SlideShare a Scribd company logo
การแสดงผลและการรับข้อมูล 
(DATA OUTPUT AND INPUT)
หล่อ 
ลากไส้ จังเลย การแสดงผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูลสามารถทาได้ 3 รูปแบบดังนี้ 
•การแสดงผลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง putchar() 
•การแสดงผลเป็นข้อความด้วยคาสั่ง puts() 
•การแสดงผลข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง printf()
คาสั่ง putchar () เป็นคาสั่งสาหรับแสดงอักขระทีละตัวออกทาง จอภาพ ซึ่งสามารถแสดงผลจากค่าตัวอักขระ หรือแสดงจาก ค่าตัวแปรก็ได้ โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ 
โดยที่ var เป็นตัวแปรชนิดอักขระ (char) หรือเป็นค่าอักขระ ภายในเครื่องหมาย ‘ ’ 
การแสดงผลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง putchar() 
putchar();
คาสั่ง puts() เป็นคาสั่งสาหรับแสดงข้อความออกทาง จอภาพ ซึ่งสามารถแสดงผลจากค่าข้อความหรือแสดง จากค่าตัวแปรก็ได้ โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ 
โดยที่ var เป็นตัวแปรชนิดข้อความ หรือเป็นค่า ข้อความภายในเครื่องหมาย ‚ ‛ 
การแสดงผลเป็นข้อความด้วยคาสั่ง puts() 
puts();
การแสดงผลข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง printf() 
คาสั่ง printf() เป็นคาสั่งสาหรับแสดงผลออกทางจอภาพ และ สามารถแสดงผลข้อมูลได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข และทศนิยม โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ 
printf(‚format‛, var_1, var_2, ..., var_n); 
โดยที่ format เป็นส่วนควบคุมการแสดงผลข้อความภายใน เครื่องหมาย ‚ ‛ ซึ่งรวมถึงการจัดรูปแบบการแสดงผลด้วย 
var เป็นตัวแปรที่ต้องการแสดงผล ซึ่งต้องเป็นชนิดข้อมูลที่ ตรงกันกับ format ที่กาหนดไว้
การแสดงผลด้วยคาสั่ง printf() นั้นสามารถแสดงผลได้ทุกชนิดข้อมูล โดยใช้รหัสรูปแบบการแสดงผลแทนค่าตัวแปร นิพจน์ หรือค่าคงที่ชนิด ต่าง ๆ ในข้อความ ซึ่งมีรหัสรูปแบบการแสดงผลที่ควรรู้ ดังนี้ 
รหัสรูปแบบการแสดงผลข้อความด้วยคาสั่ง prinft() 
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
%c 
ใช้กาหนดตาแหน่งที่จะแสดง อักขระ 1 ตัว (single character) 
%d 
ใช้กาหนดตาแหน่งแสดงเลขจานวนเต็ม (integerหรือ int) 1 จานวนในรูปเลขฐานสิบ 
%ld 
จานวนเต็มชนิด long
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
%e 
ใช้แสดงตัวเลขที่เป็นจุดทศนิยม (floating point ,float)ในรูป e เช่น 2.15e+2 คือแทนค่า215 
%f 
จานวนทศนิยม 
%g 
จานวนทศนิยม 
%i 
จานวนเต็มชนิด int 
%o 
ใช้แสดง integer ในรูปเลขฐานแปด
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
%p 
พอยน์เตอร์ 
%s 
ข้อความ 
%u 
จานวนเต็มที่มีค่าบวก 
%x 
ใช้แสดง integer ในรูปเลขฐานสิบหก
จัดรูปแบบการแสดงผลข้อมูล 
ในการแสดงผลการทางานของโปรแกรม เราต้องการจะแสดงอักขระพิเศษ ทางจอภาพ ซึ่งภาษา C ได้กาหนดรูปแบบการแสดงผลอักขระพิเศษต่าง ๆ ดังนี้ 
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
b 
เลื่อนเคอร์เซอร์ถอยหลังไป 1 ตัวอักษร 
n 
ขึ้นบรรทัดใหม่ 
r 
เลื่อนเคอร์เซอร์ไปทางซ้ายสุด 
t 
แสดงแท็บตามแนวนอน 
’ 
แสดงเครื่องหมาย ‘ 
‛ 
แสดงเครื่องหมาย ‚ 
 
แสดงเครื่องหมาย
การจัดพื้นที่แสดงผลข้อมูล 
การแสดงผลข้อมูลที่เราต้องการนั้น อาจจะต้องการจัดรูปแบบ ข้อความให้ชิดซ้ายหรือชิดขวา หรือแม้แต่แสดงข้อความตามจานวน ตัวอักษร เช่น ต้องการแสดงทศนิยม 2 ตาแหน่ง, แสดงข้อความไม่เกิน 10 ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งมีรูปแบบในการแสดงผลข้อมูลชนิดข้อความ ดังนี้ 
printf(‚%m.ns‛, variable); 
โดยที่m เป็นจานวนพื้นที่ตัวอักษรที่จองไว้ 
n เป็นจานวนตัวอักษรที่ต้องการแสดงผล 
variableเป็นค่าข้อมูลหรือตัวแปรที่ต้องการแสดงผล
ในกรณีแสดงค่าทศนิยม มีรูปแบบการแสดงผลดังนี้ 
printf(‚%,nf‛, variable); 
โดยที่n เป็นจานวนตัวอักษรที่ต้องการแสดงผล variable เป็นค่าข้อมูลหรือตัวแปรที่ต้องการแสดงผล
การรับข้อมูล 
•รับข้อมูลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง getch() และ getchar() 
•รับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคาสั่ง gets() 
•รับข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง scanf() 
การรับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ในภาษา C สามารถใช้ได้ หลากหลายคาสั่ง ไม่ว่าจะเป็นรับข้อมูลทีละตัวอักษร รับข้อมูลเป็นข้อความ หรือจะรับข้อมูลทีละหลาย ๆ ค่า ข้อมูลก็ได้
รับข้อมูลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง getch() และ getchar() คาสั่ง getch() และ getchar() เป็นคาสั่งรับข้อมูลทีละตัวอักษรจาก แป้นพิมพ์ ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ch= getch(); 
โดยที่ ch เป็นตัวแปรชนิดตัวอักขระสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 
ch= getchar(); 
โดยที่ ch เป็นตัวแปรชนิดตัวอักขระสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 
หมายเหตุ คาสั่งทั้งสองจะแตกต่างกันที่การแสดงผลทางจอภาพ โดยคาสั่ง getch() จะรับข้อมูลเก็บไว้ที่ตัวแปรทันทีเมื่อมีการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ แต่คาสั่ง getchar() เมื่อป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์โปรแกรมจะยังไม่รับข้อมูล เก็บไว้ที่ตัวแปรทันที แต่จะต้องมีการกดปุ่ม Enter ก่อน โปรแกรมจึงจะรับ ข้อมูลเก็บไว้ที่ตัวแปร
“ คาสั่ง gets() เป็นคาสั่งรับข้อมูลชนิดข้อความจากแป้นพิมพ์ ซึ่งมี รูปแบบการใช้งานดังนี้ 
โดยที่ str เป็นตัวแปรชนิดข้อความสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 
รับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคาสั่ง gets() 
gets(str);
รับข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง scanf() 
คาสั่ง scanf() เป็นคาสั่งรับข้อมูลได้ทุกชนิดทางแป้นพิมพ์ โดย กาหนดรูปแบบการรับข้อมูลที่ตัวคาสั่งด้วยรหัสรูปแบบการ แสดงผล ซึ่งมีรูปแบบคาสั่งดังนี้ 
scanf(‚format‛, &var_1, &var_2, ..., &var_n); 
โดยที่formatเป็นส่วนกาหนดชนิดของข้อมูลที่ต้องการรับจาก แป้นพิมพ์ var_nเป็นตัวแปรที่ต้องการใช้สาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งต้อง เป็นชนิดข้อมูลที่ตรงกันกับ format ที่กาหนดไว้
ตารางแสดงรหัสรูปแบบการรับข้อมูล 
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
%c 
อักษรหนึ่งตัว 
%d 
จานวนเต็มชนิด int 
%ld 
จานวนเต็มชนิด long 
%e 
จานวนจริงแบบเอ็กซ์โปเนนต์ 
%f 
จานวนทศนิยม 
%g 
จานวนทศนิยม 
%i 
จานวนเต็มชนิด int
ตารางแสดงรหัสรูปแบบการรับข้อมูล (ต่อ) 
รหัสรูปแบบ 
ชนิดข้อมูล 
%o 
เลขฐานแปด 
%s 
ข้อความ 
%u 
จานวนเต็มที่มีค่าบวก 
%x 
เลขฐานสิบหก
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย 
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
Komkai Pawuttanon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Komkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
Monberry NooNan
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
สมใจ สีดาจันทร์
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Naphamas
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Wittaya Kaewchat
 
C slide
C slideC slide
C slide
tawee1919
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Supicha Ploy
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
Micro4you
 

What's hot (19)

บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 

Similar to 3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล

การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
korn27122540
 
งาน
งานงาน
งาน
nineza3214
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเทวัญ ภูพานทอง
 
C lang
C langC lang
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
teedee111
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
Monberry NooNan
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1Little Tukta Lita
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
pongpakorn Suklertpong
 

Similar to 3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล (20)

การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
Work
WorkWork
Work
 
12
1212
12
 
งาน
งานงาน
งาน
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
 
C lang
C langC lang
C lang
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอการแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล

  • 2. หล่อ ลากไส้ จังเลย การแสดงผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูลสามารถทาได้ 3 รูปแบบดังนี้ •การแสดงผลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง putchar() •การแสดงผลเป็นข้อความด้วยคาสั่ง puts() •การแสดงผลข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง printf()
  • 3. คาสั่ง putchar () เป็นคาสั่งสาหรับแสดงอักขระทีละตัวออกทาง จอภาพ ซึ่งสามารถแสดงผลจากค่าตัวอักขระ หรือแสดงจาก ค่าตัวแปรก็ได้ โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ โดยที่ var เป็นตัวแปรชนิดอักขระ (char) หรือเป็นค่าอักขระ ภายในเครื่องหมาย ‘ ’ การแสดงผลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง putchar() putchar();
  • 4. คาสั่ง puts() เป็นคาสั่งสาหรับแสดงข้อความออกทาง จอภาพ ซึ่งสามารถแสดงผลจากค่าข้อความหรือแสดง จากค่าตัวแปรก็ได้ โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ โดยที่ var เป็นตัวแปรชนิดข้อความ หรือเป็นค่า ข้อความภายในเครื่องหมาย ‚ ‛ การแสดงผลเป็นข้อความด้วยคาสั่ง puts() puts();
  • 5. การแสดงผลข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง printf() คาสั่ง printf() เป็นคาสั่งสาหรับแสดงผลออกทางจอภาพ และ สามารถแสดงผลข้อมูลได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข และทศนิยม โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ printf(‚format‛, var_1, var_2, ..., var_n); โดยที่ format เป็นส่วนควบคุมการแสดงผลข้อความภายใน เครื่องหมาย ‚ ‛ ซึ่งรวมถึงการจัดรูปแบบการแสดงผลด้วย var เป็นตัวแปรที่ต้องการแสดงผล ซึ่งต้องเป็นชนิดข้อมูลที่ ตรงกันกับ format ที่กาหนดไว้
  • 6. การแสดงผลด้วยคาสั่ง printf() นั้นสามารถแสดงผลได้ทุกชนิดข้อมูล โดยใช้รหัสรูปแบบการแสดงผลแทนค่าตัวแปร นิพจน์ หรือค่าคงที่ชนิด ต่าง ๆ ในข้อความ ซึ่งมีรหัสรูปแบบการแสดงผลที่ควรรู้ ดังนี้ รหัสรูปแบบการแสดงผลข้อความด้วยคาสั่ง prinft() รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล %c ใช้กาหนดตาแหน่งที่จะแสดง อักขระ 1 ตัว (single character) %d ใช้กาหนดตาแหน่งแสดงเลขจานวนเต็ม (integerหรือ int) 1 จานวนในรูปเลขฐานสิบ %ld จานวนเต็มชนิด long
  • 7. รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล %e ใช้แสดงตัวเลขที่เป็นจุดทศนิยม (floating point ,float)ในรูป e เช่น 2.15e+2 คือแทนค่า215 %f จานวนทศนิยม %g จานวนทศนิยม %i จานวนเต็มชนิด int %o ใช้แสดง integer ในรูปเลขฐานแปด
  • 8. รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล %p พอยน์เตอร์ %s ข้อความ %u จานวนเต็มที่มีค่าบวก %x ใช้แสดง integer ในรูปเลขฐานสิบหก
  • 9. จัดรูปแบบการแสดงผลข้อมูล ในการแสดงผลการทางานของโปรแกรม เราต้องการจะแสดงอักขระพิเศษ ทางจอภาพ ซึ่งภาษา C ได้กาหนดรูปแบบการแสดงผลอักขระพิเศษต่าง ๆ ดังนี้ รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล b เลื่อนเคอร์เซอร์ถอยหลังไป 1 ตัวอักษร n ขึ้นบรรทัดใหม่ r เลื่อนเคอร์เซอร์ไปทางซ้ายสุด t แสดงแท็บตามแนวนอน ’ แสดงเครื่องหมาย ‘ ‛ แสดงเครื่องหมาย ‚ แสดงเครื่องหมาย
  • 10. การจัดพื้นที่แสดงผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูลที่เราต้องการนั้น อาจจะต้องการจัดรูปแบบ ข้อความให้ชิดซ้ายหรือชิดขวา หรือแม้แต่แสดงข้อความตามจานวน ตัวอักษร เช่น ต้องการแสดงทศนิยม 2 ตาแหน่ง, แสดงข้อความไม่เกิน 10 ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งมีรูปแบบในการแสดงผลข้อมูลชนิดข้อความ ดังนี้ printf(‚%m.ns‛, variable); โดยที่m เป็นจานวนพื้นที่ตัวอักษรที่จองไว้ n เป็นจานวนตัวอักษรที่ต้องการแสดงผล variableเป็นค่าข้อมูลหรือตัวแปรที่ต้องการแสดงผล
  • 11. ในกรณีแสดงค่าทศนิยม มีรูปแบบการแสดงผลดังนี้ printf(‚%,nf‛, variable); โดยที่n เป็นจานวนตัวอักษรที่ต้องการแสดงผล variable เป็นค่าข้อมูลหรือตัวแปรที่ต้องการแสดงผล
  • 12. การรับข้อมูล •รับข้อมูลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง getch() และ getchar() •รับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคาสั่ง gets() •รับข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง scanf() การรับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ในภาษา C สามารถใช้ได้ หลากหลายคาสั่ง ไม่ว่าจะเป็นรับข้อมูลทีละตัวอักษร รับข้อมูลเป็นข้อความ หรือจะรับข้อมูลทีละหลาย ๆ ค่า ข้อมูลก็ได้
  • 13. รับข้อมูลทีละตัวอักษรด้วยคาสั่ง getch() และ getchar() คาสั่ง getch() และ getchar() เป็นคาสั่งรับข้อมูลทีละตัวอักษรจาก แป้นพิมพ์ ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ch= getch(); โดยที่ ch เป็นตัวแปรชนิดตัวอักขระสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ ch= getchar(); โดยที่ ch เป็นตัวแปรชนิดตัวอักขระสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ หมายเหตุ คาสั่งทั้งสองจะแตกต่างกันที่การแสดงผลทางจอภาพ โดยคาสั่ง getch() จะรับข้อมูลเก็บไว้ที่ตัวแปรทันทีเมื่อมีการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ แต่คาสั่ง getchar() เมื่อป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์โปรแกรมจะยังไม่รับข้อมูล เก็บไว้ที่ตัวแปรทันที แต่จะต้องมีการกดปุ่ม Enter ก่อน โปรแกรมจึงจะรับ ข้อมูลเก็บไว้ที่ตัวแปร
  • 14. “ คาสั่ง gets() เป็นคาสั่งรับข้อมูลชนิดข้อความจากแป้นพิมพ์ ซึ่งมี รูปแบบการใช้งานดังนี้ โดยที่ str เป็นตัวแปรชนิดข้อความสาหรับรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ รับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคาสั่ง gets() gets(str);
  • 15. รับข้อมูลทุกชนิดด้วยคาสั่ง scanf() คาสั่ง scanf() เป็นคาสั่งรับข้อมูลได้ทุกชนิดทางแป้นพิมพ์ โดย กาหนดรูปแบบการรับข้อมูลที่ตัวคาสั่งด้วยรหัสรูปแบบการ แสดงผล ซึ่งมีรูปแบบคาสั่งดังนี้ scanf(‚format‛, &var_1, &var_2, ..., &var_n); โดยที่formatเป็นส่วนกาหนดชนิดของข้อมูลที่ต้องการรับจาก แป้นพิมพ์ var_nเป็นตัวแปรที่ต้องการใช้สาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งต้อง เป็นชนิดข้อมูลที่ตรงกันกับ format ที่กาหนดไว้
  • 16. ตารางแสดงรหัสรูปแบบการรับข้อมูล รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล %c อักษรหนึ่งตัว %d จานวนเต็มชนิด int %ld จานวนเต็มชนิด long %e จานวนจริงแบบเอ็กซ์โปเนนต์ %f จานวนทศนิยม %g จานวนทศนิยม %i จานวนเต็มชนิด int
  • 17. ตารางแสดงรหัสรูปแบบการรับข้อมูล (ต่อ) รหัสรูปแบบ ชนิดข้อมูล %o เลขฐานแปด %s ข้อความ %u จานวนเต็มที่มีค่าบวก %x เลขฐานสิบหก
  • 18. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER