SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศ
สมัยใหม่
1. ระบบบอกตาแหน่ง 6. มัลติทัช
3. เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย
2. อาร์เอฟไอดี
4. การประมวลผลภาพ
5. การแสดงภาพ 3 มิติ
1. ระบบบอกตาแหน่ง
จีพีเอส (Global Positioning System : GPS) เป็นอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ใช้บอกตาแหน่งบนพื้นโลกได้ ซึ่งจะทางาน
ร่วมกับดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลก ในระดับความสูงประมาณ 20,200
กิโลเมตร ทาให้สามารถบอกตาแหน่งได้ทุกแห่งบนโลก โดยความ
แม่นยาขึ้นอยู่กับจานวนดาวเทียมที่จีพีเอสทางานร่วมและสภาพอากาศ ใน
ปัจจุบันได้นาระบบนี้มาใช้งานด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น การหา
ตาแหน่งบนพื้นโลก การนามาสร้างเป็นระบบนาทาง (navigator
system) การใช้ติดตามบุคคลหรือติดตามยานพาหนะ นอกจากนี้ยัง
สามารถนามาใช้อ้างอิงเพื่อปรับตั้งเวลาให้ถูกต้อง โดยใช้เวลาจาก
ดาวเทียมทุกดวงซึ่งมีเวลาที่ตรงกัน
ตัวอย่างอุปกรณ์นาทางที่ใช้ระบบจีพีเอส
จีพีเอสนิยมใช้ในรถยนต์เพื่อเป็นระบบนาทาง โดยจะ
ทางานร่วมกันกับโปรแกรมแผนที่ที่บรรจุอยู่ในตัวเครื่อง
ปัจจุบันมีการนาระบบจีพีเอสไปติดตั้งในเครื่องพีดีเอ กล้อง
ดิจิทัล และโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่ออานวยความสะดวกในการ
ใช้งาน การใช้งานจีพีเอสเพื่อระบุตาแหน่งบนพื้นโลก
จาเป็นต้องติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย 3 ดวง ในกรณีที่
ต้องการทราบความสูงของตาแหน่งจากพื้นโลกด้วยจะต้อง
ติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง
2. อาร์เอฟไอดี
อาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification : RFID)
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการอ่านข้อมูล อาร์เอฟไอดีถูก
นาไปใช้ในงานต่าง ๆ เช่น ระบบป้องกันการขโมยสินค้าในร้าน
ระบบอ่านบัตรประจาตัวพนักงาน ระบบเก็บค่าผ่านทางต่าง ๆ
โครงสร้างของระบบประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วน คือ
- ทรานสปอนเดอร์ (transponder)
- เครื่องอ่าน (reader)
ทรานสปอนเดอร์ (transponder)
อุปกรณ์ตัวนี้มีลักษณะเป็นสลากหรือชิปติดอยู่
บนวัตถุที่ต้องการอ่านข้อมูล เช่น ตัวสินค้า
บัตรประจาตัว ผิวของหนังสัตว์ หรือฝังอยู่ใต้
ผิวหนัง บางครั้งเรียกทรานสปอนเดอร์ว่า
แท็ก (tag)
เครื่องอ่าน (reader)
เครื่องอ่านเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่อ่าน หรือทั้งอ่าน
และเขียนข้อมูลไปยังทรานสปอนเดอร์ โดยใช้คลื่นความถี่
วิทยุตามมาตรฐานอาร์เอฟไอดี ที่ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้งาน
เครื่องอ่านบางชนิดเชื่อมกับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการ
ประมวลผล เมื่อทรานสปอนเดอร์อยู่ในพื้นที่บริการของ
เครื่องอ่าน ทรานสปอนเดอร์จะอยู่ในสถานะทางาน แต่
ถ้าทรานสปอนเดอร์ไม่อยู่ในพื้นที่บริการจะไม่มีการทางานใด
ๆ เกิดขึ้น
ถ้าแบ่งทรานสปอนเดอร์ตามแหล่งจ่ายพลังงานจะแบ่งได้เป็น
2 กลุ่ม คือ แบบที่มีแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าภายใน และแบบที่
ไม่มีแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าแต่จะรับคลื่นวิทยุจากเครื่องอ่าน แล้ว
เหนี่ยวนาให้เกิดพลังงานไฟฟ้าขึ้นมาใช้งานเอง
ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้อาร์เอฟไอดีในหลายด้าน มีการ
