SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อ่านอย่างไรให้จา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวเบญจวรรณ ปัญญวารินทร์ เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวเบญจวรรณ ปัญญาวารินทร์ ชั้นม.6/2 เลขที่ 12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อ่านอย่างไรให้จา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How to remember all we read ?
ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจวรรณ ปัญญาวารินทร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุค “การศึกษา Thailand 4.0” รวมถึงการเลือกเข้าศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษาที่ใช้ระบบ TCAS หรือ Thai University Center Admission System ซึงเป็นยุคที่เด็กนักเรียนต้อง
แข่งขันกันมากกว่าปกติเพราะการสอบในระบบนี้เป็นข้อสอบส่วนกลาง และมีระบบต่างๆที่เพิ่มขึ้นมาอีกมากมาย
และแน่นอนว่าการที่มีระบบการศึกษาในรูปแบบใหม่ ย่อมทาให้ทุกคนตื่นตัวรวมถึงเตรียมความพร้อมในการสอบ
เพราะนอกจากการสอบในครั้งนี้ที่มีการแข่งขันมากกว่าปีก่อนหน้าที่ผ่านมานั้น ใครที่มีความพร้อมในการสอบมากกว่า
ก็จะได้เปรียบ การอ่านหนังสือก็เช่นกัน ใครอ่านได้มากกว่า หรือเข้าใจและทาข้อสอบ ทาโจทย์เก่าๆได้มากกว่าย่อม
ได้เปรียบ โดยการที่เราจะทาโจทย์หรือข้อสอบได้นั้น เราต้องมีความรู้ที่สามารถนามาประยุกต์และคิดวิเคราะห์ก่อน
ตอบที่แน่นมากพอ ดังนั้น ทุกคนจึงมีวิธีการในการอ่านหนังสือที่ต่างกัน รวมถึงมีวิธีการจดจาในสิ่งที่อ่านได้อย่าง
หลากหลาย มีเทคนิคต่างๆในการจาเป็นอย่างดี ไม่ใช่แค่อ่านผ่านๆเพื่อบอกตัวเองว่าเคยอ่านมาแล้ว
ผู้จัดทาจึงเลือกที่จะทาโครงงาน “อ่านอย่างไรให้จา ” ซึ่งเป็นอีกแนวทางหนึ่งของการศึกษาที่สามารถปฏิบัติ
ได้ด้วยตนเอง และยังเป็นเป็นแนวทางในการเริ่มต้นการอ่าน หรือเป็นแนวทางใหม่ๆสาหรับผู้ที่ต้องการศึกษา
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อแนะนาแนวทางการอ่านหนังสือที่ถูกวิธี
2. เพื่อมีแนวทางใหม่ๆในการเริ่มต้นการอ่านหนังสือ
3. เพื่อลดปัญหาการอ่านแล้วไม่จา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาและสารวจวิธีการอ่านต่างๆที่มีผลต่อการจา และเทคนิคในการอ่าน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.การจาและการลืม
ความจา เป็นระบบการทางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Active System) ในการรับ(Receives) เก็บ(Stores)
จัดการ(Organizes) การเปลี่ยนแปลง(Alter) และนาข้อมูล ออกมา(Recovers) โดยการทางานของความจานี้ จะ
คล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ เริ่มจากการใส่รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบ เมื่อต้องการข้อมูลใด
ก็จะเรียกออกมาใช้เช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ความจา แบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังนี้
1.ความจาจากการรับสัมผัส ( Sensory Memory) เป็นความจาที่เกิดจากประสาทรับสัมผัส คือ หู ตา
จมูก ลิ้ น และกาย โดยการจาแบบนี้ เป็ นระบบการจา ขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลในลักษณะถอดแบบสิ่งที่ได้เห็นหรือ ได้
ยินทุกอย่างเอาไว้ในช่วงสั้นๆ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลต่อไป ยังระบบการจาอื่นๆ เช่น ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา (Icon)
หรือจินตภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที( 1/2 วินาที) แต่ถ้าเกิดจากการได้ยินเสียงก้องหู(Echo) ของสิ่งที่ได้ยิน จะคงอยู่
ประมาณ 2 วินาที ฯลฯ ทั้งนี้ หากไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลสิ่งที่จาได้จะหายไปอย่างรวดเร็ว
2.ความจาระยะสั้น (Short –Term Memory :STM) ทาหน้าที่คล้ายคลังข้อมูล ชั่วคราวที่เก็บข้อมูลได้ใน
จานวนจากัด(สามารถจาได้ประมาณ 7 ตัว เรียกว่า มีความจาระยะ สั้นในระดับเฉลี่ย) โดยในระยะแรกจะเก็บข้อมูล
ในลักษณะจินตภาพ แต่บ่อยครั้งมักจะเก็บ ข้อมูลในลักษณะของเสียง ซึ่งความจาระยะสั้นนี้ จะช่วยป้ องกันไม่ให้เรา
สับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลขโทรศัพท์ และเรื่องเล็กๆน้อยๆ นอกจากนั้นยังเป็ น ความจาในส่วน ปฏิบัติงาน
เรียกว่า Working Memory ซึ่งช่วยในการคิดของเราเป็ นอย่างมากอีกด้วย
นักจิตวิทยาชื่อ จอร์จ มิลเลอร์ (George Miller)ได้แสดงให้เห็นว่า ความจาระยะ สั้นสามารถจาข้อมูลได้
7+2 หน่วย ถ้ามีข้อมูลที่ต้องจามากกว่า 7 ตัว ความผิดพลาดจะ เกิดขึ้ น ถ้ามีข้อมูลใหม่มาเพิ่มนอกเหนือจาก 7 ตัว
เดิม จะทาให้ข้อมูลใหม่และเก่าบางข้อมูล หายไปได้ และยังพบอีกว่า ปัจจัยที่ให้เราสามารถจาได้นานขึ้ นนั้นคือ การ
จดบันทึก (Recording)และการทบทวน ( Rehearsal) ความจาระยะสั้นนี้ อาจจะถูกรบกวนหรือถูก 3 แทรกได้ง่าย
ซึ่งถ้าไม่มีการทบทวนจะอยู่ได้เพียง 18 วินาที และจะมีข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ ข้อมูลเก่า
3.ความจาระยะยาว (Long-Term Memory : LTM) ทาหน้าที่เหมือนคลังข้อมูล ถาวรซึ่งบรรจุทุกอย่างที่
เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้ เป็ นระบบที่สามารถเก็บข้อมูลความจาได้เนิ่น นานและไม่จากัด โดยจะเก็บข้อมูลไว้บนพื้ นฐา
นของความหมายและความสาคัญของข้อมูล
4
ความจาระยะยาว มี 2 ประเภท คือ
1)การจาความหมาย (Semantic Memory)เป็ นการจาความรู้พื้ นฐานที่เป็น ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกเอาไว้
ซึ่งเกือบจะไม่ลืมเลย เช่น ชื่อเดือน ชื่อวัน ภาษา และทักษะการ คานวณง่ายๆ ฯลฯ โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับเวลาและ
สถานที่ จึงเปรียบเสมือนพจนานุกรมทาง จิต หรือสารานุกรมเกี่ยวกับความรู้พื้ นฐาน
2)การจาเหตุการณ์(Episodic Memory) เป็ นการจาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตตนเอง จะเป็ นการบันทึก
เหตุการณ์ในชีวิตวันต่อวัน ปี ต่อปี เช่น การจาสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่าง แม่นยา ฯลฯ ซึ่งการจาเหตุการณ์นี้ จะลืมง่าย
กว่าการจาความหมาย เพราะมีเหตุการณ์ใหม่ๆ เข้ามาในชีวิตเราอยู่ตลอดเวลา

More Related Content

What's hot

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
ice1818
 

What's hot (20)

2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
2559_project_(1)
2559_project_(1)2559_project_(1)
2559_project_(1)
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
มม
มมมม
มม
 
At1
At1At1
At1
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
 
สมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิตสมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิต
 
11111
1111111111
11111
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 

Similar to แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
dewdrw
 
แบบเสนอแบบร่างโครงงาน
แบบเสนอแบบร่างโครงงานแบบเสนอแบบร่างโครงงาน
แบบเสนอแบบร่างโครงงาน
Ken'Kasemson Janpartoom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Polly Rockheels
 

Similar to แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project 3333
2560 project  33332560 project  3333
2560 project 3333
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอแบบร่างโครงงาน
แบบเสนอแบบร่างโครงงานแบบเสนอแบบร่างโครงงาน
แบบเสนอแบบร่างโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
2560 project fewnew22
2560 project fewnew222560 project fewnew22
2560 project fewnew22
 
3 2560 project
3 2560 project 3 2560 project
3 2560 project
 
4 2560 project
4 2560 project 4 2560 project
4 2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อ่านอย่างไรให้จา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวเบญจวรรณ ปัญญวารินทร์ เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวเบญจวรรณ ปัญญาวารินทร์ ชั้นม.6/2 เลขที่ 12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อ่านอย่างไรให้จา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How to remember all we read ? ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจวรรณ ปัญญาวารินทร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุค “การศึกษา Thailand 4.0” รวมถึงการเลือกเข้าศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษาที่ใช้ระบบ TCAS หรือ Thai University Center Admission System ซึงเป็นยุคที่เด็กนักเรียนต้อง แข่งขันกันมากกว่าปกติเพราะการสอบในระบบนี้เป็นข้อสอบส่วนกลาง และมีระบบต่างๆที่เพิ่มขึ้นมาอีกมากมาย และแน่นอนว่าการที่มีระบบการศึกษาในรูปแบบใหม่ ย่อมทาให้ทุกคนตื่นตัวรวมถึงเตรียมความพร้อมในการสอบ เพราะนอกจากการสอบในครั้งนี้ที่มีการแข่งขันมากกว่าปีก่อนหน้าที่ผ่านมานั้น ใครที่มีความพร้อมในการสอบมากกว่า ก็จะได้เปรียบ การอ่านหนังสือก็เช่นกัน ใครอ่านได้มากกว่า หรือเข้าใจและทาข้อสอบ ทาโจทย์เก่าๆได้มากกว่าย่อม ได้เปรียบ โดยการที่เราจะทาโจทย์หรือข้อสอบได้นั้น เราต้องมีความรู้ที่สามารถนามาประยุกต์และคิดวิเคราะห์ก่อน ตอบที่แน่นมากพอ ดังนั้น ทุกคนจึงมีวิธีการในการอ่านหนังสือที่ต่างกัน รวมถึงมีวิธีการจดจาในสิ่งที่อ่านได้อย่าง หลากหลาย มีเทคนิคต่างๆในการจาเป็นอย่างดี ไม่ใช่แค่อ่านผ่านๆเพื่อบอกตัวเองว่าเคยอ่านมาแล้ว ผู้จัดทาจึงเลือกที่จะทาโครงงาน “อ่านอย่างไรให้จา ” ซึ่งเป็นอีกแนวทางหนึ่งของการศึกษาที่สามารถปฏิบัติ ได้ด้วยตนเอง และยังเป็นเป็นแนวทางในการเริ่มต้นการอ่าน หรือเป็นแนวทางใหม่ๆสาหรับผู้ที่ต้องการศึกษา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อแนะนาแนวทางการอ่านหนังสือที่ถูกวิธี 2. เพื่อมีแนวทางใหม่ๆในการเริ่มต้นการอ่านหนังสือ 3. เพื่อลดปัญหาการอ่านแล้วไม่จา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาและสารวจวิธีการอ่านต่างๆที่มีผลต่อการจา และเทคนิคในการอ่าน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.การจาและการลืม ความจา เป็นระบบการทางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Active System) ในการรับ(Receives) เก็บ(Stores) จัดการ(Organizes) การเปลี่ยนแปลง(Alter) และนาข้อมูล ออกมา(Recovers) โดยการทางานของความจานี้ จะ คล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ เริ่มจากการใส่รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบ เมื่อต้องการข้อมูลใด ก็จะเรียกออกมาใช้เช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ความจา แบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังนี้ 1.ความจาจากการรับสัมผัส ( Sensory Memory) เป็นความจาที่เกิดจากประสาทรับสัมผัส คือ หู ตา จมูก ลิ้ น และกาย โดยการจาแบบนี้ เป็ นระบบการจา ขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลในลักษณะถอดแบบสิ่งที่ได้เห็นหรือ ได้ ยินทุกอย่างเอาไว้ในช่วงสั้นๆ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลต่อไป ยังระบบการจาอื่นๆ เช่น ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา (Icon) หรือจินตภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที( 1/2 วินาที) แต่ถ้าเกิดจากการได้ยินเสียงก้องหู(Echo) ของสิ่งที่ได้ยิน จะคงอยู่ ประมาณ 2 วินาที ฯลฯ ทั้งนี้ หากไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลสิ่งที่จาได้จะหายไปอย่างรวดเร็ว 2.ความจาระยะสั้น (Short –Term Memory :STM) ทาหน้าที่คล้ายคลังข้อมูล ชั่วคราวที่เก็บข้อมูลได้ใน จานวนจากัด(สามารถจาได้ประมาณ 7 ตัว เรียกว่า มีความจาระยะ สั้นในระดับเฉลี่ย) โดยในระยะแรกจะเก็บข้อมูล ในลักษณะจินตภาพ แต่บ่อยครั้งมักจะเก็บ ข้อมูลในลักษณะของเสียง ซึ่งความจาระยะสั้นนี้ จะช่วยป้ องกันไม่ให้เรา สับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลขโทรศัพท์ และเรื่องเล็กๆน้อยๆ นอกจากนั้นยังเป็ น ความจาในส่วน ปฏิบัติงาน เรียกว่า Working Memory ซึ่งช่วยในการคิดของเราเป็ นอย่างมากอีกด้วย นักจิตวิทยาชื่อ จอร์จ มิลเลอร์ (George Miller)ได้แสดงให้เห็นว่า ความจาระยะ สั้นสามารถจาข้อมูลได้ 7+2 หน่วย ถ้ามีข้อมูลที่ต้องจามากกว่า 7 ตัว ความผิดพลาดจะ เกิดขึ้ น ถ้ามีข้อมูลใหม่มาเพิ่มนอกเหนือจาก 7 ตัว เดิม จะทาให้ข้อมูลใหม่และเก่าบางข้อมูล หายไปได้ และยังพบอีกว่า ปัจจัยที่ให้เราสามารถจาได้นานขึ้ นนั้นคือ การ จดบันทึก (Recording)และการทบทวน ( Rehearsal) ความจาระยะสั้นนี้ อาจจะถูกรบกวนหรือถูก 3 แทรกได้ง่าย ซึ่งถ้าไม่มีการทบทวนจะอยู่ได้เพียง 18 วินาที และจะมีข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ ข้อมูลเก่า 3.ความจาระยะยาว (Long-Term Memory : LTM) ทาหน้าที่เหมือนคลังข้อมูล ถาวรซึ่งบรรจุทุกอย่างที่ เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้ เป็ นระบบที่สามารถเก็บข้อมูลความจาได้เนิ่น นานและไม่จากัด โดยจะเก็บข้อมูลไว้บนพื้ นฐา นของความหมายและความสาคัญของข้อมูล
  • 4. 4 ความจาระยะยาว มี 2 ประเภท คือ 1)การจาความหมาย (Semantic Memory)เป็ นการจาความรู้พื้ นฐานที่เป็น ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกเอาไว้ ซึ่งเกือบจะไม่ลืมเลย เช่น ชื่อเดือน ชื่อวัน ภาษา และทักษะการ คานวณง่ายๆ ฯลฯ โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับเวลาและ สถานที่ จึงเปรียบเสมือนพจนานุกรมทาง จิต หรือสารานุกรมเกี่ยวกับความรู้พื้ นฐาน 2)การจาเหตุการณ์(Episodic Memory) เป็ นการจาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตตนเอง จะเป็ นการบันทึก เหตุการณ์ในชีวิตวันต่อวัน ปี ต่อปี เช่น การจาสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่าง แม่นยา ฯลฯ ซึ่งการจาเหตุการณ์นี้ จะลืมง่าย กว่าการจาความหมาย เพราะมีเหตุการณ์ใหม่ๆ เข้ามาในชีวิตเราอยู่ตลอดเวลา