SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร 
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 
ปการศึกษา 2561 
 
ชื่อโครงงาน สมะมะมะธิสั้น 
 
 
 
ชื่อผูทําโครงงาน 
1. นางสาวชฎา มีเลข เลขที่ 37 ชั้น ม. 6 หอง 7 
 
 
 
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ 
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงานรวม (ถามี)………………………………………………… 
 
 
 
 
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2561 
 
 
 
 
 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม 
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34   
 
 
 
ใบงาน 
การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร 
2
 
สมาชิกในกลุม .…… 
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 
3………………………………….. เลขที่………   
 
คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้ 
 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
สมะมะมะธิสั้น 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)   
Attention Deficit Hyperactivity Disorder 
ประเภทโครงงาน ​​โครงงานประเภทใหความรู 
ชื่อผูทําโครงงาน ​​นางสาวชฎา มีเลข 
ชื่อที่ปรึกษา ​​ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ 
ชื่อที่ปรึกษารวม _____________________________________________________________ 
ระยะเวลาดําเนินงาน ​​ภาคเรียนที่ 1- 2 ปการศึกษา 2561 
 
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน) 
ปจจุบันโรคสมาธิสั้นในประเทศไทยมีอยูเยอะมาก ซึ่งโรคนี้เปนโรคที่ทุกคนสามารถเปนได และ
เปนโรคที่เด็กไทยหลายคนมีอาการอยูตอนนี้ โรคสมาธิสั้น คือ โรคขาดสมาธิในการจดจอตั้งใจทําสิ่งใดให
สําเร็จ ขี้ลืม ไมใสใจคําสั่ง อยูไมนิ่ง ไมชอบอยูกับที่ ไมอดทน โดยเริ่มมีอาการตั้งแตชวงอายุ 3-6 ป โดย
อาการจะแสดงออกอยางชัดเจนและวินิจฉัยไดในชวงอายุ 6-12 ป เนื่องจากเปนชวงที่ตองเริ่มเขา
โรงเรียน ตองทํากิจกรรมรวมกับผูอื่น เริ่มสื่อสารและเขาสังคม ซึ่งทําใหการใชชีวิตการปรับตัวในเรื่อง
ตางๆไดยาก เชน มีปญหาในดานการเรียน การทํางาน หรือเกิดปญหาไมสามารถเขากับเพื่อนได อาจถูก
มองวาเปนเด็กที่พิเศษ ทําใหเสียบุคลิกภาพ ขาดความมั่นใจ ไมเห็นคุณคาในตัวเอง และอาจทําใหเกิด
ปญหาที่รายแรงตามมา ดวยเหตุผลที่กลาวมานี้ทางผูจัดเลือกทําจึงทําเรื่องนี้ขึ้นเพื่อใหทุกคนไดรูจักกับ
โรค อาการของโรค สาเหตุ ตลอดจนวิธีการรักษาในรูปแบบตางๆ 
 
วัตถุประสงค ​​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ) 
1. เพื่อศึกษาและรวบรวมขอมูล ทฤษฎี เกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น 
2. เพื่อเผยแพรขอมูลใหแกประชาชนทั่วไปไดรูจักโรคสมาธิสั้น 
ขอบเขตโครงงาน ​​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน) 
ศึกษาเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น เชน สาเหตุ อาการ วิธีการปองกัน ตลอดจนวิธีการรักษา ซึ่งอาจจะ
สืบคนขอมูลในอินเทอรเน็ต หนังสือตําราตางๆ หรือสอบถามผูเชี่ยวชาญในเรื่องนี้ 
3
 
หลักการและทฤษฎี ​​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน) 
สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder: ADHD) ​​คือ โรคขาดสมาธิในการจดจอ
ตั้งใจทําสิ่งใดใหสําเร็จ ขี้ลืม ไมใสใจคําสั่ง อยูไมนิ่ง ไมชอบอยูกับที่ ไมอดทน หุนหันพลันแลน โดยผูปวย
อาจเริ่มมีอาการตั้งแตชวงอายุ 3-6 ป โดยอาการจะแสดงออกอยางชัดเจนและวินิจฉัยไดในชวงอายุ 6-12 
ป เนื่องจากเปนชวงที่ตองเริ่มเขาโรงเรียน ตองทํากิจกรรมรวมกับผูอื่น เริ่มสื่อสารและเขาสังคมดานสถิติ
ประเทศไทย จากการศึกษากลุมตัวอยางเด็กชั้นประถมศึกษาปที่ 1-5 จํานวนกวา 7,800 คน ในป 2555
พบวาความชุกของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นอยูที่ 8.1% โดยพบมากที่สุดในเด็กระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 
และพบในเด็กชายมากกวาเด็กหญิงในอัตราสวน 3:1 
ในปจจุบัน ยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดของการเกิดโรคสมาธิสั้น และแมวาเด็กบางคนอาจมี
พฤติกรรมนาสงสัยที่เขาขายโรคสมาธิสั้น แตอาจเปนเพียงพัฒนาการตามชวงวัยเทานั้น ซึ่งเด็กที่มี
พฤติกรรมตามวัย อยางซุกซน อยูไมนิ่ง ไมเชื่อฟง หากไมไดมีอาการตามเกณฑวินิจฉัยของโรคสมาธิสั้น
แสดงวาเด็กไมไดเปนโรคสมาธิสั้น อาการจะดีขึ้นหรือหายไปเมื่อโตขึ้นหรือเมื่อเวลาผานไป ในขณะที่
อาการของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นจะยังคงอยูตอไปจนโตเปนผูใหญ และเปนอุปสรรคในการดําเนินชีวิต
หากไมไดรับการรักษาหรือดูแลอยางเหมาะสม 
อาการของผูที่เปนโรคสมาธิสั้นอาจยังคงอยูตลอดจนเขาสูวัยรุนและวัยผูใหญ โดยรูปแบบอาการ
อาจเปลี่ยนแปลงไปบางเล็กนอยตามวัย และตามการรักษาดูแลที่ผูปวยไดรับ หรืออาจยังมีบางอาการที่
ยังคงอยูและกระทบกับการดําเนินชีวิตประจําวัน 
การแสดงพฤติกรรมของโรคสมาธิสั้นมี 2 รูปแบบหลัก คือ การขาดสมาธิในการจดจอหรือตั้งใจ
ทําสิ่งใด และการอยูไมนิ่งและมีความหุนหันพลันแลน โดยเด็กอาจมีพฤติกรรมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แต
มักปรากฏพฤติกรรมทั้ง 2 รูปแบบรวมกัน โดยพฤติกรรมเหลานั้นจะเปนอุปสรรคที่สงผลใหเกิดความยุง
ยากลําบากในการใชชีวิตประจําวัน การทํางาน การเรียน การเขาสังคมและความสัมพันธระหวางบุคคล 
 
วิธีดําเนินงาน  
แนวทางการดําเนินงาน 
1.กําหนดหัวขอโครงงานที่สนใจ  
2.วางแผนการดําเนินงาน  
3.ศึกษาและรวบรวมขอมูล  
4.จัดทําโครงรางโครงงาน  
5.จัดทําโครงงาน  
6.นําเสนอและเผยแพรโครงงาน 
7.ปรับปรุงและแกไข 
4
เครื่องมือและอุปกรณที่ใช 
1.คอมพิวเตอร 
งบประมาณ  
 
 
ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน 
 
ลําดับ 
ที่ 
ขั้นตอน  สัปดาหที่  ผูรับผิดชอบ 
1  2  3  4  5  6  7  8  9  10   
1  คิดหัวขอโครงงาน                       
2  ศึกษาและคนควาขอมูล                       
3  จัดทําโครงรางงาน                       
4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                       
5  ปรับปรุงทดสอบ                       
6  การทําเอกสารรายงาน                       
7  ประเมินผลงาน                       
8  นําเสนอโครงงาน                       
 
ผลที่คาดวาจะไดรับ ​​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน) 
1. ไดศึกษาและรวบรวมขอมูล ทฤษฎี เกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น 
2. ประชาชนทั่วไปไดรูจักโรคสมาธิสั้นมากขึ้น 
 
สถานที่ดําเนินการ 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหมส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34  
 
กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ 
1. กลุมสาระวิชาวิทยาศาสตร 
2. กลุมสาระวิชาสุขศึกษา 
 
แหลงอางอิง ​​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน) 
● https://www.pobpad.com 
● http://www.si.mahidol.ac.th 

More Related Content

What's hot (14)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
ข้อมูลนายปัญญา จันทร์เทา
ข้อมูลนายปัญญา จันทร์เทาข้อมูลนายปัญญา จันทร์เทา
ข้อมูลนายปัญญา จันทร์เทา
 
G1552010919195
G1552010919195G1552010919195
G1552010919195
 
G1552010919195 1
G1552010919195 1G1552010919195 1
G1552010919195 1
 
G1552010919195
G1552010919195G1552010919195
G1552010919195
 
Kk
KkKk
Kk
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
at1
at1at1
at1
 
Sapol
SapolSapol
Sapol
 
นาย สพล อดทน
นาย สพล  อดทนนาย สพล  อดทน
นาย สพล อดทน
 

Similar to 2561 project 37

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 

Similar to 2561 project 37 (20)

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Adhd
AdhdAdhd
Adhd
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

2561 project 37

  • 1. 1 แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร  รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6  ปการศึกษา 2561    ชื่อโครงงาน สมะมะมะธิสั้น        ชื่อผูทําโครงงาน  1. นางสาวชฎา มีเลข เลขที่ 37 ชั้น ม. 6 หอง 7        ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ  ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงานรวม (ถามี)…………………………………………………          ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2561            โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม  สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34          ใบงาน  การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร 
  • 2. 2   สมาชิกในกลุม .……  1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….  3………………………………….. เลขที่………      คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้    ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)  สมะมะมะธิสั้น  ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)    Attention Deficit Hyperactivity Disorder  ประเภทโครงงาน ​​โครงงานประเภทใหความรู  ชื่อผูทําโครงงาน ​​นางสาวชฎา มีเลข  ชื่อที่ปรึกษา ​​ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ  ชื่อที่ปรึกษารวม _____________________________________________________________  ระยะเวลาดําเนินงาน ​​ภาคเรียนที่ 1- 2 ปการศึกษา 2561    ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน)  ปจจุบันโรคสมาธิสั้นในประเทศไทยมีอยูเยอะมาก ซึ่งโรคนี้เปนโรคที่ทุกคนสามารถเปนได และ เปนโรคที่เด็กไทยหลายคนมีอาการอยูตอนนี้ โรคสมาธิสั้น คือ โรคขาดสมาธิในการจดจอตั้งใจทําสิ่งใดให สําเร็จ ขี้ลืม ไมใสใจคําสั่ง อยูไมนิ่ง ไมชอบอยูกับที่ ไมอดทน โดยเริ่มมีอาการตั้งแตชวงอายุ 3-6 ป โดย อาการจะแสดงออกอยางชัดเจนและวินิจฉัยไดในชวงอายุ 6-12 ป เนื่องจากเปนชวงที่ตองเริ่มเขา โรงเรียน ตองทํากิจกรรมรวมกับผูอื่น เริ่มสื่อสารและเขาสังคม ซึ่งทําใหการใชชีวิตการปรับตัวในเรื่อง ตางๆไดยาก เชน มีปญหาในดานการเรียน การทํางาน หรือเกิดปญหาไมสามารถเขากับเพื่อนได อาจถูก มองวาเปนเด็กที่พิเศษ ทําใหเสียบุคลิกภาพ ขาดความมั่นใจ ไมเห็นคุณคาในตัวเอง และอาจทําใหเกิด ปญหาที่รายแรงตามมา ดวยเหตุผลที่กลาวมานี้ทางผูจัดเลือกทําจึงทําเรื่องนี้ขึ้นเพื่อใหทุกคนไดรูจักกับ โรค อาการของโรค สาเหตุ ตลอดจนวิธีการรักษาในรูปแบบตางๆ    วัตถุประสงค ​​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ)  1. เพื่อศึกษาและรวบรวมขอมูล ทฤษฎี เกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น  2. เพื่อเผยแพรขอมูลใหแกประชาชนทั่วไปไดรูจักโรคสมาธิสั้น  ขอบเขตโครงงาน ​​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน)  ศึกษาเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น เชน สาเหตุ อาการ วิธีการปองกัน ตลอดจนวิธีการรักษา ซึ่งอาจจะ สืบคนขอมูลในอินเทอรเน็ต หนังสือตําราตางๆ หรือสอบถามผูเชี่ยวชาญในเรื่องนี้ 
  • 3. 3   หลักการและทฤษฎี ​​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน)  สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder: ADHD) ​​คือ โรคขาดสมาธิในการจดจอ ตั้งใจทําสิ่งใดใหสําเร็จ ขี้ลืม ไมใสใจคําสั่ง อยูไมนิ่ง ไมชอบอยูกับที่ ไมอดทน หุนหันพลันแลน โดยผูปวย อาจเริ่มมีอาการตั้งแตชวงอายุ 3-6 ป โดยอาการจะแสดงออกอยางชัดเจนและวินิจฉัยไดในชวงอายุ 6-12  ป เนื่องจากเปนชวงที่ตองเริ่มเขาโรงเรียน ตองทํากิจกรรมรวมกับผูอื่น เริ่มสื่อสารและเขาสังคมดานสถิติ ประเทศไทย จากการศึกษากลุมตัวอยางเด็กชั้นประถมศึกษาปที่ 1-5 จํานวนกวา 7,800 คน ในป 2555 พบวาความชุกของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นอยูที่ 8.1% โดยพบมากที่สุดในเด็กระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1  และพบในเด็กชายมากกวาเด็กหญิงในอัตราสวน 3:1  ในปจจุบัน ยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดของการเกิดโรคสมาธิสั้น และแมวาเด็กบางคนอาจมี พฤติกรรมนาสงสัยที่เขาขายโรคสมาธิสั้น แตอาจเปนเพียงพัฒนาการตามชวงวัยเทานั้น ซึ่งเด็กที่มี พฤติกรรมตามวัย อยางซุกซน อยูไมนิ่ง ไมเชื่อฟง หากไมไดมีอาการตามเกณฑวินิจฉัยของโรคสมาธิสั้น แสดงวาเด็กไมไดเปนโรคสมาธิสั้น อาการจะดีขึ้นหรือหายไปเมื่อโตขึ้นหรือเมื่อเวลาผานไป ในขณะที่ อาการของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นจะยังคงอยูตอไปจนโตเปนผูใหญ และเปนอุปสรรคในการดําเนินชีวิต หากไมไดรับการรักษาหรือดูแลอยางเหมาะสม  อาการของผูที่เปนโรคสมาธิสั้นอาจยังคงอยูตลอดจนเขาสูวัยรุนและวัยผูใหญ โดยรูปแบบอาการ อาจเปลี่ยนแปลงไปบางเล็กนอยตามวัย และตามการรักษาดูแลที่ผูปวยไดรับ หรืออาจยังมีบางอาการที่ ยังคงอยูและกระทบกับการดําเนินชีวิตประจําวัน  การแสดงพฤติกรรมของโรคสมาธิสั้นมี 2 รูปแบบหลัก คือ การขาดสมาธิในการจดจอหรือตั้งใจ ทําสิ่งใด และการอยูไมนิ่งและมีความหุนหันพลันแลน โดยเด็กอาจมีพฤติกรรมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แต มักปรากฏพฤติกรรมทั้ง 2 รูปแบบรวมกัน โดยพฤติกรรมเหลานั้นจะเปนอุปสรรคที่สงผลใหเกิดความยุง ยากลําบากในการใชชีวิตประจําวัน การทํางาน การเรียน การเขาสังคมและความสัมพันธระหวางบุคคล    วิธีดําเนินงาน   แนวทางการดําเนินงาน  1.กําหนดหัวขอโครงงานที่สนใจ   2.วางแผนการดําเนินงาน   3.ศึกษาและรวบรวมขอมูล   4.จัดทําโครงรางโครงงาน   5.จัดทําโครงงาน   6.นําเสนอและเผยแพรโครงงาน  7.ปรับปรุงและแกไข 
  • 4. 4 เครื่องมือและอุปกรณที่ใช  1.คอมพิวเตอร  งบประมาณ       ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน    ลําดับ  ที่  ขั้นตอน  สัปดาหที่  ผูรับผิดชอบ  1  2  3  4  5  6  7  8  9  10    1  คิดหัวขอโครงงาน                        2  ศึกษาและคนควาขอมูล                        3  จัดทําโครงรางงาน                        4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                        5  ปรับปรุงทดสอบ                        6  การทําเอกสารรายงาน                        7  ประเมินผลงาน                        8  นําเสนอโครงงาน                          ผลที่คาดวาจะไดรับ ​​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน)  1. ไดศึกษาและรวบรวมขอมูล ทฤษฎี เกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น  2. ประชาชนทั่วไปไดรูจักโรคสมาธิสั้นมากขึ้น    สถานที่ดําเนินการ  โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหมส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34     กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ  1. กลุมสาระวิชาวิทยาศาสตร  2. กลุมสาระวิชาสุขศึกษา    แหลงอางอิง ​​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน)  ● https://www.pobpad.com  ● http://www.si.mahidol.ac.th