ออกแบบทรานสปอนเดอร์ลักษณะต่าง ๆ ให้เหมาะกับการใช้งาน
ประโยชน์ของอาร์เอฟไอดี
1 สามารถอ่านทรานสปอนเดอร์พร้อมกันหลาย ๆ ชิ้นและใช้ได้รวดเร็ว
2 ทนทานต่อความเปียกชื้น
3 มีความปลอดภัยสูง ยากต่อการปลอมแปลงและเลียนแบบ
4 ป้องกันการอ่านข้อมูลซ้าของวัตถุชิ้นเดียวกัน
5 สามารถอ่านข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้องมองเห็นตัวทรานสปอนเดอร์
ตัวอย่างการใช้งานอาร์เอฟไอดี
3. เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย
ระบบสื่อสารมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องปัจจุบันมีเทคโนโลยีแบบไร้
สายที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ระบบจีเอสเอ็ม
(Global System for Mobile Communication : GSM ) การพัฒนา
โทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นพัฒนามาหลายรุ่น เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีตั้งแต่
ยุคที่2 (2G) จนถึงยุคที่3 (3G) โดยโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุค 2G เริ่มมีการ
บีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิทัล แต่การรับส่งข้อมูลนั้นยังไม่มี
ประสิทธิภาพมากนัก ต่อมาผู้ให้บริการมีการตอบสนองความต้องการด้านการ
รับส่งข้อมูลให้กับลูกค้า โดยพัฒนามาเป็นยุคของ2.5G มีการนาระบบจีพีอาร์
เอส (General Packet Radio service: GPRS) มาใช้ร่วมกับระบบจีเอส
เอ็ม ทาให้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ในระบบนี้สามารถรับส่งข้อมูลและเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตได้
ผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่นาเทคโนโลยีจีพีอาร์เอสมาใช้จะต้องมีการปรับการ
ทางานของเครือข่ายโดยการนาซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เพิ่มเข้าไปในระบบเพื่อแยก
เส้นทางที่ส่งเสียงข้อมูลเสียงพูดออกจากเส้นทางที่ใช้ส่งข้อมูล เทคโนโลยีจีพีอาร์
เอสนี้สามารถสื่อสารข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 171.2 กิโลบิตต่อวินาที
ต่อมาได้มีการปรับปรุงระบบจีพีอาร์เอสให้มีความเร็วในการสื่อสารสูงขึ้น
ถึง384 กิโลบิตต่อวินาที เทคโนโลยีนี้มีชื่อว่าเอจ (Enhanced Data Rates for
Global Evolution : EDGE ) ซึ่งจัดอยู่ในยุค 2.75G
ถ้าหากพิจารณาการนาเทคโนโลยีของโทรศัพท์เคลื่อนที่มาใช้ในการรับส่ง
ข้อมูลที่ไม่ใช่เสียงแล้ว เครือข่ายแบบจีพีอาร์เอสสามารถใช้บริการรับส่งไฟล์รูปภาพ
เสียงเพลง หรือไฟล์มัลติมิเดียต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
เทคโนโลยี 3G
แม้ว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 2.5G หรือ 2.75G จะ
สามารถตอบสนองการใช้งานมากกว่าการสื่อสารด้วยเสียงเพียงอย่าง
เดียว แต่มีข้อจากัดหลายประการเนื่องจากเป็นการนาเทคโนโลยีเก่ามา
ต่อยอดการทางานในระบบเดิม ทาให้ไม่มีผู้ให้บริการรายใดสามารถ
ให้บริการจีพีอาร์เอสที่อัตราเร็ว 171.2 กิโลบิตต่อวินาที หรือเอจที่
อัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาที ต่อมาได้มีการพัฒนามาถึงยุคที่3 ซึ่ง
เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถสื่อสารข้อมูลมัลติมีเดีย
ด้วยความเร็วสูง
สาหรับในระบบ 3G จะทางานในระบบ ซีดีเอ็มเอ (Code
Division Multiple Access: CDMA) อัตราเร็วในการรับส่งข้อมูล
(transmission rate) ไม่ต่ากว่า 2 เมกะบิตต่อวินาที ผู้ใช้สามารถใช้
งานมัลติมีเดียความเร็วสูงได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับชมวิดิทัศน์จาก
อินเทอร์เน็ต การสนทนาแบบเห็นภาพคู่สนทนา
เมื่อเทคโนโลยี 3G ทาให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่เร็ว
ขึ้นจึงมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย เช่น มีการให้บริการ
แบบมัลติมีเดียที่สามารถรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่ มีการประชุมทางไกล
ผ่านหน้าจอของโทรศัพท์เคลื่อนที่
เทคโนโลยี 4G
ในอนาคตเทคโนโลยี 3G อาจมีความเร็วและคุณภาพของการ
ส่งข้อมูลไม่เพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการของโปรแกรมประยุกต์ที่
ต้องทางานด้วยความเร็วสูง จึงมีการพัฒนาระบบ 4G ที่ทาให้ส่งข้อมูล
ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วที่สูงกว่า 3G มีการให้บริการที่มี
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยกาหนดอัตราในการส่ง
ข้อมูลไม่ต่ากว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที
คอมพิวเตอร์สามารถทางานเกี่ยวข้องกับภาพ (image)
หรือรูปภาพ (picture) ได้หลากหลายลักษณะ คอมพิวเตอร์
กราฟิกเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูลแล้วสร้างเป็น
ภาพขึ้นมา ส่วนการประมวลผลภาพ (image processing)
เป็นการนาภาพมาเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล แล้วใช้กรรมวิธีใด ๆ
มากระทากับข้อมูลภาพเพื่อให้ได้ภาพที่มีคุณสมบัติตามต้องการ
4. การประมวลผลภาพ
ตัวอย่างการนาการประมวลผลภาพไปใช้งาน
ระบบตรวจกระดาษคาตอบ โดยมีการเปรียบเทียบภาพ
กระดาษคาตอบที่ถูกต้องกับกระดาษคาตอบที่ตรวจว่าตาแหน่ง
ตรงกันหรือไม่ ถ้าตาแหน่งตรงกันก็จะได้คะแนน
ตัวอย่างการนาการประมวลผลภาพไปใช้งาน
ระบบตรวจจับใบหน้าในกล้องดิจิทัล โดยกล้องจะมี
ระบบตรวจว่าส่วนไหนของภาพมีลักษณะคล้ายใบหน้า แล้วกล้อง
ก็จะทาการโฟกัสตาแหน่งที่ตรวจจับเพื่อภาพมีความคมชัดมากขึ้น
เช่น ระยะห่างระหว่างคิ้ว มุมปาก จมูก โหนกแก้ม โครงหน้า
ตัวอย่างการนาการประมวลผลภาพไปใช้งาน
ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อรักษาความปลอดภัย โดย
กล้องจะเปรียบเทียบภาพก่อนหน้าและภาพปัจจุบัน ถ้ามีส่วนใด
เปลี่ยนแปลงระบบจะบันทึกเฉพาะภาพที่มีการเปลี่ยนแปลงทาให้ประหยัด
เนื้อที่ในการเก็บภาพและสามารถตรวจสอบได้ในภายหลัง
ตัวอย่างการนาการประมวลผลภาพไปใช้งาน
ระบบอ่านบาร์โค้ด โดยระบบนี้จะอ่านรหัสจากบาร์โค้ด
แล้วแปลงเป็นข้อมูลซึ่งสามารถนาไปใช้งานได้ เช่น QR code,
Microsoft tag
ภาพที่นามาประมวลผลนั้นเป็นได้ทั้งภาพนิ่งและ
ภาพเคลื่อนไหว ในการนาภาพนิ่งเข้ามาประมวลผลนั้น โปรแกรมจะ
อ่านไฟล์ภาพขึ้นมาแล้วถอดรหัสจากค่าสีของภาพแต่ระจุดเป็นตัวเลข
เพื่อนามาประมวลผลสาหรับการประมวลผลภาพเคลื่อนไหวนั้น
โปรแกรมจะมองเป็นภาพนิ่งหลายภาพที่เรียงต่อกันนั้นเอง
5 การแสดงภาพ 3 มิติ
ภาพ 3 มิติ เป็นวิธีแสดงภาพให้ผู้ชมมองเห็นภาพมีมิติในแนว
กว้าง แนวยาว และแนวลึก ปัจจุบันมีการนาเอาเทคนิคการแสดง
ภาพ 3 มิติไปใช้ในการผลิตภาพยนตร์ต่าง ๆ เพื่อให้มีมิติมากขึ้น จะ
เห็นตัวอย่างภาพยนตร์ที่ฉายในโรงภาพยนตร์หรืออยู่ในรูปแบบวีซีดี
เทคนิคการแสดงภาพ 3 มิติ เป็นการนาภาพ 2 มิติ มา
แสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทาให้ตาข้างซ้ายและข้างขวา
มองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกันส่งผลให้สมอง
ตีความเป็นภาพที่มีความลึก
ตัวอย่างเทคนิคการแสดงภาพ 3 มิติ
1. การแสดงภาพแบบแอนากลิฟ
