SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( panic disorder )
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม นายนพดล ขอดคา
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต เลขที่ 6 ม.6/12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคแพนิค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Panic Disorder
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม นายนพดล ขอดคา
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากอาการตื่นเต้นและตื่นตระหนกเป็นอาการทั่วไปที่ทุกคนคุ้นเคยดีและต้องเกิดขึ้นกับตนเอง มักจะ
เกิดขึ้นในตอนที่จะเกิดเหตุการณ์อะไรบางอย่าง เช่น ตอนดูหนังผี ตอนพรีเซนต์งานหน้าชั้นเรียน หรือแม้แต่การ
ออกไปทาอะไรต่อหน้าสาธารณะชนในที่คนเยอะๆ เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้ คนเรามักจะเกิดความรู้สึกตื่นเต้น
และตระหนกอยู่เสมอ เพราะเป็นอาการทั่วไปฉันจึงเกิดสนใจว่า ‘เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเราตื่นเต้นแบบปกติ หรือ เรา
เป็นโรคแพนิค?’ อีกเหตุผลหนึ่งคือโรคแพนิคนั้นเป็นอาการทางจิตที่ถ้าหากไม่สังเกตตนเองหรือไม่ไปพบจิตแพทย์ก็
อาจจะไม่รู้เลยว่าเกิดโรคนี้ขึ้นกับตนเอง ด้วยเหตุนี้ฉันจึงเลือกทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ที่พบเห็นหรือได้มาอ่านเกิด
ประโยชน์สูงสุด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาอาการของคนที่เป็นโรคแพนิค
2. เพื่อศึกษาแนวทางการรักษาโรคแพนิค
3. เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิค
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคแพนิค
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. ผู้ที่เคยเกิดอาการแพนิคควรพบแพทย์ทันที เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าอาการดังกล่าวเป็นสัญญาณ
หรืออาการของโรคหัวใจ เบื้องต้นแพทย์จะซักประวัติการรักษาของผู้ป่วยและตรวจร่างกาย โดยแพทย์จะ
ตรวจเลือดเพื่อดูความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ รวมทั้งตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อดูการทางานของหัวใจ การ
ตรวจเหล่านี้จะช่วยวินิจฉัยสาเหตุของอาการที่เกิดขึ้นว่ามีสาเหตุมาจากปัญหาสุขภาพทางกายหรือไม่ หากไม่
3
พบความผิดปกติของปัญหาสุขภาพดังกล่าว ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคแพนิค โดยแพทย์จะ
สอบถามอาการ ความรู้สึกหวาดกลัวหรือวิตกกังวล และสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ทาให้หวาดกลัวหรือตื่น
ตระหนก ผู้ป่วยควรอธิบายความรู้สึกและอาการที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวัน โดยไม่ต้องกดดัน
ตัวเอง และพยายามทาให้ตัวเองผ่อนคลายระหว่างที่พูดคุยกับแพทย์ ทั้งนี้ แพทย์อาจให้ทาแบบประเมินทาง
จิตวิทยาและสอบถามประวัติการใช้สารเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อประกอบการวินิจฉัย
2. ผู้ป่วยโรคแพนิคจาเป็นต้องใช้ยาเพื่อรักษาอาการแพนิค โดยยาที่ใช้รักษาอาการดังกล่าวประกอบด้วยยาต้าน
ซึมเศร้า กลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines) และยากันชัก
3. จิตบาบัด วิธีนี้ช่วยรักษาอาการแพนิคและโรคแพนิคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ป่วยจะเข้าใจอาการแพนิค
และโรคแพนิคมากขึ้น รวมทั้งเรียนรู้วิธีที่จะรับมือกับอาการป่วยของตนเอง วิธีจิตบาบัดที่ใช้รักษาโรคแพนิค
คือการบาบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy: CBT) ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ว่า
อาการแพนิคที่เกิดขึ้นไม่ได้อันตรายแต่อย่างใด การบาบัดความคิดและพฤติกรรมจะปรับวิธีคิด พฤติกรรม
และการตอบสนองต่อความรู้สึกหวาดกลัวหรือตื่นตระหนกที่เกิดขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อโครงงาน
2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3. ศึกษารวบรวมข้อมูล
4. จัดทาโครงงาน
5. นาเสนอคุณครู
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. โทรศัพท์มือถือ
3. อินเทอร์เน็ต
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ที่สนใจในเรื่องของโรคแพนิคได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคนี้ และผู้จัดทาได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโรค
แพนิคให้มากขึ้นเช่นกัน
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. วิทยาศาสตร์
3. สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
♥ http://www.vichaiyut.co.th/health/diseases-treatment/other-
diseases/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E
0%B8%B4%E0%B8%84-
%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%
89-
%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%
95/
♥https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9
E%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84
♥ https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28497

More Related Content

What's hot

นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
Geenpp21
 

What's hot (20)

Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
at1
at1at1
at1
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
607_07
607_07607_07
607_07
 

Similar to Work1

2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
fauunutcha
 

Similar to Work1 (20)

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
At1
At1At1
At1
 
2562 final-project 5-609
2562 final-project 5-6092562 final-project 5-609
2562 final-project 5-609
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
2562 final-project -1-1
2562 final-project -1-12562 final-project -1-1
2562 final-project -1-1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
final project
final projectfinal project
final project
 
2562 final-project (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert2562 final-project  (1)thanatchaya kampasert
2562 final-project (1)thanatchaya kampasert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
at1
at1at1
at1
 

Work1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( panic disorder ) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม นายนพดล ขอดคา ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต เลขที่ 6 ม.6/12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคแพนิค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Panic Disorder ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเสาวนีย์ หลักเขต ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม นายนพดล ขอดคา ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากอาการตื่นเต้นและตื่นตระหนกเป็นอาการทั่วไปที่ทุกคนคุ้นเคยดีและต้องเกิดขึ้นกับตนเอง มักจะ เกิดขึ้นในตอนที่จะเกิดเหตุการณ์อะไรบางอย่าง เช่น ตอนดูหนังผี ตอนพรีเซนต์งานหน้าชั้นเรียน หรือแม้แต่การ ออกไปทาอะไรต่อหน้าสาธารณะชนในที่คนเยอะๆ เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้ คนเรามักจะเกิดความรู้สึกตื่นเต้น และตระหนกอยู่เสมอ เพราะเป็นอาการทั่วไปฉันจึงเกิดสนใจว่า ‘เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเราตื่นเต้นแบบปกติ หรือ เรา เป็นโรคแพนิค?’ อีกเหตุผลหนึ่งคือโรคแพนิคนั้นเป็นอาการทางจิตที่ถ้าหากไม่สังเกตตนเองหรือไม่ไปพบจิตแพทย์ก็ อาจจะไม่รู้เลยว่าเกิดโรคนี้ขึ้นกับตนเอง ด้วยเหตุนี้ฉันจึงเลือกทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ที่พบเห็นหรือได้มาอ่านเกิด ประโยชน์สูงสุด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาอาการของคนที่เป็นโรคแพนิค 2. เพื่อศึกษาแนวทางการรักษาโรคแพนิค 3. เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิค ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคแพนิค หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ผู้ที่เคยเกิดอาการแพนิคควรพบแพทย์ทันที เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าอาการดังกล่าวเป็นสัญญาณ หรืออาการของโรคหัวใจ เบื้องต้นแพทย์จะซักประวัติการรักษาของผู้ป่วยและตรวจร่างกาย โดยแพทย์จะ ตรวจเลือดเพื่อดูความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ รวมทั้งตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อดูการทางานของหัวใจ การ ตรวจเหล่านี้จะช่วยวินิจฉัยสาเหตุของอาการที่เกิดขึ้นว่ามีสาเหตุมาจากปัญหาสุขภาพทางกายหรือไม่ หากไม่
  • 3. 3 พบความผิดปกติของปัญหาสุขภาพดังกล่าว ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคแพนิค โดยแพทย์จะ สอบถามอาการ ความรู้สึกหวาดกลัวหรือวิตกกังวล และสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ทาให้หวาดกลัวหรือตื่น ตระหนก ผู้ป่วยควรอธิบายความรู้สึกและอาการที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวัน โดยไม่ต้องกดดัน ตัวเอง และพยายามทาให้ตัวเองผ่อนคลายระหว่างที่พูดคุยกับแพทย์ ทั้งนี้ แพทย์อาจให้ทาแบบประเมินทาง จิตวิทยาและสอบถามประวัติการใช้สารเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อประกอบการวินิจฉัย 2. ผู้ป่วยโรคแพนิคจาเป็นต้องใช้ยาเพื่อรักษาอาการแพนิค โดยยาที่ใช้รักษาอาการดังกล่าวประกอบด้วยยาต้าน ซึมเศร้า กลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines) และยากันชัก 3. จิตบาบัด วิธีนี้ช่วยรักษาอาการแพนิคและโรคแพนิคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ป่วยจะเข้าใจอาการแพนิค และโรคแพนิคมากขึ้น รวมทั้งเรียนรู้วิธีที่จะรับมือกับอาการป่วยของตนเอง วิธีจิตบาบัดที่ใช้รักษาโรคแพนิค คือการบาบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy: CBT) ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ว่า อาการแพนิคที่เกิดขึ้นไม่ได้อันตรายแต่อย่างใด การบาบัดความคิดและพฤติกรรมจะปรับวิธีคิด พฤติกรรม และการตอบสนองต่อความรู้สึกหวาดกลัวหรือตื่นตระหนกที่เกิดขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อโครงงาน 2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3. ศึกษารวบรวมข้อมูล 4. จัดทาโครงงาน 5. นาเสนอคุณครู 6. ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โทรศัพท์มือถือ 3. อินเทอร์เน็ต 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ที่สนใจในเรื่องของโรคแพนิคได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคนี้ และผู้จัดทาได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโรค แพนิคให้มากขึ้นเช่นกัน สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. วิทยาศาสตร์ 3. สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ♥ http://www.vichaiyut.co.th/health/diseases-treatment/other- diseases/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E 0%B8%B4%E0%B8%84- %E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9% 89- %E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8% 95/ ♥https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9 E%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84 ♥ https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28497