SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
วัตถุประสงค์
1. อธิบายความหมายและความแตกต่างของข้อมูล สารสนเทศ
และความรู้
2. อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ดี
3. อธิบายลักษณะการจัดเก็บข้อมูล
4. อธิบายจริยธรรมในการใช้ข้อมูล
2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล (data) คือสิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ
เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการสังเกต การทดลอง หรือ
การสารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็น
ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์
ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็น
ประจา เช่น เกรดที่นักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินค้า
ชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพและข้อความต่าง ๆ ที่
ปรากฏในเว็บไซต์
ตัวดาเนินการ (Operator)
สารสนเทศ (Information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้
จากการนาข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ใน
การนาไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและ
นักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้าง
สารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนาไปใช้ใน
จุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนาข้อมูลเหล่านี้มา
เรียงลาดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของ
นักเรียน
ความรู้ (Knowledge)
เป็นคาที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้าน
วิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ใน
หลายแง่มุม แต่ความหมายในแง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและ
สารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่แระกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูก
จัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนา
ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านั้นไปแก้ไข
นอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
ของข้อมูลและสารสนเทศ คือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่สามารถ
สกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสาหรับข้อมูลใหม่หรือ
ข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่ง
ผลลัพธ์สุดท้ายจากการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้ที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ใช้
2.2 การจัดการความรู้ (Knowledge management)
ในการบริหารองค์กร สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่า
เป็นตัวเงินได้ คือ ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน เนื่องจากในการทางาน
การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ การนาความรู้มาปรับใช้ โดยพนักงาน
ระดับต่าง ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในการทางาน พนักงานที่ปฏิบัติงานหนึ่ง
คน จะต้องใช้ความรู้และทักษะเฉพาะอย่างเพื่อทางานให้ลุล่วงไปได้ ซึ่งการ
จะทาให้พนักงานหนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น จะต้องใช้
การอบรมเพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับพนักงานเหล่านี้ ซึ่งความรู้ที่
ถ่ายทอดให้แก่พนักงานนี้ จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา (Intellectual
capital) ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างสูงกับองค์กร เพราะความรู้
บางอย่างต้องใช้งบประมาณและเวลาในการสร้างขึ้น ทาอย่างไรจึงจะ
สามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ตัวอย่างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้
นอกจากนี้ยังมีศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ที่น่าสนใจอีกด้านหนึ่ง คือ
ความฉลาดร่วม (collective intelligence) ซึ่งเป็นการสร้างความฉลาดหรือสร้าง
ความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้ ตัวอย่างของการสร้างความรู้ในลักษณะนี้ เช่น วิกิพีเดีย
(Wikipedia) ซึ่งผู้ใช้แต่ละคนสามารถเพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ
ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูลก็สามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลหรือ
ความรู้เหล่านั้นได้ เป็นต้น ตัวอย่างการสร้างความรู้ร่วมกันของวิกิพีเดีย
2.3 ลักษณะของข้อมูลที่ดี
“ถ้าข้อมูลเข้าเป็นขยะ สิ่งที่ออกมาก็จะเป็นขยะด้วย” (Garbage In,
Garbage Out) ซึ่งหมายความว่า ข้อมูลที่นาไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อย
คุณภาพ ผลลัพธ์ที่จะออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนั้นเราจึงควร
ตระหนักถึงความสาคัญของการเก็บข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูล
เบื้องต้นด้วย โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
1. ความถูกต้องของข้อมูล
2. ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน
3. ความถูกต้องตามเวลา
4. ความสอดคล้องกันของข้อมูล
2.4 การจัดเก็บข้อมูล
ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น
• การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็น
กระดาษได้ รวมถึงการทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวก
และรวดเร็ว
• การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการ
บารุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องการนาข้อมูล
เหล่านี้ไปใช้งานสามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการ
ไปใช้ได้
• การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร
เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปใน
แผนกการเงินไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้
จริยธรรมในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและ
สารสนเทศในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
2.51 ความเป็นส่วนตัว
2.5.2 สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล
2.5.3 ทรัพย์สินทางปัญญา
2.5 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
1. เขตข้อมูล (field)
* จานวนเต็ม (integer)
* จานวนทศนิยม (decimal number)
* ข้อความ (text)
* วันเวลา (date/time)
* ไฟล์ (file)
2. ระเบียน (record)
3. ตาราง (table)
4. ฐานข้อมูล (database)
2.4.1 ลาดับขั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล
1. เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูล
ใด ๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อ
แทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมายในฐานข้อมูลนี้
เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้
– จานวนเต็ม (interger) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด
32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขนี้อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจานวนเต็มได้
ตั้งแต่ -2,147,483, 648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า
เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่ระบุเครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านั้นจะ
สามารถแทนตัวเลขจานวนเต็มได้ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295
– จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลข
ทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิงพอยต์ (floating piont) ซึ่งการเก็บในลักษณะ
นี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัวสาหรับตาแน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บ
ข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
– ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความ
ให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะ
ใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด
(Unicode) ที่สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาว
ของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ
– วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน
วันลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น
ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ
เก็บข้อมูลเป็นวันเวลา
– ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆ
ซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความ
ยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่น ๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะ
เป็นบิตเรียงต่อกัน
2. ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขต
ข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะ
ประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน ตัวอย่างระเบียน ดังรูป
3. ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บ
ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละ
ระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลาย
ระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่าง
ตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูป
4. ฐานข้อมูล( database) เป็นที่รวมของตารางหลาย ๆ ตารางเข้าไว้
ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูล
ซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บ
ข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง
อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูลของตารางอื่น
หล่อ
ลากไส้
จังเลย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มี
ไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่
เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ
เข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 8 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบ
คอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ
หรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปีหรือ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่
1. ลิขสิทธิ์ (copyright)
2. เครื่องหมายการค้า (trademark)
3. สิทธิบัตร (patent)
ลิขสิทธิ์ หมายถึง ผลงานที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ประเภทต่างๆ เช่น งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรี
กรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่
ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ เป็น
ต้น ซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทาการใดๆ
เกี่ยวกับงาน ลิขสิทธิ์ของตนโดยกฎหมายลิขสิทธิ์ได้ให้ความ
คุ้มครองถึงสิทธิของนักแสดง และสร้างสรรค์ด้านเทคโนโลยี เช่น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย
เครื่องหมายการค้า (trademark) คือ ตราสินค้าหรือส่วนหนึ่งของ
ตราสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมาย
การค้านั้น เจ้าของมีสิทธิตามกฎหมายเพียงผู้เดียว เราไม่สามารถใช้
เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นและบุคคลอื่นก็ไม่สามารถใช้
เครื่องหมายการค้าของเราได้ เว้นแต่จะมีสัญญาและข้อตกลงต่อกัน
(เช่นการควบกิจการ) สัญลักษณ์อาจจะประกอบไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี
สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ หรือหลายส่วนร่วมกัน โดยมีความหมาย
ทางด้านทรัพย์สินทางปัญญาเป็นเครื่องหมายแสดงถึง ชื่อสินค้าเฉพาะ
อย่าง หรือทุกประเภทในเครื่องหมายการค้าจะเป็นการแสดงภาพ
เครื่องหมาย ชื่อ ตราสัญลักษณ์เพื่อแสดงถึง อ้างถึง มีความหมายถึงสิ่ง
ใด ๆ ก็ตามที่มีความเกี่ยวข้องกัน เครื่องหมายการค้าที่เป็นสัญลักษณ์
สากล คือการกากับด้วย TM หมายถึงเครื่องหมายการค้าที่มิได้จด
ทะเบียน หรือ ® หมายถึงเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ซึ่งจะได้รับ
สิทธิคุ้มครองตามกฎหมาย
ตัวอย่างเครื่องหมายการค้า
สิทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มี
ลักษณะตามที่กาหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบ
ว่าด้วยสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 เป็นทรัพย์สินทางปัญญา
ประเภทหนึ่ง ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้นหรือการ
ออกแบบ เพื่อให้ได้สิ่งของ,เครื่องใช้หรือสิ่งอานวยความ
สะดวกต่างๆที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจาวัน เช่น การ
ประดิษฐ์รถยนต์, โทรทัศน์, คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์ หรือ
การออกแบบขวดบรรจุน้าดื่ม, ขวดบรรจุน้าอัดลม หรือการ
ออกแบบลวดลายบนจานข้าว, ถ้วยกาแฟ ไม่ให้เหมือนของ
คนอื่น เป็นต้น
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสารkoratswpark
 
วีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองวีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองsompong2507pong
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
Srion Janeprapapong
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
นพณัฐกานต์ ศุภสินทินภัทร
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
pop Jaturong
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)Patchara Wioon
 
สาระสำคัญ
สาระสำคัญสาระสำคัญ
สาระสำคัญGornwika
 

What's hot (14)

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสาร
 
วีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองวีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทอง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
สาระสำคัญ
สาระสำคัญสาระสำคัญ
สาระสำคัญ
 
บท1
บท1บท1
บท1
 

Similar to บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
ครู อินดี้
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
ครูเพชร
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
Rachabodin Suwannakanthi
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
nattapas33130
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
rilerilept
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10

Similar to บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ (20)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้

  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายและความแตกต่างของข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ 2. อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ดี 3. อธิบายลักษณะการจัดเก็บข้อมูล 4. อธิบายจริยธรรมในการใช้ข้อมูล
  • 3. 2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ข้อมูล (data) คือสิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการสังเกต การทดลอง หรือ การสารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็น ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็น ประจา เช่น เกรดที่นักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินค้า ชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพและข้อความต่าง ๆ ที่ ปรากฏในเว็บไซต์
  • 4. ตัวดาเนินการ (Operator) สารสนเทศ (Information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้ จากการนาข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ใน การนาไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและ นักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้าง สารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนาไปใช้ใน จุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนาข้อมูลเหล่านี้มา เรียงลาดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของ นักเรียน
  • 5. ความรู้ (Knowledge) เป็นคาที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้าน วิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ใน หลายแง่มุม แต่ความหมายในแง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและ สารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่แระกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูก จัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนา ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านั้นไปแก้ไข นอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ของข้อมูลและสารสนเทศ คือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่สามารถ สกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสาหรับข้อมูลใหม่หรือ ข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่ง ผลลัพธ์สุดท้ายจากการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้ที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้
  • 6. 2.2 การจัดการความรู้ (Knowledge management) ในการบริหารองค์กร สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่า เป็นตัวเงินได้ คือ ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน เนื่องจากในการทางาน การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ การนาความรู้มาปรับใช้ โดยพนักงาน ระดับต่าง ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในการทางาน พนักงานที่ปฏิบัติงานหนึ่ง คน จะต้องใช้ความรู้และทักษะเฉพาะอย่างเพื่อทางานให้ลุล่วงไปได้ ซึ่งการ จะทาให้พนักงานหนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น จะต้องใช้ การอบรมเพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับพนักงานเหล่านี้ ซึ่งความรู้ที่ ถ่ายทอดให้แก่พนักงานนี้ จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา (Intellectual capital) ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างสูงกับองค์กร เพราะความรู้ บางอย่างต้องใช้งบประมาณและเวลาในการสร้างขึ้น ทาอย่างไรจึงจะ สามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  • 8. นอกจากนี้ยังมีศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ที่น่าสนใจอีกด้านหนึ่ง คือ ความฉลาดร่วม (collective intelligence) ซึ่งเป็นการสร้างความฉลาดหรือสร้าง ความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้ ตัวอย่างของการสร้างความรู้ในลักษณะนี้ เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia) ซึ่งผู้ใช้แต่ละคนสามารถเพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูลก็สามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลหรือ ความรู้เหล่านั้นได้ เป็นต้น ตัวอย่างการสร้างความรู้ร่วมกันของวิกิพีเดีย
  • 9. 2.3 ลักษณะของข้อมูลที่ดี “ถ้าข้อมูลเข้าเป็นขยะ สิ่งที่ออกมาก็จะเป็นขยะด้วย” (Garbage In, Garbage Out) ซึ่งหมายความว่า ข้อมูลที่นาไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อย คุณภาพ ผลลัพธ์ที่จะออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนั้นเราจึงควร ตระหนักถึงความสาคัญของการเก็บข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูล เบื้องต้นด้วย โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. ความถูกต้องของข้อมูล 2. ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน 3. ความถูกต้องตามเวลา 4. ความสอดคล้องกันของข้อมูล
  • 10. 2.4 การจัดเก็บข้อมูล ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น • การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็น กระดาษได้ รวมถึงการทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวก และรวดเร็ว • การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการ บารุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องการนาข้อมูล เหล่านี้ไปใช้งานสามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการ ไปใช้ได้ • การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปใน แผนกการเงินไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้
