SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( Panic Disordor )
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคแพนิค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Panic disorder
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( Educational Media )
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ยังไม่ได้กาหนด
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคแพนิคหรือ Panic disorder ถือว่าเป็นโรคทางจิตเวชประเภทหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักและบางครั้ง
ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดก็ไม่อาจทราบได้ว่าอาการที่ผู้ป่วยกระทาออกมานั้นเป็นอาการของโรคแพนิค
ผู้ป่วยโรคแพนิคจะตื่นตระหนกต่อบางสิ่งโดยไม่มีเหตุผล ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนั้นต่างจากความรู้สึกหวาดกลัว
หรือความวิตกกังวลทั่วไป ทาให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนิน ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ อาการตื่นกลัวอย่าง
รุนแรงนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อแม้ว่าจะไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายหรือแม้กระทั่งในขณะที่
กาลังนอนหลับ คนที่เป็นโรคแพนิคจึงมักเป็นกังวลอยู่ตลอดเวลาเพราะไม่รู้ว่าอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นอีกเมื่อไหร่
ดังนั้นทางผู้จัดมีความสนใจในโรคแพนิค จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคแพนิค ทั้งความหมายของโรค
สาเหตุของโรค อาการของโรค การป้องกันและการรักษาและอื่นๆ มาจัดทาเป็นโครงงาน ซึ่งทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่าโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาและสนใจเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิค
2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักกับโรคและอาการแพนิคมากยิ่งขึ้น
3. เพื่อที่จะสามารถเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิคให้กับผู้อื่นได้
3
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาสาเหตุ อาการ และผลกระทบด้านต่างๆ ของโรคแพนิคของผู้คนปัจจุบันโดยผ่านการสืบค้นข้อมูลผ่าน
ทางอินเทอร์เน็ต
หลักการและทฤษฎี
โรคแพนิค (Panic Disoder) คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้ ซึ่ง
โรคนี้แตกต่างจากอาการหวาดกลัวหรือกังวลทั่วไป เนื่องจากผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) หรือ
หวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย อาการแพนิคเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
อาการของโรคแพนิค
 หายใจไม่อิ่ม หายใจตื้น
 ใจสั่น ใจหายวาบ เจ็บหน้าอก แน่นอก
 ตัวสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หนาวๆร้อนๆ
 จุกแน่นในลาคอ คลื่นท้องไส้ปั่นป่วน
 วิงเวียน โคลงเคลง ชาตามร่างกาย คล้ายจะเป็นลม
 รู้สึกกลัวจนเหมือนควบคุมตนเองไม่ได้
สาเหตุของโรคแพนิค
สาเหตุของโรคแพนิคยากจะระบุได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทาให้เกิด
โรคแพนิคอาจเกิดจากปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสุขภาพจิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
 ปัจจัยทางกายภาพ ผู้ป่วยโรคแพนิคอาจได้รับผลกระทบ ซึ่งประกอบด้วยการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ความผิดปกติของสมอง และการได้รับสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้
o การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ผู้ที่บุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นโรคแพนิคหรือปัญหา
สุขภาพจิตอื่น ๆ โดยบุคคลนั้นมีความสัมพันธ์ทางสายเลือดที่ใกล้ชิดกันมาก ก็เสี่ยงป่วยเป็น
โรคแพนิคได้ โดยผู้ป่วยอาจได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากพ่อหรือแม่ หรือได้รับจากทั้ง
พ่อและแม่
o ความผิดปกติของสมอง โดยทั่วไปแล้ว สมองจะมีสารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาท หากไม่สมดุล
อาจทาให้เกิดอาการแพนิคได้ ทั้งนี้ โรคแพนิคอาจเกิดจากการทางานของสมองส่วนที่ทาหน้าที่
ควบคุมการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของร่างกาย (Fight or Flight) เนื่องจากหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเมื่อ
เผชิญหน้ากับเหตุการณ์อันตราย
4
o การได้รับสารเคมีต่าง ๆ ผู้ที่ใช้สารเสพติด ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน
รวมทั้งผู้ที่สูบบุหรี่ อาจป่วยเป็นโรคแพนิคได้ ทั้งนี้ นักวิจัยบางรายยังสันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจ
เกี่ยวข้องกับความไวของระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือ เมื่อสูดอากาศที่มีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปมาก ก็จะกระตุ้นให้เกิดอาการแพนิคได้ อย่างไรก็ตาม การหายใจให้ถูกวิธี
จะช่วยบรรเทาอาการแพนิคให้หายหรือทุเลาลงได้
 ปัจจัยทางสุขภาพจิต เหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิตส่งผลให้เกิดโรคแพนิคได้ โดยเฉพาะการสูญเสียหรือ
พลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รัก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกี่ยวเนื่องกับอาการแพนิค ผู้ป่วยจะรู้สึกหวาดกลัวหรือ
ตื่นตระหนกหลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น หรืออาจเกิดอาการดังกล่าวต่อไปเรื่อย ๆ ยาวนานเป็นปี จน
นาไปสู่การป่วยเป็นโรคแพนิค นอกจากนี้ ผู้ที่เกิดอาการแพนิคมีแนวโน้มที่จะคิดว่าอาการป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ
บางอย่างที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวเนื่องกับสถานการณ์อันตรายต่าง ๆ เช่น ผู้ที่เกิดอาการใจสั่นจากการดื่มกาแฟ จะ
คิดว่าอาการใจสั่นนั้นเกิดจากอาการหวาดกลัว
โรคแพนิคอาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยเป็นอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และอาจ
ทาให้มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงบางสิ่งอย่างรุนแรง เพราะกลัวว่าจะเกิดอาการตกใจกลัวอย่างรุนแรงอีกครั้ง
ปัจจุบันโรคแพนิคไม่สามารถรักษาให้หายได้ทั้งหมด โดยสาเหตุหนึ่งก็เพราะอาการของโรคนั้นหลากหลายกันไป
ในแต่ละคน การรักษาที่ได้ผลในคนหนึ่งอาจไม่ได้ผลในอีกคนก็เป็นได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. นาเสนอหัวข้อให้ครูที่ปรึกษาทราบ
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
4. จัดทาโครงร่างงาน
5. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
6. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเทอร์เน็ต
2. คอมพิวเตอร์
3. โทรศัพท์
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน รวิวรรณ
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล รวิวรรณ
3 จัดทาโครงร่างงาน รวิวรรณ
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน รวิวรรณ
5 ปรับปรุงทดสอบ รวิวรรณ
6 การทาเอกสารรายงาน รวิวรรณ
7 ประเมินผลงาน รวิวรรณ
8 นาเสนอโครงงาน รวิวรรณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถนาความรู้ที่ได้ค้นคว้าไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นหรือผู้ที่สนใจได้
2. ทาให้ผู้คนหันมาตระหนักลัรู้จักเกี่ยวกับโรคแพนิคมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
6
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 กองบรรณาธิการโรคพยาบาลวิชัยยุทธ. (2562). โรคแพนิค เป็นได้ ไม่รู้ตัว. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน
2562. จาก https://www.vichaiyut.com/health/diseases-treatment/other-
diseases/%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b9%81%e0%b8%9e%e0%b8%99%e0
%b8%b4%e0%b8%84%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b9%84%e0
%b8%94%e0%b9%89%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0
%b9%89%e0%b8%95/
 HonestDocs. (2562). โรคแพนิค (Panic Disorder). สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก
https://www.honestdocs.co/what-is-panic-disorder

More Related Content

What's hot

Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
mind jirapan
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
09nattakarn
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
Charunya Chaiaupakham
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Aom Nachanok
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
Mai Lovelove
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
Kwan Tanyalak
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Krittapornn Chanasaen
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
eyecosmomo
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
ภูมิพัฒน์ ใจคำลือ
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Ja Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
ssusera79710
 
Lin
LinLin
Lin
TongGy1
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
Siwapreeya Dks
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
guntjetnipat
 
มม
มมมม
มม
eyecosmomo
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 

What's hot (20)

Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
Lin
LinLin
Lin
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
มม
มมมม
มม
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 

Similar to 2562 final-project -1

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
mint302544
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ibukionigami
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
fauunutcha
 
2562 final-project 612-42
2562 final-project 612-422562 final-project 612-42
2562 final-project 612-42
jeeranuntacharoen
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
eyecosmomo
 
At1
At1At1
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
KrataeBenjarat
 
2562 final-fair
2562 final-fair2562 final-fair
2562 final-fair
ssuser8c9be4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Ken'Kasemson Janpartoom
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
patittaoumm
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
ssuser8b25961
 
at1
at1at1
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Dduang07
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
naiizu
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser06c312
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser5110ef
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
chomphunit salee
 
1
11
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
ssuser8b25961
 

Similar to 2562 final-project -1 (20)

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project 612-42
2562 final-project 612-422562 final-project 612-42
2562 final-project 612-42
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
At1
At1At1
At1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-fair
2562 final-fair2562 final-fair
2562 final-fair
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
at1
at1at1
at1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
1
11
1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 

