SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาโรคเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวณัฐจรี เผือกละออ
เลขที่ 32 ชั้น ม.6/6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวณัฐจรี เผือกละออ เลขที่32 ชั้น ม.6 ห้อง 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาโรคเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Problem of Acute Stress Disorder
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวธันยากานต์ วศินพิพัฒน์ และนางสาวณัฐจรี เผือกละออ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ภาวะที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากเหตุการณ์ร้ายแรง
ซึ่งภาวะดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการตอบสนองของร่างกายและจิตใจ
ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด
จะเกิดอาการเครียดประมาณหนึ่งเดือน
หากเกิดอาการนานกว่านั้นจะกลายเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ
(Posttraumatic Stress Disorder: PTSD)
โดยทั่วไปแล้ว เมื่อต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์อันตราย
ร่างกายจะหลั่งสารสื่อประสาทที่ทาให้ร่างกายตอบสนองด้วยการสู้หรือหนี
(Fight-or-Flight) ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว หายใจถี่ขึ้น กล้ามเนื้อหดตัว
และความดันโลหิตสูงขึ้น ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเครียดจะรู้สึกกลัว หวาดระแวง
หรือตื่นตระหนกหลังเผชิญสถานการณ์อันตราย ทั้งนี้ อาจรู้สึกวิตกกังวล
ว้าวุ่น และฟุ้งซ่าน หรือฝันร้ายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลายครั้ง
3
อย่างไรก็ตาม
มนุษย์เราจะประสบภาวะเครียดจากสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป กล่าวคือ
สถานการณ์บางอย่างอาจทาให้คนหนึ่งเกิดความเครียดได้
ในขณะที่อีกคนอาจรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวได้
และไม่รู้สึกเครียดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
อาการของโรคเครียด
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเครียดมักเกิดอาการของโรคทันทีที่เผชิญสถานการณ์ที่ทาใ
ห้เกิดความเครียด
โดยจะเกิดอาการของโรคเป็นเวลานานหลายวันหรือหลายสัปดาห์
อาการโรคเครียด มีดังนี้
 เห็นภาพเหตุการณ์ร้ายแรงซ้า ๆ ผู้ป่วยจะเห็นฝันร้าย
หรือนึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นซ้า ๆ อยู่เสมอ
 อารมณ์ขุ่นมัว อารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ป่วยโรคเครียดมักแสดงออก
มาในเชิงลบ ผู้ป่วยจะรู้สึกอารมณ์ไม่ดี มีความทุกข์
ไม่ร่าเริงแจ่มใสหรือรู้สึกไม่มีความสุข
 มีพฤติกรรมแยกตัวออกมา ผู้ป่วยจะเกิดหลงลืมมึนงง
ไม่มีสติหรือไม่รับรู้การมีอยู่ของตัวเอง หรือรู้สึกว่าเวลาเดินช้าลง
 หลีกเลี่ยงสิ่งต่าง
ๆ ผู้ป่วยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด
ไม่ว่าจะเป็นผู้คน สถานที่ สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น
ๆ
 ไวต่อสิ่งเร้า ผู้ป่วยจะนอนหลับยาก โมโหหรือก้าวร้าว
ไม่มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้
ทั้งนี้ โดยทั่วไป มนุษย์เรามักเกิดความเครียดจากการใช้ชีวิตประจาวัน
ซึ่งความรู้สึกดังกลาวอาจส่งผลกระทบต่อการทางานของร่างกายและอารมณ์
4
บ้าง ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก
และพฤติกรรม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุของโรคเครียด
2. เพื่อทาให้ทราบและเข้าใจในการเกิดโรคเครียด
ขอบเขตโครงงาน
1.สาเหตุของการโรคเครียด
2.ข้อเสียของการโรคเครียด
3.วิธีป้องกันโรคเครียด
4.วิธีสังเกตพฤติกรรมการเกิดโรคเครียด
หลักการและทฤษฎี
การวินิจฉัยโรคเครียด
5
ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิดอาการของโรคเครียดได้
อย่างไรก็ตาม
ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบแพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุข
ภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ
โดยแพทย์จะสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้รับรู้
รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้
เมื่อได้รับการตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการป่วยว่า
เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ
หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
ก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียด
การรักษาโรคเครียด
วิธีรักษาโรคเครียดคือการรับมืออาการของโรคที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถาน
การณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด
ผู้ป่วยควรเข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว
และพูดคุยกับครอบครัวหรือเพื่อนเพื่อระบายความเครียดอย่างไรก็ตาม
ผู้ป่วยที่เกิดอาการรุนแรงหรือเกิดความเครียดเรื้อรัง
จาเป็นต้องเข้ารับการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งมีรายละเอียด
ดังนี้
ปรึกษาแพทย์
การปรึกษาจิตแพทย์ถือเป็นวิธีรักษาโรคเครียดที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งจะช่วยรักษาผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิดอาการรุนแรงและเป็นมานาน
6
โดยแพทย์จะช่วยให้ผู้ป่วยรับมือกับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด
รวมทั้งช่วยให้ผู้ป่วยจัดการอาการของโรคที่เกิดขึ้นได้
บาบัดความคิดและพฤติกรรม
ผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิดความวิตกกังวลและอาการไม่ดีขึ้น
จะได้รับการรักษาด้วยวิธีบาบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive
Behavioural Therapy: CBT)
การบาบัดความคิดและพฤติกรรมเป็นวิธีจิตบาบัดที่มีแนวคิดว่าความคิดบางอ
ย่างของผู้ป่วยส่งผลต่อปัญหาสุขภาพจิต
ผู้ป่วยโรคเครียดอาจได้รับการบาบัดระยะสั้น
โดยแพทย์จะพูดคุยเกี่ยวกับความรู้สึกและความคิดของผู้ป่วย
รวมทั้งช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าความคิดบางอย่างนั้นไม่ถูกต้อง
และปรับทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ
ให้มองทุกอย่างได้ถูกต้องและตรงตามความเป็นจริง
ใช้ยารักษา แพทย์อาจจ่ายยารักษาโรคเครียดให้แก่ผู้ป่วยบางราย
โดยผู้ป่วยมักจะได้รับการรักษาด้วยยาเป็นระยะเวลาสั้น ๆ
เพื่อบรรเทาอาการปวดของร่างกาย ปัญหาการนอนหลับ หรืออาการซึมเศร้า
โดยยาที่ใช้รักษาโรคเครียด ได้แก่
เบต้า บล็อกเกอร์ (Beta-Blocker)
ยานี้จะช่วยบรรเทาอาการป่วยทางร่างกายซึ่งเกิดจากการหลั่งฮอร์โมนความ
เครียดออกมา เช่น อาการหัวใจเต้นเร็ว ผู้ป่วยรับประทานเมื่อเกิดอาการป่วย
เนื่องจากเบต้า บล็อกเกอร์ไม่จัดอยู่ในกลุ่มยาระงับประสาท
จึงไม่ก่อให้เกิดอาการง่วง ส่งผลต่อการทางานต่าง ๆ หรือทาให้ผู้ป่วยเสพติด
ไดอะซีแพม (Diazepam) ยาตัวนี้จัดอยู่ในกลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน
(Benzodiapines) ซึ่งเป็นยาระงับประสาท
แพทย์ไม่นิยมนามาใช้รักษาผู้ป่วย
เว้นแต่บางกรณีที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาไดอะซีแพม
7
ซึ่งจะใช้รักษาเป็นระยะสั้นเท่านั้น ทั้งนี้
ยาไดอะซีแพมอาจทาให้ผู้ป่วยเสพติดยา
และประสิทธิภาพในการรักษาเสื่อมลงหากผู้ป่วยใช้ยาดังกล่าวเป็นเวลานาน
นอกจากนี้ แพทย์อาจจ่ายยาอื่น ๆ เพื่อบรรเทาอาการของโรค เช่น
ยาระงับอาการวิตกกังวล ยาต้านเศร้ากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ (Selective
Serotonin Reuptake Inhibitors: SSRIs) และยาต้านซึมเศร้ากลุ่มอื่น ๆ
หรือรักษาจิตบาบัดด้วยการสะกดจิต (Hypnotherapy)
ซึ่งพบในการรักษาไม่มากนัก
ส่วนผู้ป่วยที่เสี่ยงฆ่าตัวตายหรือมีแนวโน้มทาร้ายผู้อื่น
จะต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้
ชิด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเครียด
ผู้ที่เกิดความเครียดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นประจาควรดูแลตัวเอง
โดยหากิจกรรมอย่างอื่นทายามว่าง เพื่อให้ตนเองรู้สึกผ่อนคลาย ทั้งนี้
ผู้ที่เกิดความเครียดเรื้อรังเป็นเวลานาน อาจประสบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ
ตามมาได้ ดังนี้
โรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ
ผู้ป่วยโรคเครียดบางรายอาจมีอาการของโรคนานกว่า 1 เดือน
โดยอาการเครียดจะรุนแรงขึ้นและทาให้ดาเนินชีวิตตามปกติได้ยาก
ซึ่งอาการดังกล่าวจะทาให้ป่วยเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ
ผู้ป่วยควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา
ซึ่งจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงไม่ทาให้อาการของโรคแย่ลง ทั้งนี้
ผู้ป่วยภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญร้อยละ 50
8
รักษาให้หายได้ภายใน 6 เดือน
ในขณะที่ผู้ป่วยรายอื่นอาจประสบภาวะดังกล่าวนานหลายปี
ปัญหาสุขภาพจิตต่าง ๆ ผู้ป่วยโรคเครียดที่ไม่ได้รับการรักษา
และมีอาการของโรคเรื้อรังอาจมีปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ ได้ เช่น โรคซึมเศร้า
โรควิตกกังวล หรือบุคลิกภาพแปรปรวน
การป้องกันโรคเครียด
โรคเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่ป้องกันได้ยาก
เนื่องจากสถานการณ์อันตรายอันเป็นสาเหตุของโรคเครียดนั้น ควบคุมไม่ได้
อย่างไรก็ตาม
ผู้ป่วยโรคเครียดดูแลตนเองและจัดการอาการของโรคไม่ให้แย่ลงได้
โดยปฏิบัติ ดังนี้
หลังจากเผชิญสถานการณ์ร้ายแรง ต้องรีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์
เพื่อช่วยลดโอกาสป่วยเป็นโรคเครียด
9
ผู้ที่ประกอบอาชีพซึ่งเสี่ยงเผชิญสถานการณ์อันตราย เช่น ทหาร
อาจต้องเข้ารับการฝึกซ้อมรับมือเหตุการณ์อันตรายและปรึกษาจิตแพทย์
เพื่อเตรียมตัวรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวและลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็น
โรคเครียด
ออกกาลังกายหรือทากิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ
ฝึกหายใจลึก ๆ ทาสมาธิ เล่นโยคะ หรือนวด เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย
รวมทั้งทาจิตใจให้แจ่มใส
พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือพูดคุยกับครอบครัว
หางานอดิเรกทาในยามว่าง เช่น อ่านหนังสือ หรือฟังเพลง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วน
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ รวมทั้งงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ
10
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-
11
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
ณัฐจรี
1 คิดหัวข้อโครง
งาน
  ณัฐจรี
2 ศึกษาและค้น
คว้าข้อมูล
  ณัฐจรี
3 จัดทาโครงร่าง
งาน
   ณัฐจรี
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
   ณัฐจรี
5 ปรับปรุงทดสอบ ณัฐจรี
6 การทาเอกสาร
รายงาน
ณัฐจรี
7 ประเมินผลงาน ณัฐจรี
8 นาเสนอโครงงา
น
ณัฐจรี
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4.สามารถเป็นสื่อการเรียนในเรื่องของปัญหาเด็กติดเกมส์
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
12
แหล่งอ้างอิง
https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%84
%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94

More Related Content

What's hot

2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichayathitichaya2442
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)ssuser6e9093
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48RESET2
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8Mai Lovelove
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม Krookhuean Moonwan
 

What's hot (20)

2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
Work
WorkWork
Work
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

Similar to At1

Similar to At1 (20)

T1 67 62
T1 67 62T1 67 62
T1 67 62
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
2562 final-fair
2562 final-fair2562 final-fair
2562 final-fair
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
AT22
AT22AT22
AT22
 
Project1
Project1Project1
Project1
 

At1