SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคหวาดระแวง(Paranoia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส. พิงตะวัน จันทโชติ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห ้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ ังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจ ัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาว พิงตะวัน จันทโชติ เลขที่ 38
คาชี้แจง
ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคหวาดระแวง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Paranoia
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อพัฒนาการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิงตะวัน จันทโชติ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากโรคหวาดระแวงสามารถพบได้ทั่วไปในสังคม
ไม่ว่าจะเป็นญาติ หรือคนรอบข้าง โรค-
หวาดระแวง
คือภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทาให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่าง
ไม่มีเหตุผล ผู้ป่วย
อาจรู้สึกว่ามีคนจ ้องทาร้ายอยู่ตลอดเวลา คิดว่าคนรอบข้างไม่ชอบตนเอง
หรือไม่ไว ้ใจผู้อื่น อาการเหล่านี้เรียก
อีกอย่างหนึ่งว่าอาการหลงผิด ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือเข้าสังคมได้ยาก
ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ทาการศึกษาค้นคว ้าเกี่ยวกับโรคหวาดระแวง
ไม่ว่าจะเป็น การป้องกัน การรักษา
และอื่นๆ มานาเสนอในโครงงานเล่มนี้
และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลจากโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่
ผู้ที่ศึกษาและผู้อ่านที่สนใจ เพื่อนาไประยุกต์ใช ้ต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคหวาดระแวง
3
2.เพื่อแนะนาวิธีป้องกันและรักษาโรคหวาดระแวง
3.เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับโรคหวาดระแวงได้ศึกษา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาเกี่ยวกับที่มาของโรคหวาดระแวง ลักษณะอาการ
ผลกระทบตลอดจนวิธีการรักษา และการจัดการ
ป้องกันจากความเครียด โดยศึกษาหาข้อมูลจากทางอินเตอร์เน็ต
และหนังสือ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ
หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
หวาดระแวง (Paranoia)
คือภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทาให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่าง
ไม่มีเหตุผล ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่ามีคนจ ้องทาร้ายอยู่ตลอดเวลา
คิดว่าคนรอบข้างไม่ชอบตนเอง หรือไม่ไว ้ใจผู้อื่น
อาการเหล่านี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอาการหลงผิด
ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือเข้าสังคมได้ยาก
อาการของภาวะหวาดระแวง
คนทั่วไปอาจมีอาการหวาดระแวงในระดับอ่อนบ ้าง
แต่ผู้ที่ประสบภาวะนี้อย่างรุนแรงอาจรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลจนส่งผลต่อการใ
ช ้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม ทั้งนี้
ระดับความรุนแรงของอาการหวาดระแวงจะแตกต่างกันไปตามสาเหตุ
โดยอาการที่อาจพบได้ มีดังนี้
-ไม่ไว ้ใจใครง่าย ๆ ระแวดระวังผู้อื่นตลอดเวลา
-คิดว่าคนอื่นจะทาร้ายหรือพูดถึงตนเองในทางเสียหาย
-มีพฤติกรรมก ้าวร้าว ประพฤติตัวไม่เป็นมิตรกับบุคคลรอบข้าง
-อ่อนไหวและรับไม่ได้กับการถูกวิจารณ์
-หงุดหงิดหรือโกรธง่าย
-ปล่อยวางและให้อภัยได้ยาก
-มองโลกในแง่ร้าย
-เข้าสังคมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนยาก
-ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว
-เคลือบแคลงสงสัยในเรื่องที่มีหลักฐานอธิบาย แต่เชื่อข่าวลือต่าง ๆ
อย่างไม่มีเหตุผล
4
สาเหตุของภาวะหวาดระแวง
ปัจจุบันแพทย์ยังไม่ทราบถึงสาเหตุของภาวะหวาดระแวงอย่างชัดเจน
แต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้เสี่ยงเกิดอาการหวาดระแวงได้ ดังนี้
ปัญหาสุขภาพจิต ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต เช่น รู้สึกวิตกกังวล ซึมเศร้า
หรือมีความเชื่อมั่นในตัวเองต่า เสี่ยงที่จะไม่ไว ้ใจหรือหวาดระแวงผู้อื่น
เนื่องจากภาวะเหล่านี้ทาให้ผู้ป่วยมีทัศนคติต่อสิ่งต่าง ๆ
รอบตัวในแง่ลบมากขึ้น นอกจากนี้
ภาวะหวาดระแวงยังอาจเป็นอาการป่วยของปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคบุคลิก
ภาพแปรปรวนบางชนิด ได้แก่
-โรคบุคลิกภาพผิดปกติแบบหวาดระแวง (Paranoid Personality Disorder)
ผู้ป่วยจะไม่ไว ้ใจบุคคลรอบข้างง่าย ๆ
เพราะคิดว่าคนอื่นหวังผลประโยชน์จากตน
อีกทั้งกังวลว่าจะมีคนทาร้ายหรือหักหลังอยู่เสมอ อย่างไรก็ตาม
ผู้ป่วยโรคนี้มีอาการหวาดระแวงในระดับอ่อนที่สุดและสามารถใช ้ชีวิตได้ตาม
ปกติ หลายคนมักมีอาการดีขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออายุมากขึ้น
และหายเป็นปกติเมื่ออายุ 50 ปี
-โรคจิตหลงผิด (Delusional Disorder)
คือภาวะที่มีความเชื่อหรือความคิดผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงเท่านั้น
ไม่ได้มีอาการป่วยทางจิตอื่น ๆ แต่อย่างใด
ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีอาการหลงผิดแตกต่างกันไป เช่น
คิดว่าตนเองป่วยทั้งที่ไม่ได้ป่วย คิดว่ามีคนคอยปองร้าย
แอบตามคนดังเพราะเชื่อว่าตนกับอีกฝ่ายรักกัน เป็นต้น
-โรคจิตเภทแบบหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia)
คือโรควิกลจริตชนิดหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้ป่ วยไม่เชื่อหรือยอมรับความจริง
รวมทั้งมีอาการประสาทหลอนหรือพฤติกรรมแปลก ๆ
หากไม่ได้รับการรักษาจะใช ้ชีวิตตามปกติไม่ได้
เป็นกลุ่มโรคจิตเวชที่มีอาการหวาดระแวงรุนแรงมากที่สุด
-ปัญหาสุขภาพกาย
ผู้ที่ประสบปัญหาสุขภาพบางอย่างอาจมีอาการหวาดระแวงร่วมด้วย เช่น
โรคสมองเสื่อม พาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรคฮันติงตัน (Huntington's
Disease) โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสูญเสียการได้ยิน ภาวะเครียด เป็นต้น
--ผลข้างเคียงจากการใช ้ยาและสารเสพติด
อาการหลงผิดหรือหวาดกลัวว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายตนเองนั้นอาจเกิดจากการใ
ช ้สารเสพติด เช่น กัญชา แอมเฟตามีน โคเคน แอลเอสดี
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมไปถึงการใช ้สารอื่น ๆ เช่น
5
สารเฟนไซคลิดีน (Phencyclidine) และสเตียรอยด์
ที่นักกีฬาใช ้สาหรับฉีดกล้ามเนื้อ หรือยาฆ่าแมลง
-สิ่งแวดล้อมภายนอก
ผลการศึกษาบางชิ้นเผยให้เห็นว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในที่ห่างไกลจากผู้คนหรือชอ
บแยกตัวออกจากสังคม มีแนวโน ้มเกิดอาการหวาดระแวงมากขึ้น นอกจากนี้
การรับฟังข่าวสารเกี่ยวกับการฆาตกรรม การแบ่งแยกดินแดน
หรือการใช ้ความรุนแรงก็ส่งผลให้รู้สึกวิตกกังวลและระแวงผู้คนรอบตัวได้เช่น
กัน
-ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่พบเจอ ผู้ที่เคยประสบเหตุการณ์เสี่ยงตาย
ต้องอยู่เพียงลาพัง
หรือเผชิญสถานการ์ที่รู้สึกกดดันและเครียดนั้นมักเกิดความรู้สึกในแง่ลบกับตั
วเอง ซึ่งอาจนาไปสู่อาการหวาดระแวงได้ เช่น ถูกกลั่นแกล้งจากที่ทางาน
โจรขึ้นบ ้าน เป็นต้น
เช่นเดียวกับเหตุการณ์ฝังใจในวัยเด็กที่อาจส่งผลให้มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้คนแ
ละ -สภาพแวดล้อมรอบตัว
ทาให้ไม่ไว ้ใจใครหรือรู้สึกว่าชีวิตไม่ปลอดภัย
-ภาวะพักผ่อนไม่เพียงพอ
การนอนน้อยมักกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัย หวาดระแวง
หรือมีอาการหลอนได้ โดยมักรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลขึ้นมาในตอนกลางดึก
-พันธุกรรม
คาดว่าอาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะหวาดระแวงได้
การวินิจฉัยภาวะหวาดระแวง
การวินิจฉัยสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะหวาดระแวงนั้นอาจทาได้ยาก
เพราะหากเกิดจากปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคสมองเสื่อม
ผู้ป่วยมักไม่ไว ้ใจผู้อื่น รู้สึกกลัว และเลี่ยงที่จะรับการตรวจและรักษา
การวินิจฉัยในเบื้องต้น
แพทย์อาจตรวจร่างกายและสอบถามประวัติของผู้ป่ วย
เพื่อดูว่ามีปัญหาสุขภาพกายหรือมีแนวโน้มอันเป็นสาเหตุของอาการหวาดระ
แวงหรือไม่
ในกรณีที่คาดว่าภาวะหวาดระแวงมีสาเหตุมาจากปัญหาสุขภาพจิต
แพทย์อาจให้ผู้ป่วยพบจิตแพทย์เพื่อรับการทดสอบทางจิตวิทยาและวินิจฉัย
ภาวะสุขภาพจิตต่อไป
โดยปัญหาสุขภาพจิตที่ทาให้เกิดอาการหวาดระแวงนั้นอาจเกี่ยวเนื่องกับโรค
ไบโพลาร์ โรควิตกกังวล หรือโรคซึมเศร้า
6
การรักษาภาวะหวาดระแวง
ผู้ป่วยภาวะหวาดระแวงจะได้รับการรักษาแตกต่างกันไปตามสาเหตุแล
ะระดับความรุนแรงของอาการ วิธีรักษาประกอบด้วยการทาจิตบาบัด
การใช ้ยา การฝึกทักษะในการเผชิญความเครียด
และการพักรักษาในโรงพยาบาล มีรายละเอียดดังนี้
-จิตบาบัด
เป็นวิธีรักษาผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวงในระดับไม่รุนแรงหรือโรคบุคลิกภา
พผิดปกติแบบหวาดระแวง
ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ที่จะยอมรับข้อบกพร่องของตน
เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองและความเชื่อใจต่อผู้อื่น
รวมทั้งรู้จักรับมือกับอารมณ์และแสดงออกอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม
ผู้ป่วยมักไม่พูดคุยเปิดใจอย่างเต็มที่นัก
ทาให้การรักษาต้องทาอย่างค่อยเป็นค่อยไป
การบาบัดความคิดและพฤติกรรมนับเป็นวิธีจิตบาบัดที่ใช ้มากที่สุด
โดยจะให้ผู้ป่วยอธิบายวิธีคิดและสาเหตุที่คิดเช่นนั้น
แล้วจึงชี้ให้เห็นถึงเหตุผลหรือความเป็นไปได้อื่น ๆ ที่แตกต่างออกไป
วิธีนี้จะช่วยบรรเทาอาการวิตกกังวลที่อาจนาไปสู่ภาวะหวาดระแวงได้ด้วย
ทั้งนี้ หากผู้ป่วยไม่สบายใจที่จะต้องพูดเปิดใจ
นักจิตวิทยาอาจให้ผู้ป่วยแสดงความรู้สึกของตัวเองออกมาผ่านวิธีอื่น ๆ เช่น
การวาดรูป เป็นต้น
-การใช ้ยา ผู้ป่วยที่รู้สึกหวาดกลัวหรือวิตกกังวลบ่อย ๆ เช่น
โรคบุคลิกภาพผิดปกติแบบหวาดระแวง โรคหลงผิด และโรคจิตเภท
จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตเพื่อบรรเทาอาการหวาดระแวง
นอกจากนี้ แพทย์อาจให้ยาต้านเศร้าหรือยาคลายเครียดที่มีฤทธิ์อ่อน ๆ
เพื่อระงับอาการไม่ให้กาเริบ
-ฝึกทักษะในการเผชิญความเครียด
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้จักผ่อนคลายจากความเครียด
รู้วิธีรับมือกับอาการวิตกกังวล
รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
-การพักรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง
จาเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจนกว่าอาการจะดีขึ้นและทรงตัว
หลังจากนั้นแพทย์อาจแนะนาวิธีรักษาอื่น ๆ เช่น จิตบาบัด
รวมทั้งให้คาปรึกษาแก่ครอบครัวของผู้ป่ วยในการรับมือ
ส่วนผู้ป่วยภาวะหวาดระแวงที่เกิดจากการใช ้สารเสพติดจะได้รับการบาบัดจน
7
กว่าผลข้างเคียงจากการใช ้ยาจะหาย และเข้ารับการรักษาอื่น ๆ
ตามสมควรต่อไป
นอกจากนี้
ตัวผู้ป่วยเองและบุคคลรอบข้างนับว่ามีส่วนสาคัญในการช่วยรับมือกับอาการ
หวาดระแวง ดังนี้
วิธีรับมือสาหรับตัวผู้ป่ วยเอง
ผู้ที่ประสบภาวะหวาดระแวงหรือคิดว่าตนเองอาจมีอาการดังกล่าว
สามารถดูแลตนเองได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้
-เขียนบันทึก สังเกตและเขียนสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเองลงในสมุดบันทึก เช่น
สิ่งที่ทาให้หวาดระแวง ความถี่ของอาการ พฤติกรรมการนอน เหตุการณ์อื่น
ๆ เป็นต้น
การเขียนบันทึกจะช่วยให้ทราบถึงสาเหตุหรือแนวโน ้มของการเกิดภาวะหวา
ดระแวงว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ และอะไรที่ช่วยให้รู้สึกดีขึ้นได้
เพื่อเลี่ยงปัจจัยที่ทาให้รู้สึกหวาดระแวงได้อย่างถูกจุด
-ปรึกษาคนรอบข้าง
ควรพูดคุยเปิดใจกับคนใกล้ชิดหรือบุคคลในครอบครัวที่ไว ้วางใจเพื่อระบายค
วามเครียดและความวิตกกังวล
รวมทั้งหมั่นทากิจกรรมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัว เพื่อน และคนรอบข้าง
เพื่อไม่ให้รู้สึกโดดเดี่ยว
-ผ่อนคลายความกังวล
หากิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลายความเครียดและความวิตกกังวล เช่น ทาสมาธิ
ทางานอดิเรกที่สนใจ เป็นต้น
-ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
รับประทานอาหารให้ครบถ ้วนและควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณ
ฑ์ปกติ เพื่อช่วยให้รับมือกับอาการหวาดระแวงได้ดีขึ้น
วิธีรับมือสาหรับคนใกล้ชิด บุคคลในครอบครัว เพื่อน
หรือคนใกล้ชิดควรดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยภาวะหวาดระแวง ดังนี้
-สังเกตอาการ ควรสังเกตว่าอะไรที่เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยรู้สึกหวาดระแวง
-พูดคุยเปิดใจ
วิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับรู้มุมมองที่ต่างออกไปและช่วยลดความเครียดลงไ
ด้
-ทาความเข้าใจความรู้สึก
ไม่ควรมองว่าภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยเป็นเรื่องไร้เหตุผล
แต่ควรทาความเข้าใจอารมณ์และความรู้สึกผู้ป่ วย
8
รวมทั้งหมั่นสังเกตว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงมากน ้อยเพียงใด
และพยายามช่วยให้ผู้ป่ วยรู้สึกดีขึ้นเมื่อเกิดอาการหวาดระแวง
-ช่วยเหลือเต็มที่ หากผู้ป่วยไม่ต้องการไปหาหมอก็ไม่ควรฝืนบังคับ
ควรคอยสอบถามและเสนอตัวให้ความช่วยเหลือ
เพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจว่ามีคนให้พึ่งพาได้ในยามเผชิญปัญหา
-เคารพการตัดสินใจ ไม่ตัดสินใจแทนผู้ป่วย
ควรให้ผู้ป่วยได้คิดและตัดสินใจเอง
-แนะนาสายด่วน หากผู้ป่วยไม่พูดคุยเปิดใจ
ผู้ใกล้ชิดอาจแนะนาให้ผู้ป่วยขอความช่วยเหลือจากองค์กรให้คาปรึกษาในเ
บื้องต้น เช่น สายด่วนสุขภาพจิต 1323 ที่พร้อมรับฟังและให้คาปรึกษาตลอด
24 ชั่วโมง
-ดูแลตัวเองให้ดี พักผ่อนและดูแลสุขภาพกายและใจให้เป็นปกติอยู่เสมอ
เนื่องจากการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวงนั้นอาจส่งผลต่ออารมณ์และค
วามรู้สึกของผู้ดูแลได้
ภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหวาดระแวง
อาการหวาดระแวงไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ ้อนที่ส่งผลต่อสุขภาพกาย
แต่อาจกระทบต่อความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างและการเข้าสังคม
เนื่องจากผู้ป่วยระแวงว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายตนเอง จึงมักประพฤติตัวแปลกแยก
ก ้าวร้าว หรือเก็บตัว ไม่สุงสิงกับผู้อื่น
ส่งผลให้ผู้คนรอบข้างปฏิบัติต่อผู้ป่วยไม่เหมือนเดิมหรือเลี่ยงที่จะพบปะพูดคุ
ยด้วย
นอกจากนี้
พฤติกรรมหลีกเลี่ยงการเผชิญหน ้าและการยอมรับความเป็นจริงอาจทาให้ผู้ป่
วยไม่รู้วิธีรับมือกับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดอาการหวาดกลัว
และไม่มีโอกาสพิสูจน์ว่าสิ่งที่ตนเองคิดนั้นผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงหรือ
ไม่ อีกทั้งอาจรู้สึกโดดเดี่ยว ซึมเศร้า และมีความรู้สึกในแง่ลบกับสิ่งต่าง ๆ
รอบตัวมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อาการป่วยแย่ลง
การป้ องกันภาวะหวาดระแวง
ภาวะหวาดระแวงยังไม่มีวิธีป้องกันที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม
การเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะนี้อาจช่วยลดแนวโน ้มการเกิดอาการหว
าดระแวงได้ เช่น การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกาลังกายและดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเสมอ
ทากิจกรรมผ่อนคลายความเครียด และเลี่ยงการใช ้สารเสพติด เป็นต้น
9
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อในการศึกษา
2.ค้นคว ้าและรวบรวมข้อมูล
3.จัดทารายงาน
4.นาเสนอคุณครูผู้สอน
5.ปรับปรุงและแก ้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.โทรศัพท์มือถือ
งบประมาณ
ไม่ใช ้งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิ
ดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงง
าน
2 ศึกษาและค้นค
ว ้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างง
าน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอ
บ
6 การทาเอกสารร
ายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงา
น
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
2.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่เลือก
3.สามารถนาไปประยุกต์ใช ้ได้
4.สามารถเผยแพร่ให้สนที่สนใจได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช ้การทาโครงงาน)
หวาดระแวง, สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2562.
จาก. https://www.pobpad.com/หวาดระแวง

More Related Content

What's hot

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1mint302544
 
2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr2562 final-project-cpr
2562 final-project-cprssuser04955f
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 projectLove Naka
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupaSaiparnChitsanupa
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
Computer
ComputerComputer
ComputerWrnPloy
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมaomchowder
 

What's hot (20)

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr
 
5
55
5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
Lin
LinLin
Lin
 
45 604
45 60445 604
45 604
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
 

Similar to 2562 final-project (1) (1)

Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603sarisachaimongkol
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthidassuserccc094
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37naiizu
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project KUMBELL
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -mLikhasiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Siriluk Laju
 
2562 final-project 19 (1)
2562 final-project 19 (1)2562 final-project 19 (1)
2562 final-project 19 (1)timehara
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610patittaoumm
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610Preaw Ppy
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
ClaustrophobiaPreaw Ppy
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8fauunutcha
 

Similar to 2562 final-project (1) (1) (20)

Project1
Project1Project1
Project1
 
Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603
 
2562final-project 38
2562final-project 382562final-project 38
2562final-project 38
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
Crime problem
Crime problemCrime problem
Crime problem
 
2562 final-projectcomp
2562 final-projectcomp2562 final-projectcomp
2562 final-projectcomp
 
at1
at1at1
at1
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
AT22
AT22AT22
AT22
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 19 (1)
2562 final-project 19 (1)2562 final-project 19 (1)
2562 final-project 19 (1)
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
Claustrophobia
 
2561 project 605new
2561 project  605new2561 project  605new
2561 project 605new
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 

2562 final-project (1) (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคหวาดระแวง(Paranoia) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส. พิงตะวัน จันทโชติ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห ้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ ังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจ ัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว พิงตะวัน จันทโชติ เลขที่ 38 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคหวาดระแวง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Paranoia ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อพัฒนาการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิงตะวัน จันทโชติ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากโรคหวาดระแวงสามารถพบได้ทั่วไปในสังคม ไม่ว่าจะเป็นญาติ หรือคนรอบข้าง โรค- หวาดระแวง คือภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทาให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่าง ไม่มีเหตุผล ผู้ป่วย อาจรู้สึกว่ามีคนจ ้องทาร้ายอยู่ตลอดเวลา คิดว่าคนรอบข้างไม่ชอบตนเอง หรือไม่ไว ้ใจผู้อื่น อาการเหล่านี้เรียก อีกอย่างหนึ่งว่าอาการหลงผิด ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือเข้าสังคมได้ยาก ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ทาการศึกษาค้นคว ้าเกี่ยวกับโรคหวาดระแวง ไม่ว่าจะเป็น การป้องกัน การรักษา และอื่นๆ มานาเสนอในโครงงานเล่มนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลจากโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ ผู้ที่ศึกษาและผู้อ่านที่สนใจ เพื่อนาไประยุกต์ใช ้ต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคหวาดระแวง
  • 3. 3 2.เพื่อแนะนาวิธีป้องกันและรักษาโรคหวาดระแวง 3.เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับโรคหวาดระแวงได้ศึกษา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาเกี่ยวกับที่มาของโรคหวาดระแวง ลักษณะอาการ ผลกระทบตลอดจนวิธีการรักษา และการจัดการ ป้องกันจากความเครียด โดยศึกษาหาข้อมูลจากทางอินเตอร์เน็ต และหนังสือ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) หวาดระแวง (Paranoia) คือภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทาให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่าง ไม่มีเหตุผล ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่ามีคนจ ้องทาร้ายอยู่ตลอดเวลา คิดว่าคนรอบข้างไม่ชอบตนเอง หรือไม่ไว ้ใจผู้อื่น อาการเหล่านี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอาการหลงผิด ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือเข้าสังคมได้ยาก อาการของภาวะหวาดระแวง คนทั่วไปอาจมีอาการหวาดระแวงในระดับอ่อนบ ้าง แต่ผู้ที่ประสบภาวะนี้อย่างรุนแรงอาจรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลจนส่งผลต่อการใ ช ้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม ทั้งนี้ ระดับความรุนแรงของอาการหวาดระแวงจะแตกต่างกันไปตามสาเหตุ โดยอาการที่อาจพบได้ มีดังนี้ -ไม่ไว ้ใจใครง่าย ๆ ระแวดระวังผู้อื่นตลอดเวลา -คิดว่าคนอื่นจะทาร้ายหรือพูดถึงตนเองในทางเสียหาย -มีพฤติกรรมก ้าวร้าว ประพฤติตัวไม่เป็นมิตรกับบุคคลรอบข้าง -อ่อนไหวและรับไม่ได้กับการถูกวิจารณ์ -หงุดหงิดหรือโกรธง่าย -ปล่อยวางและให้อภัยได้ยาก -มองโลกในแง่ร้าย -เข้าสังคมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนยาก -ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว -เคลือบแคลงสงสัยในเรื่องที่มีหลักฐานอธิบาย แต่เชื่อข่าวลือต่าง ๆ อย่างไม่มีเหตุผล
  • 4. 4 สาเหตุของภาวะหวาดระแวง ปัจจุบันแพทย์ยังไม่ทราบถึงสาเหตุของภาวะหวาดระแวงอย่างชัดเจน แต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้เสี่ยงเกิดอาการหวาดระแวงได้ ดังนี้ ปัญหาสุขภาพจิต ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต เช่น รู้สึกวิตกกังวล ซึมเศร้า หรือมีความเชื่อมั่นในตัวเองต่า เสี่ยงที่จะไม่ไว ้ใจหรือหวาดระแวงผู้อื่น เนื่องจากภาวะเหล่านี้ทาให้ผู้ป่วยมีทัศนคติต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในแง่ลบมากขึ้น นอกจากนี้ ภาวะหวาดระแวงยังอาจเป็นอาการป่วยของปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคบุคลิก ภาพแปรปรวนบางชนิด ได้แก่ -โรคบุคลิกภาพผิดปกติแบบหวาดระแวง (Paranoid Personality Disorder) ผู้ป่วยจะไม่ไว ้ใจบุคคลรอบข้างง่าย ๆ เพราะคิดว่าคนอื่นหวังผลประโยชน์จากตน อีกทั้งกังวลว่าจะมีคนทาร้ายหรือหักหลังอยู่เสมอ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคนี้มีอาการหวาดระแวงในระดับอ่อนที่สุดและสามารถใช ้ชีวิตได้ตาม ปกติ หลายคนมักมีอาการดีขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออายุมากขึ้น และหายเป็นปกติเมื่ออายุ 50 ปี -โรคจิตหลงผิด (Delusional Disorder) คือภาวะที่มีความเชื่อหรือความคิดผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงเท่านั้น ไม่ได้มีอาการป่วยทางจิตอื่น ๆ แต่อย่างใด ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีอาการหลงผิดแตกต่างกันไป เช่น คิดว่าตนเองป่วยทั้งที่ไม่ได้ป่วย คิดว่ามีคนคอยปองร้าย แอบตามคนดังเพราะเชื่อว่าตนกับอีกฝ่ายรักกัน เป็นต้น -โรคจิตเภทแบบหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia) คือโรควิกลจริตชนิดหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้ป่ วยไม่เชื่อหรือยอมรับความจริง รวมทั้งมีอาการประสาทหลอนหรือพฤติกรรมแปลก ๆ หากไม่ได้รับการรักษาจะใช ้ชีวิตตามปกติไม่ได้ เป็นกลุ่มโรคจิตเวชที่มีอาการหวาดระแวงรุนแรงมากที่สุด -ปัญหาสุขภาพกาย ผู้ที่ประสบปัญหาสุขภาพบางอย่างอาจมีอาการหวาดระแวงร่วมด้วย เช่น โรคสมองเสื่อม พาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรคฮันติงตัน (Huntington's Disease) โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสูญเสียการได้ยิน ภาวะเครียด เป็นต้น --ผลข้างเคียงจากการใช ้ยาและสารเสพติด อาการหลงผิดหรือหวาดกลัวว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายตนเองนั้นอาจเกิดจากการใ ช ้สารเสพติด เช่น กัญชา แอมเฟตามีน โคเคน แอลเอสดี เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมไปถึงการใช ้สารอื่น ๆ เช่น
  • 5. 5 สารเฟนไซคลิดีน (Phencyclidine) และสเตียรอยด์ ที่นักกีฬาใช ้สาหรับฉีดกล้ามเนื้อ หรือยาฆ่าแมลง -สิ่งแวดล้อมภายนอก ผลการศึกษาบางชิ้นเผยให้เห็นว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในที่ห่างไกลจากผู้คนหรือชอ บแยกตัวออกจากสังคม มีแนวโน ้มเกิดอาการหวาดระแวงมากขึ้น นอกจากนี้ การรับฟังข่าวสารเกี่ยวกับการฆาตกรรม การแบ่งแยกดินแดน หรือการใช ้ความรุนแรงก็ส่งผลให้รู้สึกวิตกกังวลและระแวงผู้คนรอบตัวได้เช่น กัน -ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่พบเจอ ผู้ที่เคยประสบเหตุการณ์เสี่ยงตาย ต้องอยู่เพียงลาพัง หรือเผชิญสถานการ์ที่รู้สึกกดดันและเครียดนั้นมักเกิดความรู้สึกในแง่ลบกับตั วเอง ซึ่งอาจนาไปสู่อาการหวาดระแวงได้ เช่น ถูกกลั่นแกล้งจากที่ทางาน โจรขึ้นบ ้าน เป็นต้น เช่นเดียวกับเหตุการณ์ฝังใจในวัยเด็กที่อาจส่งผลให้มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้คนแ ละ -สภาพแวดล้อมรอบตัว ทาให้ไม่ไว ้ใจใครหรือรู้สึกว่าชีวิตไม่ปลอดภัย -ภาวะพักผ่อนไม่เพียงพอ การนอนน้อยมักกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัย หวาดระแวง หรือมีอาการหลอนได้ โดยมักรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลขึ้นมาในตอนกลางดึก -พันธุกรรม คาดว่าอาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะหวาดระแวงได้ การวินิจฉัยภาวะหวาดระแวง การวินิจฉัยสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะหวาดระแวงนั้นอาจทาได้ยาก เพราะหากเกิดจากปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคสมองเสื่อม ผู้ป่วยมักไม่ไว ้ใจผู้อื่น รู้สึกกลัว และเลี่ยงที่จะรับการตรวจและรักษา การวินิจฉัยในเบื้องต้น แพทย์อาจตรวจร่างกายและสอบถามประวัติของผู้ป่ วย เพื่อดูว่ามีปัญหาสุขภาพกายหรือมีแนวโน้มอันเป็นสาเหตุของอาการหวาดระ แวงหรือไม่ ในกรณีที่คาดว่าภาวะหวาดระแวงมีสาเหตุมาจากปัญหาสุขภาพจิต แพทย์อาจให้ผู้ป่วยพบจิตแพทย์เพื่อรับการทดสอบทางจิตวิทยาและวินิจฉัย ภาวะสุขภาพจิตต่อไป โดยปัญหาสุขภาพจิตที่ทาให้เกิดอาการหวาดระแวงนั้นอาจเกี่ยวเนื่องกับโรค ไบโพลาร์ โรควิตกกังวล หรือโรคซึมเศร้า
  • 6. 6 การรักษาภาวะหวาดระแวง ผู้ป่วยภาวะหวาดระแวงจะได้รับการรักษาแตกต่างกันไปตามสาเหตุแล ะระดับความรุนแรงของอาการ วิธีรักษาประกอบด้วยการทาจิตบาบัด การใช ้ยา การฝึกทักษะในการเผชิญความเครียด และการพักรักษาในโรงพยาบาล มีรายละเอียดดังนี้ -จิตบาบัด เป็นวิธีรักษาผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวงในระดับไม่รุนแรงหรือโรคบุคลิกภา พผิดปกติแบบหวาดระแวง ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ที่จะยอมรับข้อบกพร่องของตน เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองและความเชื่อใจต่อผู้อื่น รวมทั้งรู้จักรับมือกับอารมณ์และแสดงออกอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยมักไม่พูดคุยเปิดใจอย่างเต็มที่นัก ทาให้การรักษาต้องทาอย่างค่อยเป็นค่อยไป การบาบัดความคิดและพฤติกรรมนับเป็นวิธีจิตบาบัดที่ใช ้มากที่สุด โดยจะให้ผู้ป่วยอธิบายวิธีคิดและสาเหตุที่คิดเช่นนั้น แล้วจึงชี้ให้เห็นถึงเหตุผลหรือความเป็นไปได้อื่น ๆ ที่แตกต่างออกไป วิธีนี้จะช่วยบรรเทาอาการวิตกกังวลที่อาจนาไปสู่ภาวะหวาดระแวงได้ด้วย ทั้งนี้ หากผู้ป่วยไม่สบายใจที่จะต้องพูดเปิดใจ นักจิตวิทยาอาจให้ผู้ป่วยแสดงความรู้สึกของตัวเองออกมาผ่านวิธีอื่น ๆ เช่น การวาดรูป เป็นต้น -การใช ้ยา ผู้ป่วยที่รู้สึกหวาดกลัวหรือวิตกกังวลบ่อย ๆ เช่น โรคบุคลิกภาพผิดปกติแบบหวาดระแวง โรคหลงผิด และโรคจิตเภท จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตเพื่อบรรเทาอาการหวาดระแวง นอกจากนี้ แพทย์อาจให้ยาต้านเศร้าหรือยาคลายเครียดที่มีฤทธิ์อ่อน ๆ เพื่อระงับอาการไม่ให้กาเริบ -ฝึกทักษะในการเผชิญความเครียด เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้จักผ่อนคลายจากความเครียด รู้วิธีรับมือกับอาการวิตกกังวล รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ -การพักรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจนกว่าอาการจะดีขึ้นและทรงตัว หลังจากนั้นแพทย์อาจแนะนาวิธีรักษาอื่น ๆ เช่น จิตบาบัด รวมทั้งให้คาปรึกษาแก่ครอบครัวของผู้ป่ วยในการรับมือ ส่วนผู้ป่วยภาวะหวาดระแวงที่เกิดจากการใช ้สารเสพติดจะได้รับการบาบัดจน
  • 7. 7 กว่าผลข้างเคียงจากการใช ้ยาจะหาย และเข้ารับการรักษาอื่น ๆ ตามสมควรต่อไป นอกจากนี้ ตัวผู้ป่วยเองและบุคคลรอบข้างนับว่ามีส่วนสาคัญในการช่วยรับมือกับอาการ หวาดระแวง ดังนี้ วิธีรับมือสาหรับตัวผู้ป่ วยเอง ผู้ที่ประสบภาวะหวาดระแวงหรือคิดว่าตนเองอาจมีอาการดังกล่าว สามารถดูแลตนเองได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้ -เขียนบันทึก สังเกตและเขียนสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเองลงในสมุดบันทึก เช่น สิ่งที่ทาให้หวาดระแวง ความถี่ของอาการ พฤติกรรมการนอน เหตุการณ์อื่น ๆ เป็นต้น การเขียนบันทึกจะช่วยให้ทราบถึงสาเหตุหรือแนวโน ้มของการเกิดภาวะหวา ดระแวงว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ และอะไรที่ช่วยให้รู้สึกดีขึ้นได้ เพื่อเลี่ยงปัจจัยที่ทาให้รู้สึกหวาดระแวงได้อย่างถูกจุด -ปรึกษาคนรอบข้าง ควรพูดคุยเปิดใจกับคนใกล้ชิดหรือบุคคลในครอบครัวที่ไว ้วางใจเพื่อระบายค วามเครียดและความวิตกกังวล รวมทั้งหมั่นทากิจกรรมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัว เพื่อน และคนรอบข้าง เพื่อไม่ให้รู้สึกโดดเดี่ยว -ผ่อนคลายความกังวล หากิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลายความเครียดและความวิตกกังวล เช่น ทาสมาธิ ทางานอดิเรกที่สนใจ เป็นต้น -ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ รับประทานอาหารให้ครบถ ้วนและควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณ ฑ์ปกติ เพื่อช่วยให้รับมือกับอาการหวาดระแวงได้ดีขึ้น วิธีรับมือสาหรับคนใกล้ชิด บุคคลในครอบครัว เพื่อน หรือคนใกล้ชิดควรดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยภาวะหวาดระแวง ดังนี้ -สังเกตอาการ ควรสังเกตว่าอะไรที่เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยรู้สึกหวาดระแวง -พูดคุยเปิดใจ วิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับรู้มุมมองที่ต่างออกไปและช่วยลดความเครียดลงไ ด้ -ทาความเข้าใจความรู้สึก ไม่ควรมองว่าภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยเป็นเรื่องไร้เหตุผล แต่ควรทาความเข้าใจอารมณ์และความรู้สึกผู้ป่ วย
  • 8. 8 รวมทั้งหมั่นสังเกตว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงมากน ้อยเพียงใด และพยายามช่วยให้ผู้ป่ วยรู้สึกดีขึ้นเมื่อเกิดอาการหวาดระแวง -ช่วยเหลือเต็มที่ หากผู้ป่วยไม่ต้องการไปหาหมอก็ไม่ควรฝืนบังคับ ควรคอยสอบถามและเสนอตัวให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจว่ามีคนให้พึ่งพาได้ในยามเผชิญปัญหา -เคารพการตัดสินใจ ไม่ตัดสินใจแทนผู้ป่วย ควรให้ผู้ป่วยได้คิดและตัดสินใจเอง -แนะนาสายด่วน หากผู้ป่วยไม่พูดคุยเปิดใจ ผู้ใกล้ชิดอาจแนะนาให้ผู้ป่วยขอความช่วยเหลือจากองค์กรให้คาปรึกษาในเ บื้องต้น เช่น สายด่วนสุขภาพจิต 1323 ที่พร้อมรับฟังและให้คาปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง -ดูแลตัวเองให้ดี พักผ่อนและดูแลสุขภาพกายและใจให้เป็นปกติอยู่เสมอ เนื่องจากการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวงนั้นอาจส่งผลต่ออารมณ์และค วามรู้สึกของผู้ดูแลได้ ภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหวาดระแวง อาการหวาดระแวงไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ ้อนที่ส่งผลต่อสุขภาพกาย แต่อาจกระทบต่อความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างและการเข้าสังคม เนื่องจากผู้ป่วยระแวงว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายตนเอง จึงมักประพฤติตัวแปลกแยก ก ้าวร้าว หรือเก็บตัว ไม่สุงสิงกับผู้อื่น ส่งผลให้ผู้คนรอบข้างปฏิบัติต่อผู้ป่วยไม่เหมือนเดิมหรือเลี่ยงที่จะพบปะพูดคุ ยด้วย นอกจากนี้ พฤติกรรมหลีกเลี่ยงการเผชิญหน ้าและการยอมรับความเป็นจริงอาจทาให้ผู้ป่ วยไม่รู้วิธีรับมือกับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดอาการหวาดกลัว และไม่มีโอกาสพิสูจน์ว่าสิ่งที่ตนเองคิดนั้นผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงหรือ ไม่ อีกทั้งอาจรู้สึกโดดเดี่ยว ซึมเศร้า และมีความรู้สึกในแง่ลบกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อาการป่วยแย่ลง การป้ องกันภาวะหวาดระแวง ภาวะหวาดระแวงยังไม่มีวิธีป้องกันที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม การเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะนี้อาจช่วยลดแนวโน ้มการเกิดอาการหว าดระแวงได้ เช่น การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายและดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเสมอ ทากิจกรรมผ่อนคลายความเครียด และเลี่ยงการใช ้สารเสพติด เป็นต้น
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อในการศึกษา 2.ค้นคว ้าและรวบรวมข้อมูล 3.จัดทารายงาน 4.นาเสนอคุณครูผู้สอน 5.ปรับปรุงและแก ้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.โทรศัพท์มือถือ งบประมาณ ไม่ใช ้งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิ ดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงง าน 2 ศึกษาและค้นค ว ้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างง าน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอ บ 6 การทาเอกสารร ายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงา น
  • 10. 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น 2.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่เลือก 3.สามารถนาไปประยุกต์ใช ้ได้ 4.สามารถเผยแพร่ให้สนที่สนใจได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช ้การทาโครงงาน) หวาดระแวง, สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2562. จาก. https://www.pobpad.com/หวาดระแวง