  • 11. จริยธรรมในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและ สารสนเทศในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 2.51 ความเป็นส่วนตัว 2.5.2 สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล 2.5.3 ทรัพย์สินทางปัญญา 2.5 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
  • 12. 1. เขตข้อมูล (field) * จานวนเต็ม (integer) * จานวนทศนิยม (decimal number) * ข้อความ (text) * วันเวลา (date/time) * ไฟล์ (file) 2. ระเบียน (record) 3. ตาราง (table) 4. ฐานข้อมูล (database) 2.4.1 ลาดับขั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล
  • 13. 1. เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูล ใด ๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อ แทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมายในฐานข้อมูลนี้ เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้ – จานวนเต็ม (interger) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขนี้อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจานวนเต็มได้ ตั้งแต่ -2,147,483, 648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่ระบุเครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านั้นจะ สามารถแทนตัวเลขจานวนเต็มได้ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295
  • 14. – จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลข ทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิงพอยต์ (floating piont) ซึ่งการเก็บในลักษณะ นี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัวสาหรับตาแน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บ ข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต – ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความ ให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะ ใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาว ของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ
  • 15. – วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ เก็บข้อมูลเป็นวันเวลา – ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆ ซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความ ยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่น ๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะ เป็นบิตเรียงต่อกัน
  • 16. 2. ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขต ข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะ ประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน ตัวอย่างระเบียน ดังรูป
  • 17. 3. ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บ ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละ ระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลาย ระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่าง ตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูป
  • 18. 4. ฐานข้อมูล( database) เป็นที่รวมของตารางหลาย ๆ ตารางเข้าไว้ ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูล ซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บ ข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูลของตารางอื่น หล่อ ลากไส้ จังเลย
  • 19. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มี ไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่ เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ เข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา 8 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบ คอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปีหรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 20. ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่ 1. ลิขสิทธิ์ (copyright) 2. เครื่องหมายการค้า (trademark) 3. สิทธิบัตร (patent)
  • 21. ลิขสิทธิ์ หมายถึง ผลงานที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ประเภทต่างๆ เช่น งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรี กรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ เป็น ต้น ซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทาการใดๆ เกี่ยวกับงาน ลิขสิทธิ์ของตนโดยกฎหมายลิขสิทธิ์ได้ให้ความ คุ้มครองถึงสิทธิของนักแสดง และสร้างสรรค์ด้านเทคโนโลยี เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย
  • 22. เครื่องหมายการค้า (trademark) คือ ตราสินค้าหรือส่วนหนึ่งของ ตราสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมาย การค้านั้น เจ้าของมีสิทธิตามกฎหมายเพียงผู้เดียว เราไม่สามารถใช้ เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นและบุคคลอื่นก็ไม่สามารถใช้ เครื่องหมายการค้าของเราได้ เว้นแต่จะมีสัญญาและข้อตกลงต่อกัน (เช่นการควบกิจการ) สัญลักษณ์อาจจะประกอบไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ หรือหลายส่วนร่วมกัน โดยมีความหมาย ทางด้านทรัพย์สินทางปัญญาเป็นเครื่องหมายแสดงถึง ชื่อสินค้าเฉพาะ อย่าง หรือทุกประเภทในเครื่องหมายการค้าจะเป็นการแสดงภาพ เครื่องหมาย ชื่อ ตราสัญลักษณ์เพื่อแสดงถึง อ้างถึง มีความหมายถึงสิ่ง ใด ๆ ก็ตามที่มีความเกี่ยวข้องกัน เครื่องหมายการค้าที่เป็นสัญลักษณ์ สากล คือการกากับด้วย TM หมายถึงเครื่องหมายการค้าที่มิได้จด ทะเบียน หรือ ® หมายถึงเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ซึ่งจะได้รับ สิทธิคุ้มครองตามกฎหมาย
  • 24. สิทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ คุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มี ลักษณะตามที่กาหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบ ว่าด้วยสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 เป็นทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทหนึ่ง ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้นหรือการ ออกแบบ เพื่อให้ได้สิ่งของ,เครื่องใช้หรือสิ่งอานวยความ สะดวกต่างๆที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจาวัน เช่น การ ประดิษฐ์รถยนต์, โทรทัศน์, คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์ หรือ การออกแบบขวดบรรจุน้าดื่ม, ขวดบรรจุน้าอัดลม หรือการ ออกแบบลวดลายบนจานข้าว, ถ้วยกาแฟ ไม่ให้เหมือนของ คนอื่น เป็นต้น
  • 25. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER