SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
วัตถุประสงค์
1. อธิบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2. อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
3. เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
4. อธิบายขั้นตอนและวิธีการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตประจาวันใน
ด้านต่าง ๆ มากมายคอมพิวเตอร์ได้นาไปใช้ในอุปกรณ์เครื่องใช้ใน
บ้านเรือน เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้นนอกจากนี้ ที่พบ
เห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เช่น พิมพ์จดหมาย
รายงานเอกสารต่าง ๆ โดยสรุปคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตใน
ด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. การศึกษา มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูลข่าวสารความรู้ประกอบการเรียน
การสอนจากอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรือเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา
ใช้คอมพิวเตอร์สอนภาษา เป็นต้น
2. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจน
โรงงานต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคาและติดต่อกับ
หน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม
ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบ
ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมี
คุณภาพดีขึ้น หรืองานธนาคารที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงิน
อัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์ คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงินและการ
โอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนา
คอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษา
โมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองาน
ทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะ
ให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็ว
ขึ้น
หล่อ
ลากไส้
จังเลย
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ
เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดย
คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง
รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ
เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มาก
ที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ
หน่วยงานนั้น ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุม
ทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้
จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่าง ๆ
ประวัติคอมพิวเตอร์
ปี พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาลส์ แบบเบจ
(Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องผลต่าง (Difference Engine) ที่มี
ฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์
ชาลส์ แบบเบจ “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”
ต่อมาในปี พ.ศ. 2376 ได้ออกแบบเครื่องวิเคราะห์
(Analytical Engine) ซึ่งมีหลักการทางานคล้ายคอมพิวเตอร์
ทั่วไปในปัจจุบัน การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลัง
เครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู
คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจาก่อน
จะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ
เครื่องผลต่าง (difference engine) เครื่องวิเคราะห์ (analytical engine)
จากแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างเครื่องผลต่างและออกแบบ
เครื่องวิเคราะห์ นับเป็นประโยชน์ต่อวงการคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา
เป็นอย่างมาก ชาลส์ แบบเบจ จึงได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่ง
คอมพิวเตอร์”
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันMaliwan Boonyen
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1Jintana Pandoung
 
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีKunnawut Rueangsom
 
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัดDuangnapa Inyayot
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sudarat Houiluek
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Tomang Tangmo
 
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่า
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่าคอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่า
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่าSruangkamon Sumpradit
 
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์jeabspk
 

What's hot (14)

คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
 
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
 
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่า
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่าคอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่า
คอมพิวเตอร์ ม.4 ฮิอ่า
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Os01
Os01Os01
Os01
 

Similar to 3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8Piyaboot Rojjanateerawat
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8chutimajang
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ApisitIce
 
ใบงานที่สอง
ใบงานที่สองใบงานที่สอง
ใบงานที่สองThanthup Zied
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8 Peeranut Poungsawud
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunchai Chaipunya
 
2 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp022 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp02James Kung
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Warong Hamkamhak
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Warong Hamkamhak
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 

Similar to 3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ (20)

ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
ใบงานที่สอง
ใบงานที่สองใบงานที่สอง
ใบงานที่สอง
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
 
2
22
2
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
2 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp022 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp02
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
Gor2
Gor2Gor2
Gor2
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 

3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 3. เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 4. อธิบายขั้นตอนและวิธีการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 3. ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตประจาวันใน ด้านต่าง ๆ มากมายคอมพิวเตอร์ได้นาไปใช้ในอุปกรณ์เครื่องใช้ใน บ้านเรือน เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้นนอกจากนี้ ที่พบ เห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่าง ๆ โดยสรุปคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตใน ด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. การศึกษา มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูลข่าวสารความรู้ประกอบการเรียน การสอนจากอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรือเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา ใช้คอมพิวเตอร์สอนภาษา เป็นต้น
  • 4. 2. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจน โรงงานต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคาและติดต่อกับ หน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบ ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมี คุณภาพดีขึ้น หรืองานธนาคารที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงิน อัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์ คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงินและการ โอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
  • 5. 3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนา คอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษา โมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองาน ทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะ ให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็ว ขึ้น หล่อ ลากไส้ จังเลย
  • 6. 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดย คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มาก ที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ หน่วยงานนั้น ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุม ทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่าง ๆ
  • 7. ประวัติคอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องผลต่าง (Difference Engine) ที่มี ฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ ชาลส์ แบบเบจ “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”
  • 8. ต่อมาในปี พ.ศ. 2376 ได้ออกแบบเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) ซึ่งมีหลักการทางานคล้ายคอมพิวเตอร์ ทั่วไปในปัจจุบัน การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลัง เครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจาก่อน จะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ
  • 9. เครื่องผลต่าง (difference engine) เครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) จากแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างเครื่องผลต่างและออกแบบ เครื่องวิเคราะห์ นับเป็นประโยชน์ต่อวงการคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา เป็นอย่างมาก ชาลส์ แบบเบจ จึงได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่ง คอมพิวเตอร์”
  • 10. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER