้อรัง การนอนน้อย นอนดึกส่งผลทาให้เป็นโรคนอนไม่หลับเรื้อรังได้ ซึ่งจะทาให้เวลานอนต้องใช้เวลาเกินกว่า 30นาที ถึงจะสามารถหลับได้หรืออาจจะหลับๆตื่นๆทั้งคืน จนทาให้ตื่นกลางดึก แล้วก็ไม่สามารถหลับอีกเลย และจะต้องมีอาการแบบนี้เกิน 1 เดือน ถึงจะเรียกว่าการนอนไม่หลับแบบเรื้อรังนั่นเอง 5.โรคอ้วน จากงานวิจัยพบว่าผู้ที่นอนน้อยกว่า 7 ชั่วโมงต่อวัน มีแนวโน้มที่น้าหนักตัวจะมากขึ้น และเสี่ยงเป็นโรคอ้วนได้สูงกว่าผู้ที่นอนหลับ 7 ชั่วโมง เนื่องจากผู้ที่นอนน้อยจะมีสารเคมีเลปติน (Leptin) ที่ช่วยให้รู้สึกอิ่มอยู่ในระดับต่า และมีฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) ที่กระตุ้นให้หิวอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้การนอนน้อยยังกระตุ้นให้รู้สึกหิวอาหารที่มีไขมันและคาร์โบไฮเดรตสูงขึ้นด้วย 6.โรคซึมเศร้า ผู้ที่นอนน้อยหรือมีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับนอนหลับ เกิดอาการซึมเศร้าได้ ทั้งนี้ ภาวะนอนไม่หลับซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับการนอนที่พบได้มากที่สุด และเป็นอาการที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะซึมเศร้าอย่างเด่นชัด เนื่องจากภาวะนอนไม่หลับเป็นหนึ่งในอาการที่พบได้เป็นอันดับแรกของโรคซึมเศร้า
  • 6. 6 การแก้ไขปัญหาการนอน -ควรเข้านอนให้ตรงเวลาเป็นประจาทุกวัน และนอนหลับให้ได้ประมาณ 6-9 ชั่วโมง -ควรเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกาเฟอีน แอลกอฮอล์ต่างๆ -ควรทาร่างกายและจิตใจให้ผ่อนคลาย เช่น อาบน้าอุ่นเพื่อปรับอุณหภูมิร่างกายให้เหมาะสม อ่านหนังสือ ฟังเพลง นั่งสมาธิ ฯลฯ -ไม่ควรออกกาลังกายหนักก่อนเข้านอนไม่กี่ชั่วโมง -ไม่ควรนาสิ่งของที่รบกวนการพักผ่อน เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ก่อให้เกิดแสง สี เสียง มาไว้ในห้องนอน -หลีกเลี่ยงการดูโทรทัศน์ หรือใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ก่อนเข้านอน -ไม่ควรเข้านอนทั้งที่ยังรู้สึกกังวลหรือเครียดเกี่ยวกับเรื่องบางอย่าง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28001 https://health.mthai.com/howto/health-care/24127.html https://tsmactive.com/REMSLEEP