2562 final-project -1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( Panic Disordor ) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคแพนิค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Panic disorder ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( Educational Media ) ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ยังไม่ได้กาหนด ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โรคแพนิคหรือ Panic disorder ถือว่าเป็นโรคทางจิตเวชประเภทหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักและบางครั้ง ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดก็ไม่อาจทราบได้ว่าอาการที่ผู้ป่วยกระทาออกมานั้นเป็นอาการของโรคแพนิค ผู้ป่วยโรคแพนิคจะตื่นตระหนกต่อบางสิ่งโดยไม่มีเหตุผล ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนั้นต่างจากความรู้สึกหวาดกลัว หรือความวิตกกังวลทั่วไป ทาให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนิน ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ อาการตื่นกลัวอย่าง รุนแรงนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อแม้ว่าจะไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายหรือแม้กระทั่งในขณะที่ กาลังนอนหลับ คนที่เป็นโรคแพนิคจึงมักเป็นกังวลอยู่ตลอดเวลาเพราะไม่รู้ว่าอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นอีกเมื่อไหร่ ดังนั้นทางผู้จัดมีความสนใจในโรคแพนิค จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคแพนิค ทั้งความหมายของโรค สาเหตุของโรค อาการของโรค การป้องกันและการรักษาและอื่นๆ มาจัดทาเป็นโครงงาน ซึ่งทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาและสนใจเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิค 2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักกับโรคและอาการแพนิคมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อที่จะสามารถเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิคให้กับผู้อื่นได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน ศึกษาสาเหตุ อาการ และผลกระทบด้านต่างๆ ของโรคแพนิคของผู้คนปัจจุบันโดยผ่านการสืบค้นข้อมูลผ่าน ทางอินเทอร์เน็ต หลักการและทฤษฎี โรคแพนิค (Panic Disoder) คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้ ซึ่ง โรคนี้แตกต่างจากอาการหวาดกลัวหรือกังวลทั่วไป เนื่องจากผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) หรือ หวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย อาการแพนิคเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อาการของโรคแพนิค  หายใจไม่อิ่ม หายใจตื้น  ใจสั่น ใจหายวาบ เจ็บหน้าอก แน่นอก  ตัวสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หนาวๆร้อนๆ  จุกแน่นในลาคอ คลื่นท้องไส้ปั่นป่วน  วิงเวียน โคลงเคลง ชาตามร่างกาย คล้ายจะเป็นลม  รู้สึกกลัวจนเหมือนควบคุมตนเองไม่ได้ สาเหตุของโรคแพนิค สาเหตุของโรคแพนิคยากจะระบุได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทาให้เกิด โรคแพนิคอาจเกิดจากปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสุขภาพจิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้  ปัจจัยทางกายภาพ ผู้ป่วยโรคแพนิคอาจได้รับผลกระทบ ซึ่งประกอบด้วยการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความผิดปกติของสมอง และการได้รับสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้ o การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ผู้ที่บุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นโรคแพนิคหรือปัญหา สุขภาพจิตอื่น ๆ โดยบุคคลนั้นมีความสัมพันธ์ทางสายเลือดที่ใกล้ชิดกันมาก ก็เสี่ยงป่วยเป็น โรคแพนิคได้ โดยผู้ป่วยอาจได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากพ่อหรือแม่ หรือได้รับจากทั้ง พ่อและแม่ o ความผิดปกติของสมอง โดยทั่วไปแล้ว สมองจะมีสารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาท หากไม่สมดุล อาจทาให้เกิดอาการแพนิคได้ ทั้งนี้ โรคแพนิคอาจเกิดจากการทางานของสมองส่วนที่ทาหน้าที่ ควบคุมการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของร่างกาย (Fight or Flight) เนื่องจากหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเมื่อ เผชิญหน้ากับเหตุการณ์อันตราย
  • 4. 4 o การได้รับสารเคมีต่าง ๆ ผู้ที่ใช้สารเสพติด ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน รวมทั้งผู้ที่สูบบุหรี่ อาจป่วยเป็นโรคแพนิคได้ ทั้งนี้ นักวิจัยบางรายยังสันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจ เกี่ยวข้องกับความไวของระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือ เมื่อสูดอากาศที่มีก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปมาก ก็จะกระตุ้นให้เกิดอาการแพนิคได้ อย่างไรก็ตาม การหายใจให้ถูกวิธี จะช่วยบรรเทาอาการแพนิคให้หายหรือทุเลาลงได้  ปัจจัยทางสุขภาพจิต เหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิตส่งผลให้เกิดโรคแพนิคได้ โดยเฉพาะการสูญเสียหรือ พลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รัก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกี่ยวเนื่องกับอาการแพนิค ผู้ป่วยจะรู้สึกหวาดกลัวหรือ ตื่นตระหนกหลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น หรืออาจเกิดอาการดังกล่าวต่อไปเรื่อย ๆ ยาวนานเป็นปี จน นาไปสู่การป่วยเป็นโรคแพนิค นอกจากนี้ ผู้ที่เกิดอาการแพนิคมีแนวโน้มที่จะคิดว่าอาการป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ บางอย่างที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวเนื่องกับสถานการณ์อันตรายต่าง ๆ เช่น ผู้ที่เกิดอาการใจสั่นจากการดื่มกาแฟ จะ คิดว่าอาการใจสั่นนั้นเกิดจากอาการหวาดกลัว โรคแพนิคอาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยเป็นอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และอาจ ทาให้มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงบางสิ่งอย่างรุนแรง เพราะกลัวว่าจะเกิดอาการตกใจกลัวอย่างรุนแรงอีกครั้ง ปัจจุบันโรคแพนิคไม่สามารถรักษาให้หายได้ทั้งหมด โดยสาเหตุหนึ่งก็เพราะอาการของโรคนั้นหลากหลายกันไป ในแต่ละคน การรักษาที่ได้ผลในคนหนึ่งอาจไม่ได้ผลในอีกคนก็เป็นได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. นาเสนอหัวข้อให้ครูที่ปรึกษาทราบ 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 4. จัดทาโครงร่างงาน 5. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 6. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเทอร์เน็ต 2. คอมพิวเตอร์ 3. โทรศัพท์ งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน รวิวรรณ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล รวิวรรณ 3 จัดทาโครงร่างงาน รวิวรรณ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน รวิวรรณ 5 ปรับปรุงทดสอบ รวิวรรณ 6 การทาเอกสารรายงาน รวิวรรณ 7 ประเมินผลงาน รวิวรรณ 8 นาเสนอโครงงาน รวิวรรณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถนาความรู้ที่ได้ค้นคว้าไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นหรือผู้ที่สนใจได้ 2. ทาให้ผู้คนหันมาตระหนักลัรู้จักเกี่ยวกับโรคแพนิคมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
  • 6. 6 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  กองบรรณาธิการโรคพยาบาลวิชัยยุทธ. (2562). โรคแพนิค เป็นได้ ไม่รู้ตัว. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก https://www.vichaiyut.com/health/diseases-treatment/other- diseases/%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b9%81%e0%b8%9e%e0%b8%99%e0 %b8%b4%e0%b8%84%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b9%84%e0 %b8%94%e0%b9%89%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0 %b9%89%e0%b8%95/  HonestDocs. (2562). โรคแพนิค (Panic Disorder). สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก https://www.honestdocs.co/what-is-panic-disorder