2. การแสดงภาพแบบโพลาไรซ์ 3 มิติ
3. การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์
4. การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย
1. การแสดงภาพแบบแอนากลิฟ
การแสดงภาพแอนากลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพ
สาหรับตาซ้ายและตาขวาที่มีโทนสีแตกต่างกันลงบนฉากรับ
ภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะใช้เป็นสีแดงและน้าเงิน การ
มองด้วยตาเปล่าจะทาให้เห็นเป็นภาพซ้อนและเหลื่อมกันเล็กน้อย การมองภาพ
ให้เป็นภาพ3มิติ จึงต้องใช้แว่นที่มีแผ่นกรองแสงด้านหน้ามีข้างหนึ่งเป็นสีแดง
และอีกข้างหนึ่งเป็นสีน้าเงิน แว่นนี้ทาหน้าที่ตัดสีที่ตรงกับสีของแว่นออกไป
โดยที่แว่นตาข้างที่มีสีแดงจะตัดภาพสีแดงออกไป ทาให้เห็นแต่ภาพที่มีแต่สีน้า
เงินส่วนแว่นตาข้างที่เป็นสีน้าเงินจะตัดภาพส่วนที่เป็นสีน้าเงินออกไปทาให้เห็น
แต่ภาพที่เป็นสีแดงซึ่งจะทาให้ตาทั้งสองข้างมองเห็นภาพในมุมมองที่แตกต่างกัน
ออกไป และสมองจะตีความให้เสมือนว่ามองเห็นภาพเห็นภาพเป็น 3 มิติ
2. การแสดงภาพแบบโพลาไรซ์ 3 มิติ
การแสดงภาพแบบโพลาไรซ์ 3 มิติ (polarized 3-D) มี
การทางานที่คล้ายกับแอนากลิฟ โดยการฉายภาพลงที่ฉากรับภาพ
เดียวกัน และมีมุมมองของภาพที่แตกต่างกัน แต่เปลี่ยนจากการใช้
สีเป็นตัวตัดภาพไปใช้วิธีการวางตัวของช่องมองภาพแต่ละภาพที่ฉาย
ซ้อนกันแทน เช่น แว่นตาข้างซ้ายจะมองเห็นภาพผ่านช่องใน
แนวตั้ง ส่วนแว่นข้างขวาจะมองเห็นภาพผ่านช่องในแนวนอน ทาให้
ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพไม่เหมือนกัน เมื่อสมองรวมภาพจากตาซ้าย
และตาขวาจะมองเห็นภาพเป็น 3 มิติ แว่นตาที่ใช้เป็นแว่นตา
โพลาไรซ์สาหรับมองภาพโพลาไรซ์โดยเฉพาะ ซึ่งจะทาให้ภาพมี
สีสันสมจริงมากกว่าแบบแอนะกลิฟเทคนิคนี้นิยมใช้ในภาพยนตร์
3 มิติ
3. การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์
การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter) จะต้องอาศัย
การฉายภาพที่มีความถี่ในการแสดงภาพอย่างน้อย 120 เฮิรตซ์ เนื่องจาก
จะต้องแสดงภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาสลับกัน ดังนั้นการแสดงภาพจะเป็น
ลาดับซ้าย-ขวา สลับไปจนครบ 120 ภาพ ใน 1 วินาที ตาข้างซ้ายและข้าง
ขวาจึงเห็นข้างละ 60 ภาพ ใน 1 วินาทีซึ่งเป็นความถี่ขั้นต่าที่ทาให้ไม่รู้สึกว่า
ภาพสั่น
การฉายภาพลักษณะนี้จะต้องใช้แว่นตาแอ็กทิฟชัตเตอร์ มาช่วยในการ
มองภาพโดยแว่นตาจะสื่อสารกับเครื่องฉายว่าจะบังตาข้างไหนในขณะฉายภาพ
เช่น ภาพสาหรับตาซ้าย เครื่องฉายจะส่งสัญญาณให้แว่นบังตาข้างขวา หรือ
ถ้าเครื่องฉายแสดงภาพที่ต้องใช้ตาขวาดู เครื่องฉายก็จะส่งสัญญาณให้แว่น
บังตาข้างซ้าย
4. การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย
การแสดงภาพ 3 มิติก่อนหน้านี้จาเป็นจะต้องใช้แว่นตาใน
การมองเห็นเป็นภาพ 3 มิติ แต่การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์
เรีย (parallax barrier) จะไม่ใช้แว่นตา ซึ่งโดยวิธีนี้จะแบ่งภาพที่มี
มุมกล้องต่างกัน ออกเป็นแท่งแล้วนาไปวางสลับกันโดยมีชั้นกรอง
พิเศษที่เรียกว่า พาราแลกซ์บาร์เรีย ในการแบ่งภาพให้ตาแต่ละข้าง
ที่มองผ่านชั้นกรองนี้เห็นภาพที่แตกต่างกัน แล้วสมองจะรวมภาพ
จากตาซ้ายและตาขวาที่มีมุมมองต่างกันนี้ให้เป็นภาพเดียว ทาให้เรา
มองเห็นเป็นภาพ 3 มิติ ได้ด้วยตาเปล่า
6. มัลติทัช
ในการติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะใช้คีย์บอร์ด
เมาส์ และแป้นสัมผัสเป็นอุปกรณ์รับข้อมูล นอกจากนั้นยังมีอุปกรณ์ที่
ออกแบบพิเศษที่ติดเข้ากับจอภาพหรือจอภาพชนิดพิเศษที่สามารถรับ
ข้อมูลโดยใช้นิ้วสัมผัสที่จอภาพโดยตรงเรียกว่า จอสัมผัส (touch
screen) ทาให้การใช้งานมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้โดยตรง ตัวอย่างเช่น จอ
สัมผัสตู้เอทีเอ็ม จอสัมผัสแสดงข้อมูลร้านค้าในห้างสรรพสินค้า จอ
สัมผัสเครื่องจีพีเอส จอสัมผัสเครื่องพีดีเอ จอสัมผัสสมาร์ทโฟน จอ
สัมผัสเหล่านี้สั่งการโดยใช้สไตลัส (stylus) หรือ นิ้วสัมผัสบนจอ การ
สั่งการที่สัมผัสจอภาพทีละจุด เรียกว่า ซิงเกิลทัช (single tonch)
ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่สามารถรองรับคาสั่งผ่าน
หน้าจอสัมผัสได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกว่า มัลติทัช (multi
touch)เทคโนโลยีนี้ทาให้การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ พีดีเอ และสมาร์ทโฟนแตกต่างกันออกไปแทนที่
จะให้อุปกรณ์นั้นรับรู้การเลือกเพียงจุดเดียวในเวลาหนึ่ง ก็ทา
ให้อุปกรณ์รับรู้สิ่งที่สิ่งที่เกิดขึ้นจากการเลือกหลายจุดพร้อมกัน
ในเวลาเดียวกัน การรับรู้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจาก
รูปแบบการเคลื่อนไหวของนิ้วมือลายนิ้วของผู้ใช้สัมผัสไปที่
จอภาพโดยตรงหรือในเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ผู้ใช้สามารถ
สัมผัสที่แผงแป้นสัมผัสหรือที่เรียกว่าทัชแพด (touchpad) เพื่อ
เลือกเลื่อนหรือขยายวัตที่แสดงผลอยู่
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีการนาเทคโนโลยีมัลติทัชมาใช้ เช่น
โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์แสดงภาพกล้องดิจิทัล แท็บเล็ต จอภาพ
คอมพิวเตอร์ การใช้งานเทคโนโลยีมัลติทัชจาเป็นต้องอาศัยการออกแบบ
โปรแกรมให้เหมาะสมกับรูปแบบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วย อาจแยกได้
เป็นสองลักษณะ คือ จุดที่เกิดเหตุการณ์และทิศทางการเคลื่อนไหวของ
จุดที่เกิดเหตุการณ์ เช่น จุดที่วางนิ้ว การเลื่อนนิ้วไปทางทิศเดียวกัน
จากซ้ายไปขวาการเลื่อนนิ้วไปคนละทิศห่างออกจากกันหรือเข้าหากัน
รูปแบบเหตุการณ์อาจจะมีตั้งแต่1จุด ที่ใช้นิ้วเดียวในการทางานจนกระทั่ง
หลายจุดที่ใช้หลายนิ้วในการทางาน
โปรแกรมที่ใช้งานแบบมัลติทัชจาเป็นต้องอาศัยฮาร์ดแวร์ที่
รองรับการทางานแบบ มัลติทัชด้วย เช่น จอแสดงภาพแบบมัล
ติทัชแป้นสัมผัสแบบมัลติทัช
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่Mengree BK
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารthaweesaph baikwang
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5sawitri555
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856Nisachon Siwongssa
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์prakasit srisaard
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 

Similar to บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3jeabjeabloei
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chaiya5329
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 

Similar to บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
3 g technology
3 g technology3 g technology
3 g technology
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 

บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก