SlideShare a Scribd company logo
การจัดการเอกสารสํานักงาน
                                                                        สุมาลี ทองดี*
**********************************************************************************

         ในแตละวันจะเห็นไดว าในแตละหนวยงานจะตองประสบกั บปญหาการจัดการกับเอกสาร
สํานักงานกองโต ซึ่งถาขาดการจัดระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดีและมีประสิทธิภาพแลว ยอมสงผลตอ
ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะถาระบบการจัดการเอกสารสํานักงานไมมี
ระบบที่ดีแลว ในการคนหาเอกสารเราอาจะตองเสียเวลาเปนชั่วโมงก็ได ซึ่งจะทําใหเสียเวลาในการ
ปฏิบัติงานเปนอยางมาก โดยเฉพาะในปจจุบันการทํางานที่ตองแขงขันกับเวลา ถามัวเสียเวลากับ
การคนหาเอกสารอาจทําใหหนวยงานเสียหายและเสียโอกาสได
         ดังนั้น เพื่อประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยงาน เราจึงควรมาเรียนรูระบบการจัดการ
เอกสารสํานักงานเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเอกสารสํานักงานเพื่อลดปญหาเอกสารสูญหาย หาเอกสาร
ไมพบ ปริมาณเอกสารลนโตะทํางาน ฯลฯ ซึ่งถือวาเปนปญหาอยางมากซึ่งหลายหนวยงานกําลัง
ประสบปญหาดังกลาว

ความหมายของเอกสารและการจัดเก็บเอกสาร
         เอกสาร (Document) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 เอกสาร หมายถึง
“ หนังสือที่เปนหลักฐาน กระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งไดทําใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง
หรือแผนแบบอยางอื่น จะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอื่น อันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้น”
         เอกสาร (Document) ไดแก จดหมายโตตอบ ฟอรมตาง ๆ หนังสือ รายงาน แผนภูมิตาง ๆ
ใบรั บ รองคุ ณ วุ ฒิ สั ญ ญา ภาพถ า ย แคตตาล็ อ ค คู มื อ หรื อ เอกสารอื่ น ใด ซึ่ ง ทํ า ขึ้ น หรื อ ใช โ ดย
หน ว ยงาน ในการดํ า เนิ น งานและมี ค า ทางกฎหมาย ทางสั ญ ญาทางการคลั ง การเงิ น หรื อ ทาง
ประวัติศาสตร
         การเก็บเอกสาร (Filing) คือ กระบวนการจัดและเก็บเอกสารใหเปนระเบียบ เพื่อใหงายตอการ
คนหาไดงายในทันทีที่ตองการ สะดวกรวดเร็วทันเวลา กระบวนการจัดเก็บประกอบดวยการจําแนก
จัดเรียง รักษา คนหาและนํามาใชประโยชน มีระเบียบแบบแผน เปนระบบ (System) มีแหลงเก็บที่
งาย และปลอดภัย ชวยใหการปฏิ บัติงานประจําวันของแตละหน วยงานเปนไปดวยความเรีย บรอย
ประหยัดเวลาและคาใชจาย การเก็บเอกสารเปนวิธีการแบงประเภท (Classifying) การจัด (Arranging)
และการเก็บ (Keeping) เพื่อรวบรวมใหเอกสารอยูในแหลงเดียวกัน อยูในแหลงที่ปลอดภัยและสามารถ
คนหาเอกสารไดทันทีที่ตองการ



* เจาหนาที่บริหารงานทั่วไปภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ
2

ความสําคัญของเอกสาร
         1. เอกสาร เปนเสมือนบันทึกความทรงจําของหนวยงาน
         2. เอกสาร เปนเครื่องมือที่ใชอางอิง ในเมื่อเกิดการฟองรองกันขึ้น อันเปนสิ่งที่ยอมรับตาม
กฎหมาย
         3. เอกสาร เปนเครื่องชวยใหการบริหารงานของกิจการ ทําไปไดสะดวก มีระบบ ระเบียบ
เขาใจไดงายขึน โดยเฉพาะในดานการวางแผน และควบคุมงาน
               ้
         4. เอกสาร จะเปนสิ่งที่มีคุณคาอยางยิ่ง ในการใชศกษาคนควา เพื่อปรับปรุงงานในอนาคต
                                                            ึ
หรือมีคุณคาในทางประวัตศาสตร
                          ิ
         5. เอกสาร เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร ระหวางผูบงคับบัญชา และผูใตบังคับบัญชา
                                                                   ั
และระหวางหนวยงานตาง ๆ ตลอดจน การติดตอกับลูกคา และบุคคลภายนอกกิจการอีกดวย
         ฉะนั้ นเอกสารจึ งเปรียบเสมื อนหนว ยความจํ าของหนว ยงาน ช วยทํางานคลองตัวและเปน
เครื่องมือในการติดตอระหวางหนวยงาน ซึ่งในปจจุบันเราใชเครื่องมืออิเล็กทรอนิคสมาพัฒนาให
เหมาะสมกับงานทําใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน การจัดเก็บเอกสารดวยเครื่องจัดเก็บและการคาหา
เอกสารอิเล็กทรอนิคส การใชโปรแกรมการจัดการเอกสารดวยคอมพิวเตอร เปนตน

วัตถุประสงคของการจัดเก็บเอกสาร
         ปจจุบันมีการจัดทําระบบการจัดเก็บอกสารใหเหมาะสมกับความตองการขององคกร ไมวาจะ
เปนการเก็บเอกสารที่มาจากภายนอก สําเนาเอกสารที่ผลิตขึ้นมาเอง หรือเอกสารอื่น ๆ ซึ่งแตละอยางมี
วิธีการเก็บที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นเอกสารทั้งหมดที่จะเก็บไวจะตองไดรับการปฏิบัติใหถูกตองใน
เรื่องของการจัดการ การคนหา การยืมเอกสารรวมทั้งการสงคืนใหถูกตอง ทําใหเกิดความคลองตัวใน
การปฏิบัติงาน ขจัดปญหาที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเปนอุปสรรคตอการดําเนินงาน ฉะนั้นไมวาจะเก็บเอกสาร
ดวยระบบใดก็ตามจะตองมีวัตถุประสงคของการจัดเก็บ ดังนี้
         1. เพื่อความสะดวกในการคนหา เอกสารเปรียบเสมือนหนวยบันทึกความจําของหนวยงาน
เอกสารใช เ ป น สิ่ ง อ า งอิ ง เป น หลั ก ฐานในการต อ สู ค ดี ค วาม การฟ อ งร อ งในศาล ซึ่ ง ถ า ผู ใ ดมี
พยานหลักฐานที่ดีก็อาจจะชนะคดีความนั้นได ดังนั้นจึงตองเก็บเอกสารใหมีสภาพดีใชไดตลอดเวลา
สามารถคนหาไดในทันทีที่ตองการเพราะการเก็บเอกสารตองการความรวดเร็ว ตอเนื่องทันตอเหตุการณ
สํานักงานจึงจําเปนตองมีระบบการเก็บเอกสารที่สามารถคนหาไดทันทีเมื่อตองการใชงาน
         2. เปนแหลงรวมความจําตาง ๆ สํานักงานจําเปนตองแยกการจัดเก็บเอกสารออกเปนหนวย
หนึ่ง เพื่อทําหนาที่เปนสมองของหนวยงานนั้น ๆ ใชทบทวนความจํา ใชวางแผนแกปญหา หรือ
ตัดสินใจ ใชพิจารณาความดีความชอบของบุคลากร ใชปรับปรุงงานเอกสาร จึงเปนบันทึกความจําของ
หน ว ยงาน สิ่ งที่ ถื อ ปฏิ บัติ ห รื อ เคยดํา เนิน การเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง ในอดี ต อาจใช เ ป น บรรทั ด ฐานการ
ปฏิบัติงานในปจจุบันได ฉะนั้นการจัดเก็บเอกสารจะตองปฏิบัติตอเนื่องสม่ําเสมอประจําทุกวัน
3

         3. เพื่ อใหมี แหลงเก็ บเอกสารที่ปลอดภัยและถาวร ไมเ กิดการชํารุ ดหรือสูญหาย สําหรับ
เอกสารที่เกี่ยวกับขอเท็จจริง รายการดําเนินงานที่อยูในระยะที่ยังมีความตองการเอกสารนั้นอยู ควรมี
การจัดเก็บเอกสารใหครบถวน ไมชํารุดและสูญหาย หากเอกสารที่ตองการจะใชในภายหลังไดจัดเก็บ
ไวไมครบถวนหรือสูญหายยอมสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานอยางแนนอน เพราะเอกสารตาง ๆ มี
ความสําคัญตอการดําเนินงานเปนอยางมาก หากไมมีระบบจัดเก็บเอกสารที่ดีอาจจะกระจัดกระจายและ
สูญหายได ทําใหเกิดอุปสรรคในการดําเนินงาน
         4. เพื่อรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของสัมพันธกันไวในแหลงเดียวกัน การจัดเก็บเอกสารนอกจาก
จะตองมีระบบการจัดเก็บและคนหาที่เปนมาตรฐาน เพื่อใหถูกตองเปนระเบียบแลว การเก็บเอกสาร
จําเปนอยางยิ่งที่จะตองรวบรวมเก็บไวเปนแหลงเดียวกัน เพราะถาแตละหนวยงาน เปนผูเก็บเอกสาร
ของตนเอง หากหนว ยงานอื่น ตองการเอกสารเพื่อนําไปใชก็จะไมสะดวกเทาที่ควร ฉะนั้นจึ งควร
รวบรวมเอกสารใหเปนหมวดหมู และจัดเก็บรวบรวมไวเปนแหลงเดียวกัน
         5. ทําใหมีมาตรฐานเดียวกันในการจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บเอกสารแทบทุกหนวยงานมักจะ
เปนระบบเฉพาะตัว เมื่อเจาหนาที่ผูรบผิดชอบไมอยูหรือไมมาปฏิบัติงานก็จะไมสามารถคนหาเอกสาร
ที่ตองการได หรืออาจตองใชเวลานาน ขาดประสิทธิภาพ ระบบจัดเก็บเอกสารที่ดีตองมีการกําหนด
หลักในการปฏิบัติไวอยางแนนอนตายตัว เพื่อพนักงานทุกคนมีความเขาใจในเรื่องการจัดเก็บกําหนด
หลักในการปฏิบัติไวอยางแนนอนตายตัว เพื่อใหพนักงานทุกคนมีความเขาใจในเรื่องการจัดเก็บการ
คนหาและการยืมเอกสาร รวมทั้งการสงคืนไดถูกตอง ตามขั้นตอนที่วางไว และนอกจากมาตรฐานใน
การปฏิบัติงานแลว ควรกําหนดมาตรฐานเปนเครื่องมือเครื่องใช ิวิธีการทํางาน และมีคูมือที่ใชในการ
ปฏิบัติงานดวย
         6. เพื่อความเรียบรอยและสะอาดตา การจัดเก็บเอกสารจะมีความครบถวนสมบูรณไดจะตองมี
ความเปนระเบียบเรียบรอยและสวยงาม มีระบบที่ไมซับซอน คนหาไดงาย รวดเร็ว มีลักษณะยืดหยุน
ได เพื่อขยายงานเอกสารในอนาคตและสรางภาพพจนที่ดีแกผูใชบริหาร

ประเภทของเอกสาร
         เอกสารประเภทตางๆ โดยทัวไปอาจจะจําแนกไดเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ
                                   ่
                1) เอกสารที่ยงอยูในระหวางปฏิบัติงาน หมายถึง เอกสารโตตอบที่ยังปฏิบัติไม
                             ั
เสร็จรวมทั้งเอกสารที่โตตอบเสร็จแลว แตยังมีความจําเปนที่จะตองใชในการอางอิงอยูบอยๆ
                2) เอกสารที่ไดมีการโตตอบเสร็จแลว แตยงมีความจําเปนที่จะตองใชในการ
                                                           ั
อางอิงโตตอบเอกสารอยูในบางครั้ง
                3) เอกสารซึ่งมีความสําคัญ หมายถึง เอกสารบางอยางที่มีทางประวัติศาสตร ทาง
กฎหมาย วรรณคดี หรือเกี่ยวกับหลักฐานการเงิน
4

               4) เอกสารซึ่งสมควรทําลาย หมายถึง เอกสารซึ่งไมมีคาในการใชอางอิงอีกตอไป หรือ
                                                                
เอกสารซึ่งพนระยะเวลาที่ควรเก็บอีกตอไป
       นอกเหนือไปจากนี้เราอาจจําแนกเอกสารออกเปนประเภทใหญๆ ไดอีกอยาง คือ เอกสารทั่วไป
และเอกสารลับ การจําแนกเอกสารออกเปนประเภทตางๆ ดังกลาวขางตนจะมีความสัมพันธอยางใกลชิด
กับการควบคุมในการจัดเก็บเอกสาร

ระบบมาตรฐานในการจัดเก็บเอกสาร
         การจัดเก็บเอกสารไวในแฟมเราอาจจัดเก็บโดยระบบการจําแนกเอกสารระบบใดระบบหนึ่งดังนี้
                    1) จําแนกตามหัวขอเรื่อง คือ กรณีที่เราจําแนกเอกสารออกเปนหัวขอใหญๆ ตามหนาที่
ความรับผิดชอบของหนวยงานนั้นๆ หรือจําแนกตามบริการที่ใหแกผูอื่น เอกสารโดยทั่วไปจะมีหัวขอ
ใหญๆ 10 หมวด ดังนี้ คือ
                            1. การเงิน งบประมาณ
                            2. คําสั่ง ระเบียบ คูมือ มติ ครม.
                            3. โตตอบ
                            4. บริหารทั่วไป
                            5. บริหารบุคคล
                            6. เบ็ดเตล็ด
                            7. ประชุม
                            8. ฝกอบรม บรรยาย ทุน และการดูงาน
                            9. ที่ดินและสิงกอสราง
                                           ่
                           10. สถิติและรายงาน
         เพื่อใหผูอานสามารถเขาใจและปฏิบัติในการจําแนกเอกสารโดยถูกตอง จึงจะขอใหคําอธิบายใน
การคัดเลือกเอกสารใหเปนหมวดหมูตามหัวขอ 10 หมวด พอสังเขป ดังนี้
                                        
                    หมวดที่ 1 การเงินงบประมาณ
                    ในหมวดนี้ กําหนดใหจดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งอาจแยกหัวขอไดดังนี้
                                               ั
งบประมาณ เงินเดือน คาจาง เงินสะสม เงินยืม เงินชวยเหลือตางๆ เชน คาเลาเรียนบุตร คารักษาพยาบาล
เงินคาใชสอย เชน คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท เงินคาตอบแทน เชน คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท เงินคา
บําเหน็จบํานาญ เงินอุดหนุน ฯลฯ เปนตน
                    หมวดที่ 2 คําสั่ง ระเบียบ คูมือ มติ ครม.
                                                 
                    กําหนดใหจัดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับคําสั่งของฝายและกอง คําสั่งของหัวหนา
หนวยงาน คําสั่งทั่วไป ระเบียบ ประกาศตางๆ กฎหมาย กฎกระทรวง พระราชบัญญัติ คูมือและมติตางๆ
5

                   หมวดที่ 3 โตตอบ
                   เรื่องโตตอบทั่วไป ใหพยายามจัดไวในหมวดเอกสารที่เรื่องนั้นเกียวของอยู เชน เรือง
                                                                                  ่                  ่
โตตอบเกี่ยวกับการเงินก็จัดหมูไวในหมวด “การเงิน งบประมาณ” หรือถาเปนเรื่องโตตอบเกี่ยวการ
แตงตั้งโอนยายบุคคล ก็จัดหมูไวในหมวด “บริหารงานบุคคล”
                   ฉะนั้น แฟมเอกสารที่จะจัดหมูไวในหมวด “โตตอบ” นี้ ก็ไดแกเอกสารโตตอบที่บริจาค
ที่การขอการรวมมือจากหนวยงานตางๆ การขอชมกิจการ เปนตน
                   หมวดที่ 4 บริหารทั่วไป
                   กําหนดใหจัดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับการแบงสวนราชการ หนาที่ความรับผิดชอบและ
เรื่อง หรือคําสั่งซึ่งมีลักษณะเปนการบริหารงาน การมอบอํานาจหนาที่ใหทําหนาทีแทนหรือการ่
รักษาการในตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง
                   หมวดที่ 5 บริหารบุคคล
                   ในหัวขอนี้กําหนดใหจดเก็บเอกสารประเภททะเบียนราชประวัติ การพิจารณาความดี
                                          ั
ความชอบ การบรรจุแตงตั้ง การโอน การยาย การลาออก วินย การขอยืมตัวขาราชการ การสอบเลื่อนขั้น
                                                              ั
การกําหนดตําแหนงใหม ฯลฯ
                   หมวดที่ 6 เบ็ดเตล็ด
                   กําหนดใหจัดเก็บเอกสารประเภทซึ่งไมสามารถจัดเขาหมวดใดหมวดหนึ่งที่ตั้งไวเปน
เรื่องพิเศษ และปริมาณเอกสารยังไมมากพอที่จะตั้งขึ้นเปนหมวดเอกสารใหมก็ได ก็ใหจัดเขาในหมวด
เบ็ดเตล็ดนี้ อยางไรก็ตาม ไมควรจัดเก็บแฟมไวในหมวดนี้มากนัก หากมีเอกสารมากพอควรก็ใหตั้ง
หมวดใหมเพือความสะดวกในการคนหา
               ่
                   หมวดที่ 7 ประชุม
                   ในหมวดนี้ กําหนดใหจดเก็บเรื่องราวเกียวกับการประชุมทั่วๆ ไป แตถาเปนการประชุม
                                            ั             ่
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งในหัวขอที่กาหนดไว ก็ใหนํามารวมไวในหัวขอนั้นๆ เชน การประชุมเกี่ยวกับ
                                        ํ
การพิจารณาโทษขาราชการที่ผิดวินยที่ตองนําไปเขาแฟมที่วาดวยการบริหารบุคคล ดังนี้ เปนตน
                                     ั
                   หมวดที่ 8 ฝกอบรม บรรยาย และดูงาน
                   ใหจดเก็บเอกสารประเภททีมีการฝกอบรม สัมมนา หรือบรรยายเกียวกับเรื่องใดเรือง
                         ั                    ่                                     ่              ่
หนึ่ง ขาราชการไดรับทุนไปศึกษาตอตางประเทศในประเทศ หรือไดรับทุนดูงานที่เก็บไวในหมวดนี้ เชน
การฝกอบรมขาราชการ เปนตน
                   หมวดที่ 9 พัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง
                   ใหจดเก็บเอกสารประเภทซื้อและจัดหาพัสดุครุภัณฑสํานักงานตางๆ
                           ั                                                               แบบแปลน
สิ่งกอสราง ทะเบียนทรัพยสน ตลอดถึงเอกสารในการประกวด เรียกประกวดราคา จางเหมากอสราง การ
                              ิ
แตงตั้งกรรมการตรวจรับพัสดุ งานจางเหมา เปนตน
6

                  หมวดที่ 10 สถิติและรายงาน
                  กําหนดใหจัดเก็บเอกสารประเภทรายงานและสถิติตางๆ เชน รายงานการตรวจอาคาร
รายงานปเกิด-ตาย รายงานการใชน้ํามันเชือเพลิง สถิติประชากร ฯลฯ เปนตน
                                         ้
                  สําหรับหนวยงานที่มีลักษณะงานพิเศษ เอกสารบางแฟมไมสามารถจัดเขาในหมวด
ตางๆ เหลานี้ และมีเอกสารมากพอสมควรก็ใหตั้งเพิ่มเติมเปนหมวดที่ 11-12 หรือ 13 ตามลําดับ

วิธจัดเก็บเอกสารที่ดี
   ี
         1. จําแนกประเภทเอกสารตามลักษณะที่อํานวยประโยชนใหแกผูปฏิบัติงาน
         2. กําหนดประเภทของเอกสารที่จะจัดเก็บในตูเอกสารตาง ๆ โดย
             2.1 เก็บเอกสารที่ใชอยูเสมอหรือใชประจําในตูหรือลิ้นชักระดับสายตา
                                                            
             2.2 เก็บเอกสารที่ใชอางอิงนาน ๆ ครั้งไวในตูทึบหรือหองเก็บเอกสาร
                                                          
         3. จําแนกแฟมเอกสารที่เก็บในลิ้นชักควรจะใชระบบการอานหนังสือ คือ เรียงจากซายไปขวา
         4. ไมควรเก็บเอกสารมากกวา 1 เรื่อง ในแฟมเดียวกัน
         5. ไมควรเก็บเอกสารมากเกินไปในแฟมหนึ่ง (ประมาณ 200 แผน แฟมกระดาษปกออน)
         6. ไมควรเก็บหนังสือปนกับแฟมเอกสาร
         7. ควรมีการควบคุมการจัดเก็บและคนหาเอกสารโดยเครงครัด
         8. เมื่อคนเอกสารและนําออกไปใชเสร็จแลว ควรรีบนํามาเก็บที่เดิม
         9. ถายืมเอกสารหรือแฟมเอกสารไปใชงานจะตองใส “บัตรยืม” หรือ “แฟมยืม” ไวแทนที่
             จนกวาจะนําเอกสารหรือแฟมเอกสารที่ยมไปมาคืน
                                                      ื
         10. การยืมเอกสารถามีการยืมเอกสารที่เปนตนฉบับใหผูยืมเซ็นชื่อเปนลายลักษณอักษร
         11. เอกสารที่ใชเสร็จสิ้นแลว แตตองเก็บอีกระยะหนึ่งและไมไดใชอางอิงบอยนักใหเก็บไวชั้น
             ลางของตูหรือชั้นเก็บเอกสารหรือนําไปเก็บไว ณ หองเก็บเอกสาร
         12. ควรยายเอกสารไปเก็บ ณ ศูนยเก็บทุกป และอยาเคลื่อนยายเอกสารที่ยงไมไดแยกใสแฟมไปเก็บ
                                                                              ั
         13. ไมควรซื้อตูเก็บเอกสารเพิ่มโดยไมจําเปน เพราะจะทําใหเกิดปญหาพืนที่ไมเพียงพอในการ
                                                                                ้
             ปฏิบัติงาน

ขั้นตอนการจัดเก็บเอกสาร
       1. สํารวจเอกสาร โดยนําเอกสารปปจจุบันมาตรวจสอบดูวามีเรื่องอะไรบางทยอยออกมาทีละ
                                                         
           แฟม ไมตองเอาออกมาเยอะจะไดไมสับสน
       2. ใหรหัสหมวดใหญบนหนาแรกของเอกสารที่มมขวามือดานบนดวยดินสอไวกอน เพื่อจะ
                                                  ุ
           ไดคดแยกเอกสารไดงายขึ้น
                ั
7

        3. นําเอกสารที่ใหรหัสแลวมาคัดแยกออกตามรหัสหมวดใหญแตละหมวดนํามาใหรหัสหมวด
            ยอย หรือรหัสชื่อแฟมเอกสารบนหนาแรกของเอกสารที่มุมขวามือดานบนถัดลงมาจาก
            รหัสหมวดใหญดวยดินสอ
        4. ประทับตรากําหนดอายุการเก็บบนหนาแรกของเอกสารที่มมดานขวามือดานลางสุดของเอกสาร
                                                                 ุ
        5. นําเอกสารแตละหมวดใหญมาเรียงลําดับเดือนที่เกิดกอนลงไปหาเดือนที่เกิดทีหลังสุดพรอม
            กันก็เรียงลําดับวันที่ของเอกสารดวยจากเลขนอยไปหาเลขมาก
        6. ลงทะเบียนหนังสือเก็บ โดยนําเอกสารแตละหมวดใหญและแตละเดือนมาลงทะเบียน
        7. นําเอกสารแตละหมวดใหญมาคัดแยกตามรหัสหมวดยอยที่ใหไว
        8. นําเอกสารแตละหมวดยอยที่ไดมาเรียงลําดับเดือนทีกอนขึ้นมาหาเดือนที่เกิดทีหลังสุดพรอม
                                                              ่
            กับเรียงลําดับวันที่ของเอกสารจากเลขนอยขึ้นมาใหเลขมาก
        9. จัดเก็บเอกสารเขาแฟมตามรหัสหมวดยอยหรือรหัสชื่อแฟม ในกรณีทแฟมนั้นมีเอกสารอยู
                                                                               ี่
            บางแลวจะนําเอกสารใหมเก็บเพิ่มเติมก็จะตองนําเอกสารทั้งหมดทั้งเอกสารใหมและ
            เอกสารเกาที่มอยูแลวในแฟมนั้นมาเรียงลําดับเดือนของเอกสารที่เกิดกอนขึ้นมาหาเดือนที่
                            ี
            เกิดทีหลังสุด พรอมกับเลขลําดับวันที่ของเอกสารจากเลขนอยขึ้นมาหาเลขมาก
        10. จัดทําบัตรคุมรายละเอียดเอกสารภายในแฟม โดยจะทําเมื่อแฟมนันเอกสารเต็มแฟมแลว
                                                                           ้
        11. จัดเก็บแฟมเอกสารเขาใสตู
        12. จัดทําบัตรคุมตาง ๆ
                 - บัตรนําหนาตู
                 - บัตรนํา / บัตรนํารอง
                 - บัตรยืม / แฟมยืม
        13. จัดทําบัญชีคุมแฟมเอกสาร (จัดเก็บทีไหน)
                                               ่

การคนหา และการใหยมเอกสาร
                        ื
       การคนหาและการใหยืมเอกสารที่สงเก็บแลวใหปฏิบัติ ดังนี้
       1. ผูยืมจะตองแจงเจาหนาทีที่รับผิดชอบจัดเก็บเอกสารใหทราบวาจะยืมเรื่องอะไร เลขที่
                                    ่
          หนังสือวัน เดือน ปอะไร และตองการอะไร เชน สําเนา หรือตนฉบับ
       2. เจาหนาที่คนหาเมื่อทราบเรื่อง เลขที่ วัน เดือน ป แลวรีบดําเนินการคนหาโดยคิดวาเรื่องนั้น
                      
          อยูหมวดหมูอะไร อยูในตู ลิ้นชักไหน โดยดูที่บัตรนําหนาตูเอกสาร
       3. ดึงลิ้นชักออกมามองไปที่บัตรนําและบัตรนํารอง ซึ่งจะทําใหผูคนหาพบเอกสารที่ตองการ
           แลวดึงแฟมเอกสารนั้นขึนมาดําเนินการคนหาโดยรวดเร็ว
                                      ้
       4. ในกรณีที่เอกสารเรื่องเดียวกันมีจํานวนหลายแฟมใหผูคนหาดูจากบัตรคุมรายละเอียดเอกสาร
           ภายในแฟมที่จัดทําไวแลว โดยไมตองเสียเวลาไปเปดเอกสารดูทีละแผน
8

       5. เมื่อพบเอกสารที่ผูยืมตองการแลวใหลงบันทึกรายการใน “บัตรยืม” ในกรณีที่ผูขอยืม
          ตนฉบับไปใหผูยืมลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐานแลวนําบัตรยืมไปวางไวหนาแฟมเอกสารที่ผู
          ยืมขอยืมเอกสารไปเมื่อผูยืมนําเอกสารมาสงคืนใหเจาหนาที่รีบนําไปเก็บไวที่เดิม แลวนํา
          บัตรยืมออกมาวางไวหนาลิ้นชักเหมือนเดิม
       6. ในกรณีที่ผยืมขอยืมเอกสารไปทั้งแฟมใหลงบันทึกรายการยืมใน “แฟมยืม” โดยใหผูยืมลง
                      ู
           ลายมือชื่อของผูยืมไวเปนหลักฐานแลวนําแฟมยืมไปวางแทนที่แฟมที่ถูกยืมไป เมื่อผูยืมนํา
           แฟมเอกสารที่ขอยืมไปมาสงคืนใหเจาหนาที่รบนําไปเก็บไว ณ ที่เดิมแลวนําแฟมยืมมาวาง
                                                         ี
          ไวหลังลิ้นชักเหมือนเดิม
       7. การลงบันทึกใน “แฟมสถิติการคนหา – ใหยืมเอกสาร” เปนการบันทึกรายการในกรณีที่ผูขอ
          ยืมเอกสารของสําเนา, สง Fax, ดูเรื่องเดิม ฯลฯ โดยจะรวบรวมเปนสถิติของงานเมื่อสิ้นปตอไป
       8. ในกรณีที่ผูยมเอกสารไปใชไมสงเอกสารคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่เจาหนาที่เก็บเอกสาร
                        ื
           สง “ใบเตือน” ไปยังผูทยืมเอกสาร
                                     ี่

การควบคุมเอกสาร
        การควบคุมเอกสารนั้น หมายถึง การควบคุมในการผลิต การจัดเก็บ และการกําจัดหรือทําลาย
เอกสารเมื่อหมดความจําเปนทีจะตองใชอกตอไป ดังนั้นจึงอาจแบงการควบคุมเอกสารออกเปน 3 ขันตอน คือ
                             ่       ี                                                  ้
                4.1 การควบคุมหรือการทําลายเอกสารบังเกิดขึ้น คือ การควบคุมปริมาณการพิมพสําเนา
การโรเนียวหนังสือ หรือเอกสาร การถายสําเนา การออกแบบฟอรม
                4.2 การควบคุมในการจัดเก็บ ควรจําแนกเอกสารออกเปน 4 ประเภทใหญๆ ดังที่ได
กลาวมาแลวขางตน คือเอกสารที่ยงอยูในระหวางปฏิบัติงานเอกสารที่โตตอบเสร็จแลว เอกสารซึ่งมี
                                   ั
ความสําคัญ และเอกสารซึ่งสมควรทําลาย เอกสารประเภทที่ 1 และ 2 ควรเก็บไวในบริเวณทีทํางาน      ่
ประจําวัน เอกสารที่ไมใชบอยๆ เชน เอกสารที่สําคัญควรสงไปเก็บไว ณ หองหรือศูนยเก็บเอกสารกลาง
                           
เมื่อครบระยะเวลาที่ใชอางอิงแลวควรเสนอขออนุมัติทําลายโดนดวนเพื่อเปนการประหยัดเนื้อทีเ่ ก็บ
                        
เอกสาร และไมทําใหสํานักงานรุงรังไมเปนระเบียบ
                การดําเนินการควบคุมการจัดเก็บเอกสาร มีขั้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้ คือ
                (1) เอาเอกสารแตละแฟมหรือแตละกองออกมาสํารวจ
                (2) แยกประเภทเอกสารที่ไมไดใชงานบอย หรือ หมดคาในการใชออกจาก
                    เอกสารที่ยังตองการใชเปนประจําวัน
                (3) จัดกลุมประเภทของหัวเรื่องการจําแนกแฟมในตูเอกสารหรือชั้นเสียใหม
                    เพื่อใหการคนหางายเมือตองการใชภายหลัง
                                           ่
                (4) วางมาตรฐานการดําเนินการจัดเก็บเอกสารเสียใหม ดังนี้
9

                              ก. ถาเปนเอกสารซึ่งยังดําเนินการไมเสร็จ คอยตอบรับหรือสอบหลักฐานตอง
รอไปอีกนาน ควรเก็บเขาตูเอกสารในลิ้นชักที่ 1 หรือ 2 แตถาเปนเรื่องที่ตองทําใหเสร็จในวันนั้นหรือ
วันรุงขึ้น ไมจําเปนตองเก็บ อาจทิ้งคางอยูในแฟมหรือในกระบะเก็บเอกสารบนโตะก็ได
                              ข. สําหรับเอกสารที่ไดมีการตอบโตเสร็จแลว แตยังมีความจําเปนที่
จะตองใชอางอิงในการตอบโตเอกสารอยูบางครั้ง แมจะไมบอยครั้งนัก เราอาจจะเก็บไวในลิ้นชักที่ 3 หรือ 4 ก็ได
                                                           
                              ค. เอกสารที่มีความสําคัญทางกฎหมาย ประวัติศาสตร หรือเกี่ยวกับหลักฐาน
ทางการเงิน หรือเอกสารซึ่งปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว แตอาจจําเปนตองเก็บไวระยะหนึ่ง แตไมควรเก็บไว
ณ สถานที่ทํางาน ใหสงไปเก็บไวตามศูนยเก็บเอกสารของกรมหรือหนวยงานนั้น
                          
                              ง. ควรจะมีคณะกรรมการกําหนดการจัดเก็บเอกสารของกรมหรือกอง หรือมี
หนวยงานซึ่งจะรับผิดชอบในการกําหนดระยะเวลาในการจัดเก็บเอกสารตางๆ ของกรมหรือหนวยงาน
นั้นๆ เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานไดยึดถือเปนหลักในการจัดเก็บตอไป
                    4.3 การควบคุมในการกําจัดเอกสารซึ่งไมมคา  ี
                    การที่ไมมีกฎเกณฑกําหนดใหมีการสํารวจเอกสารเพื่อหาทางกําจัดเอกสารซึ่งไมมีคาใน
การใชอางอิงอีกตอไป ทําใหปริมาณเอกสารเพิ่มมากขึ้นทุกที จนเกิดการกองเอกสาร(Piling) อยูทั่วไป
ตามหนวยงานราชการ ซึ่งขัดตอหลักการจัดเก็บเอกสาร (Filing) ที่ดี
                    เพื่อที่จะหาทางทําลายเอกสารที่ไมมีคุณคาในการอางอิงตอไป จึงสมควรที่จะไดมีการ
กําหนดใหเจาหนาที่ปฏิบัติงานสํารวจเอกสารเพื่อจํากัดอยางนอยปละครั้ง โดยทําเปนรายการเสนอขอ
อนุมติทําลายตอผูบังคับบัญชาระดับกอง
       ั
                    การทําลายเอกสารจะทําไดโดย การเผา ขาย ใชเครื่องทําลายเอกสารไฟฟา
(ในกรณีที่เปนเอกสารลับ) การจะทําลายโดยวิธใดก็แลวแตคาของเอกสารแตละชนิดเปนสําคัญ
                                                   ี
อายุการเก็บเอกสาร
            โดยทั่วไปเอกสารใหเก็บไวไมนอยกวา 10 ป เวนแตเอกสาร ดังนี้
            1. เอกสารที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญไมมีความสําคัญและเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนประจําเมื่อ
ดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ใหเก็บไวไมนอยกวา 1 ป
            2. เอกสารที่ปฏิบัติงานเสร็จแลว และเปนคูสําเนา มีตนฉบับหรือตนเรื่องสามารถคนหาไดจาก
ที่อื่น ใหเก็บไวไมนอยกวา 5 ป
            3. เอกสารที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียม ประเพณี สถิติ หลักฐาน หรือเรื่องที่ตอง
ใชสําหรับการศึกษาคนควา ใหเก็บไวเปนหลักฐานตลอดไปหรือตามที่หอจดหมายเหตุแหงชาติกําหนด
            4. เอกสารที่เปนหลักฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาลหรือของเจาพนักงานสอบสวนหรือ
เอกสารอืนที่มกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวแลวใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบแบบแผนนัน
           ่ ี                                                                                         ้
            5. เอกสารที่ตองสงวนเปนความลับ ใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ วาดวยการรักษาความ
ปลอดภัยแหงชาติ
10

การทําลายเอกสาร
        ในการปฏิบัติงานประจํานั้น ยอมมีเอกสารใหม ๆ เกิดขึ้นมาเสมอ ดังนั้น จึงเปนไปไมไดที่จะ
เก็บเอกสารทุกชิ้นไวตลอดไป เพราะจะไมมีที่เก็บ จึงจําเปนตองมีการทําลายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้น
แล ว ไปบ า ง ซึ่ ง ภายใน 60 วั น หลั ง จากสิ้ น ป ป ฏิ ทิ น ให เ จ า หน า ที่ ผู รั บ ผิ ด ชอบในการเก็ บ เอกสาร
ดําเนินการสํารวจเอกสารที่ครบกําหนดอายุการเก็บในปนั้นแลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลาย เสนอ
หัวหนาสวนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการทําลายเอกสาร

สรุป
         การบริหารงานเอกสารหรือการจัดการเอกสาร (Records Management) หมายถึง งานซึ่ง
เกี่ยวกับ การเก็บขอมูลของหนวยงาน เพื่อชวยเพิ่มความจําในงานสํานักงานและการตัดสินใจในทุก
ระดับของผูบริหารในทุกองคกร จําเปนตองมีขอมูลประกอบเพื่อความถูกตองของการปฏิบัติงาน
การบริหารเอกสาร เปนการดําเนินงานเอกสารใหบรรลุวัตถุประสงคตามลําดับขั้นตอนคือ การวางแผน
การกําหนดหนาที่ และโครงสราง การจัดเก็บเอกสาร การกําหนดระบบการจัดเก็บเอกสาร การเก็บ
รักษา การควบคุมเอกสารและการทําลายเอกสาร
         เราจะเห็นไดวาการบริหารงานเอกสารเปนหัวใจสําคัญยิ่งของการดําเนินงาน เพราะถาสามารถ
บริหารงานเอกสารใหมีประสิทธิภาพแลวก็จะสามารถลดตนทุนในการดําเนินงานใหต่ําลงได โดยควร
จะมี ก ารดํ า เนิ น นโยบายการบริห ารงานเอกสารไว และมี ห ลั ก การที่ ต อ งคํ านึ ง ถึ ง ปจ จั ย หลายอย า ง
นอกจากนี้จะตองคํานึงถึงปริมาณหนังสือเอกสารในปจจุบันแลว ยังตองคํานึงถึงระบบที่สามารถขยาย
ไดในอนาคตไมตองแกไขเปลี่ยนแปลงบอย ๆ ดวย
         การตัดสินใจวาหนวยงานแตละหนวยงาน ซึ่งมีวัตถุประสงคหรือประเภทของการประกอบการ
ตางกัน การตัดสินใจในระบบใดในการเก็บเอกสาร เปนเรื่องที่จะตองพิจารณาอยางละเอียดรอบรอบ
ตองมีการศึกษาวาระบบใด จึงจะทําใหการปฏิบัติงานการจัดเก็บเอกสารมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึงอาจ         ่
สรุปไดวาการบริหารงานเอกสารเปนศูนยรวมของการบริหารงานทั้งมวลเปนกิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพื่อ
ควบคุมวงจรชีวิตของเอกสาร ตั้งแตการผลิตไปจนถึงการทําลายเอกสาร
11

                                      เอกสารอางอิง

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 , 2546 : 1392.
มุกดา เชื้อวัฒนา และคณะ. คูมือการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสาร. งานบริหารและธุรการ
         สํานักงานคณบดี คณะแพทยศาสตรสิริราชพยาบาล.
อัญชลี มาตะโก. คูมอการจัดเก็บเอกสาร การคนหา-ใหยืมเอกสาร และการทําลายเอกสาร. กองกลาง
                     ื
         งานจัดเก็บและรักษาเอกสาร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
คณะกรรมการจัดระบบเอกสาร. คูมือการจัดระบบเอกสารมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง. มหาวิทยาลัยแมฟา     
         หลวง พ.ศ. 2548.
ไพโรจน พรหมสาสิน. แนวความคิดในการจัดสํานักงาน...(ราชการ)...ยุคใหม. นิตยสารทองถิ่น, 36,3
         มี.ค. 2549.
สุรัสวดี ราชกุลชัย. การบริหารสํานักงาน. พิมพครั้งที่ 2, 2543.
ศิริวรรณ เสรีรัตน และสมชาย หิรัญกิตติ. การบริหารสํานักงานแบบใหม ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ :
         พัฒนาศึกษา, 2538.
ชัชวาล ขําเจริญ. งานสํานักงาน. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2533.

More Related Content

What's hot

ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อแนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
System management
System managementSystem management
System management
Teetut Tresirichod
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจเศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
immsswm
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยPatcharee Kongpun
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
Puy Chappuis
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
Aey Usanee
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Nuttanun Wisetsumon
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
Supaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อแนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
 
System management
System managementSystem management
System management
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจเศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์และระบบเศรษฐกิจ
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทย
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 

Similar to การจัดเอกสาร

Performing administrative tasks
Performing administrative tasksPerforming administrative tasks
Performing administrative tasksjanwree
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pWareerut Suwannalop
 
งานธุรการสารบรรณ 8.4
งานธุรการสารบรรณ 8.4งานธุรการสารบรรณ 8.4
งานธุรการสารบรรณ 8.4Yota Bhikkhu
 
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
Sujit Vongsrikeaw
 
work3
work3 work3
work3
babyykw
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111darika chu
 
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPresentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPrapisee Nilawongse
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีวิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีtechno UCH
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
praew
praewpraew
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 

Similar to การจัดเอกสาร (20)

Performing administrative tasks
Performing administrative tasksPerforming administrative tasks
Performing administrative tasks
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
งานธุรการสารบรรณ 8.4
งานธุรการสารบรรณ 8.4งานธุรการสารบรรณ 8.4
งานธุรการสารบรรณ 8.4
 
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
work3
work3 work3
work3
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111
 
4.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_954.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_95
 
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPresentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีวิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
 
K14
K14K14
K14
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
2
22
2
 
praew
praewpraew
praew
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (11)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

การจัดเอกสาร

  • 1. การจัดการเอกสารสํานักงาน สุมาลี ทองดี* ********************************************************************************** ในแตละวันจะเห็นไดว าในแตละหนวยงานจะตองประสบกั บปญหาการจัดการกับเอกสาร สํานักงานกองโต ซึ่งถาขาดการจัดระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดีและมีประสิทธิภาพแลว ยอมสงผลตอ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะถาระบบการจัดการเอกสารสํานักงานไมมี ระบบที่ดีแลว ในการคนหาเอกสารเราอาจะตองเสียเวลาเปนชั่วโมงก็ได ซึ่งจะทําใหเสียเวลาในการ ปฏิบัติงานเปนอยางมาก โดยเฉพาะในปจจุบันการทํางานที่ตองแขงขันกับเวลา ถามัวเสียเวลากับ การคนหาเอกสารอาจทําใหหนวยงานเสียหายและเสียโอกาสได ดังนั้น เพื่อประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยงาน เราจึงควรมาเรียนรูระบบการจัดการ เอกสารสํานักงานเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเอกสารสํานักงานเพื่อลดปญหาเอกสารสูญหาย หาเอกสาร ไมพบ ปริมาณเอกสารลนโตะทํางาน ฯลฯ ซึ่งถือวาเปนปญหาอยางมากซึ่งหลายหนวยงานกําลัง ประสบปญหาดังกลาว ความหมายของเอกสารและการจัดเก็บเอกสาร เอกสาร (Document) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 เอกสาร หมายถึง “ หนังสือที่เปนหลักฐาน กระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งไดทําใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอยางอื่น จะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอื่น อันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้น” เอกสาร (Document) ไดแก จดหมายโตตอบ ฟอรมตาง ๆ หนังสือ รายงาน แผนภูมิตาง ๆ ใบรั บ รองคุ ณ วุ ฒิ สั ญ ญา ภาพถ า ย แคตตาล็ อ ค คู มื อ หรื อ เอกสารอื่ น ใด ซึ่ ง ทํ า ขึ้ น หรื อ ใช โ ดย หน ว ยงาน ในการดํ า เนิ น งานและมี ค า ทางกฎหมาย ทางสั ญ ญาทางการคลั ง การเงิ น หรื อ ทาง ประวัติศาสตร การเก็บเอกสาร (Filing) คือ กระบวนการจัดและเก็บเอกสารใหเปนระเบียบ เพื่อใหงายตอการ คนหาไดงายในทันทีที่ตองการ สะดวกรวดเร็วทันเวลา กระบวนการจัดเก็บประกอบดวยการจําแนก จัดเรียง รักษา คนหาและนํามาใชประโยชน มีระเบียบแบบแผน เปนระบบ (System) มีแหลงเก็บที่ งาย และปลอดภัย ชวยใหการปฏิ บัติงานประจําวันของแตละหน วยงานเปนไปดวยความเรีย บรอย ประหยัดเวลาและคาใชจาย การเก็บเอกสารเปนวิธีการแบงประเภท (Classifying) การจัด (Arranging) และการเก็บ (Keeping) เพื่อรวบรวมใหเอกสารอยูในแหลงเดียวกัน อยูในแหลงที่ปลอดภัยและสามารถ คนหาเอกสารไดทันทีที่ตองการ * เจาหนาที่บริหารงานทั่วไปภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • 2. 2 ความสําคัญของเอกสาร 1. เอกสาร เปนเสมือนบันทึกความทรงจําของหนวยงาน 2. เอกสาร เปนเครื่องมือที่ใชอางอิง ในเมื่อเกิดการฟองรองกันขึ้น อันเปนสิ่งที่ยอมรับตาม กฎหมาย 3. เอกสาร เปนเครื่องชวยใหการบริหารงานของกิจการ ทําไปไดสะดวก มีระบบ ระเบียบ เขาใจไดงายขึน โดยเฉพาะในดานการวางแผน และควบคุมงาน ้ 4. เอกสาร จะเปนสิ่งที่มีคุณคาอยางยิ่ง ในการใชศกษาคนควา เพื่อปรับปรุงงานในอนาคต ึ หรือมีคุณคาในทางประวัตศาสตร ิ 5. เอกสาร เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร ระหวางผูบงคับบัญชา และผูใตบังคับบัญชา ั และระหวางหนวยงานตาง ๆ ตลอดจน การติดตอกับลูกคา และบุคคลภายนอกกิจการอีกดวย ฉะนั้ นเอกสารจึ งเปรียบเสมื อนหนว ยความจํ าของหนว ยงาน ช วยทํางานคลองตัวและเปน เครื่องมือในการติดตอระหวางหนวยงาน ซึ่งในปจจุบันเราใชเครื่องมืออิเล็กทรอนิคสมาพัฒนาให เหมาะสมกับงานทําใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน การจัดเก็บเอกสารดวยเครื่องจัดเก็บและการคาหา เอกสารอิเล็กทรอนิคส การใชโปรแกรมการจัดการเอกสารดวยคอมพิวเตอร เปนตน วัตถุประสงคของการจัดเก็บเอกสาร ปจจุบันมีการจัดทําระบบการจัดเก็บอกสารใหเหมาะสมกับความตองการขององคกร ไมวาจะ เปนการเก็บเอกสารที่มาจากภายนอก สําเนาเอกสารที่ผลิตขึ้นมาเอง หรือเอกสารอื่น ๆ ซึ่งแตละอยางมี วิธีการเก็บที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นเอกสารทั้งหมดที่จะเก็บไวจะตองไดรับการปฏิบัติใหถูกตองใน เรื่องของการจัดการ การคนหา การยืมเอกสารรวมทั้งการสงคืนใหถูกตอง ทําใหเกิดความคลองตัวใน การปฏิบัติงาน ขจัดปญหาที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเปนอุปสรรคตอการดําเนินงาน ฉะนั้นไมวาจะเก็บเอกสาร ดวยระบบใดก็ตามจะตองมีวัตถุประสงคของการจัดเก็บ ดังนี้ 1. เพื่อความสะดวกในการคนหา เอกสารเปรียบเสมือนหนวยบันทึกความจําของหนวยงาน เอกสารใช เ ป น สิ่ ง อ า งอิ ง เป น หลั ก ฐานในการต อ สู ค ดี ค วาม การฟ อ งร อ งในศาล ซึ่ ง ถ า ผู ใ ดมี พยานหลักฐานที่ดีก็อาจจะชนะคดีความนั้นได ดังนั้นจึงตองเก็บเอกสารใหมีสภาพดีใชไดตลอดเวลา สามารถคนหาไดในทันทีที่ตองการเพราะการเก็บเอกสารตองการความรวดเร็ว ตอเนื่องทันตอเหตุการณ สํานักงานจึงจําเปนตองมีระบบการเก็บเอกสารที่สามารถคนหาไดทันทีเมื่อตองการใชงาน 2. เปนแหลงรวมความจําตาง ๆ สํานักงานจําเปนตองแยกการจัดเก็บเอกสารออกเปนหนวย หนึ่ง เพื่อทําหนาที่เปนสมองของหนวยงานนั้น ๆ ใชทบทวนความจํา ใชวางแผนแกปญหา หรือ ตัดสินใจ ใชพิจารณาความดีความชอบของบุคลากร ใชปรับปรุงงานเอกสาร จึงเปนบันทึกความจําของ หน ว ยงาน สิ่ งที่ ถื อ ปฏิ บัติ ห รื อ เคยดํา เนิน การเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง ในอดี ต อาจใช เ ป น บรรทั ด ฐานการ ปฏิบัติงานในปจจุบันได ฉะนั้นการจัดเก็บเอกสารจะตองปฏิบัติตอเนื่องสม่ําเสมอประจําทุกวัน
  • 3. 3 3. เพื่ อใหมี แหลงเก็ บเอกสารที่ปลอดภัยและถาวร ไมเ กิดการชํารุ ดหรือสูญหาย สําหรับ เอกสารที่เกี่ยวกับขอเท็จจริง รายการดําเนินงานที่อยูในระยะที่ยังมีความตองการเอกสารนั้นอยู ควรมี การจัดเก็บเอกสารใหครบถวน ไมชํารุดและสูญหาย หากเอกสารที่ตองการจะใชในภายหลังไดจัดเก็บ ไวไมครบถวนหรือสูญหายยอมสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานอยางแนนอน เพราะเอกสารตาง ๆ มี ความสําคัญตอการดําเนินงานเปนอยางมาก หากไมมีระบบจัดเก็บเอกสารที่ดีอาจจะกระจัดกระจายและ สูญหายได ทําใหเกิดอุปสรรคในการดําเนินงาน 4. เพื่อรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของสัมพันธกันไวในแหลงเดียวกัน การจัดเก็บเอกสารนอกจาก จะตองมีระบบการจัดเก็บและคนหาที่เปนมาตรฐาน เพื่อใหถูกตองเปนระเบียบแลว การเก็บเอกสาร จําเปนอยางยิ่งที่จะตองรวบรวมเก็บไวเปนแหลงเดียวกัน เพราะถาแตละหนวยงาน เปนผูเก็บเอกสาร ของตนเอง หากหนว ยงานอื่น ตองการเอกสารเพื่อนําไปใชก็จะไมสะดวกเทาที่ควร ฉะนั้นจึ งควร รวบรวมเอกสารใหเปนหมวดหมู และจัดเก็บรวบรวมไวเปนแหลงเดียวกัน 5. ทําใหมีมาตรฐานเดียวกันในการจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บเอกสารแทบทุกหนวยงานมักจะ เปนระบบเฉพาะตัว เมื่อเจาหนาที่ผูรบผิดชอบไมอยูหรือไมมาปฏิบัติงานก็จะไมสามารถคนหาเอกสาร ที่ตองการได หรืออาจตองใชเวลานาน ขาดประสิทธิภาพ ระบบจัดเก็บเอกสารที่ดีตองมีการกําหนด หลักในการปฏิบัติไวอยางแนนอนตายตัว เพื่อพนักงานทุกคนมีความเขาใจในเรื่องการจัดเก็บกําหนด หลักในการปฏิบัติไวอยางแนนอนตายตัว เพื่อใหพนักงานทุกคนมีความเขาใจในเรื่องการจัดเก็บการ คนหาและการยืมเอกสาร รวมทั้งการสงคืนไดถูกตอง ตามขั้นตอนที่วางไว และนอกจากมาตรฐานใน การปฏิบัติงานแลว ควรกําหนดมาตรฐานเปนเครื่องมือเครื่องใช ิวิธีการทํางาน และมีคูมือที่ใชในการ ปฏิบัติงานดวย 6. เพื่อความเรียบรอยและสะอาดตา การจัดเก็บเอกสารจะมีความครบถวนสมบูรณไดจะตองมี ความเปนระเบียบเรียบรอยและสวยงาม มีระบบที่ไมซับซอน คนหาไดงาย รวดเร็ว มีลักษณะยืดหยุน ได เพื่อขยายงานเอกสารในอนาคตและสรางภาพพจนที่ดีแกผูใชบริหาร ประเภทของเอกสาร เอกสารประเภทตางๆ โดยทัวไปอาจจะจําแนกไดเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ ่ 1) เอกสารที่ยงอยูในระหวางปฏิบัติงาน หมายถึง เอกสารโตตอบที่ยังปฏิบัติไม ั เสร็จรวมทั้งเอกสารที่โตตอบเสร็จแลว แตยังมีความจําเปนที่จะตองใชในการอางอิงอยูบอยๆ 2) เอกสารที่ไดมีการโตตอบเสร็จแลว แตยงมีความจําเปนที่จะตองใชในการ ั อางอิงโตตอบเอกสารอยูในบางครั้ง 3) เอกสารซึ่งมีความสําคัญ หมายถึง เอกสารบางอยางที่มีทางประวัติศาสตร ทาง กฎหมาย วรรณคดี หรือเกี่ยวกับหลักฐานการเงิน
  • 4. 4 4) เอกสารซึ่งสมควรทําลาย หมายถึง เอกสารซึ่งไมมีคาในการใชอางอิงอีกตอไป หรือ  เอกสารซึ่งพนระยะเวลาที่ควรเก็บอีกตอไป นอกเหนือไปจากนี้เราอาจจําแนกเอกสารออกเปนประเภทใหญๆ ไดอีกอยาง คือ เอกสารทั่วไป และเอกสารลับ การจําแนกเอกสารออกเปนประเภทตางๆ ดังกลาวขางตนจะมีความสัมพันธอยางใกลชิด กับการควบคุมในการจัดเก็บเอกสาร ระบบมาตรฐานในการจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บเอกสารไวในแฟมเราอาจจัดเก็บโดยระบบการจําแนกเอกสารระบบใดระบบหนึ่งดังนี้ 1) จําแนกตามหัวขอเรื่อง คือ กรณีที่เราจําแนกเอกสารออกเปนหัวขอใหญๆ ตามหนาที่ ความรับผิดชอบของหนวยงานนั้นๆ หรือจําแนกตามบริการที่ใหแกผูอื่น เอกสารโดยทั่วไปจะมีหัวขอ ใหญๆ 10 หมวด ดังนี้ คือ 1. การเงิน งบประมาณ 2. คําสั่ง ระเบียบ คูมือ มติ ครม. 3. โตตอบ 4. บริหารทั่วไป 5. บริหารบุคคล 6. เบ็ดเตล็ด 7. ประชุม 8. ฝกอบรม บรรยาย ทุน และการดูงาน 9. ที่ดินและสิงกอสราง ่ 10. สถิติและรายงาน เพื่อใหผูอานสามารถเขาใจและปฏิบัติในการจําแนกเอกสารโดยถูกตอง จึงจะขอใหคําอธิบายใน การคัดเลือกเอกสารใหเปนหมวดหมูตามหัวขอ 10 หมวด พอสังเขป ดังนี้  หมวดที่ 1 การเงินงบประมาณ ในหมวดนี้ กําหนดใหจดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งอาจแยกหัวขอไดดังนี้ ั งบประมาณ เงินเดือน คาจาง เงินสะสม เงินยืม เงินชวยเหลือตางๆ เชน คาเลาเรียนบุตร คารักษาพยาบาล เงินคาใชสอย เชน คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท เงินคาตอบแทน เชน คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท เงินคา บําเหน็จบํานาญ เงินอุดหนุน ฯลฯ เปนตน หมวดที่ 2 คําสั่ง ระเบียบ คูมือ มติ ครม.  กําหนดใหจัดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับคําสั่งของฝายและกอง คําสั่งของหัวหนา หนวยงาน คําสั่งทั่วไป ระเบียบ ประกาศตางๆ กฎหมาย กฎกระทรวง พระราชบัญญัติ คูมือและมติตางๆ
  • 5. 5 หมวดที่ 3 โตตอบ เรื่องโตตอบทั่วไป ใหพยายามจัดไวในหมวดเอกสารที่เรื่องนั้นเกียวของอยู เชน เรือง ่ ่ โตตอบเกี่ยวกับการเงินก็จัดหมูไวในหมวด “การเงิน งบประมาณ” หรือถาเปนเรื่องโตตอบเกี่ยวการ แตงตั้งโอนยายบุคคล ก็จัดหมูไวในหมวด “บริหารงานบุคคล” ฉะนั้น แฟมเอกสารที่จะจัดหมูไวในหมวด “โตตอบ” นี้ ก็ไดแกเอกสารโตตอบที่บริจาค ที่การขอการรวมมือจากหนวยงานตางๆ การขอชมกิจการ เปนตน หมวดที่ 4 บริหารทั่วไป กําหนดใหจัดเก็บเอกสารอันเกี่ยวกับการแบงสวนราชการ หนาที่ความรับผิดชอบและ เรื่อง หรือคําสั่งซึ่งมีลักษณะเปนการบริหารงาน การมอบอํานาจหนาที่ใหทําหนาทีแทนหรือการ่ รักษาการในตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง หมวดที่ 5 บริหารบุคคล ในหัวขอนี้กําหนดใหจดเก็บเอกสารประเภททะเบียนราชประวัติ การพิจารณาความดี ั ความชอบ การบรรจุแตงตั้ง การโอน การยาย การลาออก วินย การขอยืมตัวขาราชการ การสอบเลื่อนขั้น ั การกําหนดตําแหนงใหม ฯลฯ หมวดที่ 6 เบ็ดเตล็ด กําหนดใหจัดเก็บเอกสารประเภทซึ่งไมสามารถจัดเขาหมวดใดหมวดหนึ่งที่ตั้งไวเปน เรื่องพิเศษ และปริมาณเอกสารยังไมมากพอที่จะตั้งขึ้นเปนหมวดเอกสารใหมก็ได ก็ใหจัดเขาในหมวด เบ็ดเตล็ดนี้ อยางไรก็ตาม ไมควรจัดเก็บแฟมไวในหมวดนี้มากนัก หากมีเอกสารมากพอควรก็ใหตั้ง หมวดใหมเพือความสะดวกในการคนหา ่ หมวดที่ 7 ประชุม ในหมวดนี้ กําหนดใหจดเก็บเรื่องราวเกียวกับการประชุมทั่วๆ ไป แตถาเปนการประชุม ั ่ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งในหัวขอที่กาหนดไว ก็ใหนํามารวมไวในหัวขอนั้นๆ เชน การประชุมเกี่ยวกับ ํ การพิจารณาโทษขาราชการที่ผิดวินยที่ตองนําไปเขาแฟมที่วาดวยการบริหารบุคคล ดังนี้ เปนตน ั หมวดที่ 8 ฝกอบรม บรรยาย และดูงาน ใหจดเก็บเอกสารประเภททีมีการฝกอบรม สัมมนา หรือบรรยายเกียวกับเรื่องใดเรือง ั ่ ่ ่ หนึ่ง ขาราชการไดรับทุนไปศึกษาตอตางประเทศในประเทศ หรือไดรับทุนดูงานที่เก็บไวในหมวดนี้ เชน การฝกอบรมขาราชการ เปนตน หมวดที่ 9 พัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ใหจดเก็บเอกสารประเภทซื้อและจัดหาพัสดุครุภัณฑสํานักงานตางๆ ั แบบแปลน สิ่งกอสราง ทะเบียนทรัพยสน ตลอดถึงเอกสารในการประกวด เรียกประกวดราคา จางเหมากอสราง การ ิ แตงตั้งกรรมการตรวจรับพัสดุ งานจางเหมา เปนตน
  • 6. 6 หมวดที่ 10 สถิติและรายงาน กําหนดใหจัดเก็บเอกสารประเภทรายงานและสถิติตางๆ เชน รายงานการตรวจอาคาร รายงานปเกิด-ตาย รายงานการใชน้ํามันเชือเพลิง สถิติประชากร ฯลฯ เปนตน ้ สําหรับหนวยงานที่มีลักษณะงานพิเศษ เอกสารบางแฟมไมสามารถจัดเขาในหมวด ตางๆ เหลานี้ และมีเอกสารมากพอสมควรก็ใหตั้งเพิ่มเติมเปนหมวดที่ 11-12 หรือ 13 ตามลําดับ วิธจัดเก็บเอกสารที่ดี ี 1. จําแนกประเภทเอกสารตามลักษณะที่อํานวยประโยชนใหแกผูปฏิบัติงาน 2. กําหนดประเภทของเอกสารที่จะจัดเก็บในตูเอกสารตาง ๆ โดย 2.1 เก็บเอกสารที่ใชอยูเสมอหรือใชประจําในตูหรือลิ้นชักระดับสายตา  2.2 เก็บเอกสารที่ใชอางอิงนาน ๆ ครั้งไวในตูทึบหรือหองเก็บเอกสาร  3. จําแนกแฟมเอกสารที่เก็บในลิ้นชักควรจะใชระบบการอานหนังสือ คือ เรียงจากซายไปขวา 4. ไมควรเก็บเอกสารมากกวา 1 เรื่อง ในแฟมเดียวกัน 5. ไมควรเก็บเอกสารมากเกินไปในแฟมหนึ่ง (ประมาณ 200 แผน แฟมกระดาษปกออน) 6. ไมควรเก็บหนังสือปนกับแฟมเอกสาร 7. ควรมีการควบคุมการจัดเก็บและคนหาเอกสารโดยเครงครัด 8. เมื่อคนเอกสารและนําออกไปใชเสร็จแลว ควรรีบนํามาเก็บที่เดิม 9. ถายืมเอกสารหรือแฟมเอกสารไปใชงานจะตองใส “บัตรยืม” หรือ “แฟมยืม” ไวแทนที่ จนกวาจะนําเอกสารหรือแฟมเอกสารที่ยมไปมาคืน ื 10. การยืมเอกสารถามีการยืมเอกสารที่เปนตนฉบับใหผูยืมเซ็นชื่อเปนลายลักษณอักษร 11. เอกสารที่ใชเสร็จสิ้นแลว แตตองเก็บอีกระยะหนึ่งและไมไดใชอางอิงบอยนักใหเก็บไวชั้น ลางของตูหรือชั้นเก็บเอกสารหรือนําไปเก็บไว ณ หองเก็บเอกสาร 12. ควรยายเอกสารไปเก็บ ณ ศูนยเก็บทุกป และอยาเคลื่อนยายเอกสารที่ยงไมไดแยกใสแฟมไปเก็บ ั 13. ไมควรซื้อตูเก็บเอกสารเพิ่มโดยไมจําเปน เพราะจะทําใหเกิดปญหาพืนที่ไมเพียงพอในการ ้ ปฏิบัติงาน ขั้นตอนการจัดเก็บเอกสาร 1. สํารวจเอกสาร โดยนําเอกสารปปจจุบันมาตรวจสอบดูวามีเรื่องอะไรบางทยอยออกมาทีละ  แฟม ไมตองเอาออกมาเยอะจะไดไมสับสน 2. ใหรหัสหมวดใหญบนหนาแรกของเอกสารที่มมขวามือดานบนดวยดินสอไวกอน เพื่อจะ ุ ไดคดแยกเอกสารไดงายขึ้น ั
  • 7. 7 3. นําเอกสารที่ใหรหัสแลวมาคัดแยกออกตามรหัสหมวดใหญแตละหมวดนํามาใหรหัสหมวด ยอย หรือรหัสชื่อแฟมเอกสารบนหนาแรกของเอกสารที่มุมขวามือดานบนถัดลงมาจาก รหัสหมวดใหญดวยดินสอ 4. ประทับตรากําหนดอายุการเก็บบนหนาแรกของเอกสารที่มมดานขวามือดานลางสุดของเอกสาร ุ 5. นําเอกสารแตละหมวดใหญมาเรียงลําดับเดือนที่เกิดกอนลงไปหาเดือนที่เกิดทีหลังสุดพรอม กันก็เรียงลําดับวันที่ของเอกสารดวยจากเลขนอยไปหาเลขมาก 6. ลงทะเบียนหนังสือเก็บ โดยนําเอกสารแตละหมวดใหญและแตละเดือนมาลงทะเบียน 7. นําเอกสารแตละหมวดใหญมาคัดแยกตามรหัสหมวดยอยที่ใหไว 8. นําเอกสารแตละหมวดยอยที่ไดมาเรียงลําดับเดือนทีกอนขึ้นมาหาเดือนที่เกิดทีหลังสุดพรอม ่ กับเรียงลําดับวันที่ของเอกสารจากเลขนอยขึ้นมาใหเลขมาก 9. จัดเก็บเอกสารเขาแฟมตามรหัสหมวดยอยหรือรหัสชื่อแฟม ในกรณีทแฟมนั้นมีเอกสารอยู ี่ บางแลวจะนําเอกสารใหมเก็บเพิ่มเติมก็จะตองนําเอกสารทั้งหมดทั้งเอกสารใหมและ เอกสารเกาที่มอยูแลวในแฟมนั้นมาเรียงลําดับเดือนของเอกสารที่เกิดกอนขึ้นมาหาเดือนที่ ี เกิดทีหลังสุด พรอมกับเลขลําดับวันที่ของเอกสารจากเลขนอยขึ้นมาหาเลขมาก 10. จัดทําบัตรคุมรายละเอียดเอกสารภายในแฟม โดยจะทําเมื่อแฟมนันเอกสารเต็มแฟมแลว ้ 11. จัดเก็บแฟมเอกสารเขาใสตู 12. จัดทําบัตรคุมตาง ๆ - บัตรนําหนาตู - บัตรนํา / บัตรนํารอง - บัตรยืม / แฟมยืม 13. จัดทําบัญชีคุมแฟมเอกสาร (จัดเก็บทีไหน) ่ การคนหา และการใหยมเอกสาร ื การคนหาและการใหยืมเอกสารที่สงเก็บแลวใหปฏิบัติ ดังนี้ 1. ผูยืมจะตองแจงเจาหนาทีที่รับผิดชอบจัดเก็บเอกสารใหทราบวาจะยืมเรื่องอะไร เลขที่ ่ หนังสือวัน เดือน ปอะไร และตองการอะไร เชน สําเนา หรือตนฉบับ 2. เจาหนาที่คนหาเมื่อทราบเรื่อง เลขที่ วัน เดือน ป แลวรีบดําเนินการคนหาโดยคิดวาเรื่องนั้น  อยูหมวดหมูอะไร อยูในตู ลิ้นชักไหน โดยดูที่บัตรนําหนาตูเอกสาร 3. ดึงลิ้นชักออกมามองไปที่บัตรนําและบัตรนํารอง ซึ่งจะทําใหผูคนหาพบเอกสารที่ตองการ แลวดึงแฟมเอกสารนั้นขึนมาดําเนินการคนหาโดยรวดเร็ว ้ 4. ในกรณีที่เอกสารเรื่องเดียวกันมีจํานวนหลายแฟมใหผูคนหาดูจากบัตรคุมรายละเอียดเอกสาร ภายในแฟมที่จัดทําไวแลว โดยไมตองเสียเวลาไปเปดเอกสารดูทีละแผน
  • 8. 8 5. เมื่อพบเอกสารที่ผูยืมตองการแลวใหลงบันทึกรายการใน “บัตรยืม” ในกรณีที่ผูขอยืม ตนฉบับไปใหผูยืมลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐานแลวนําบัตรยืมไปวางไวหนาแฟมเอกสารที่ผู ยืมขอยืมเอกสารไปเมื่อผูยืมนําเอกสารมาสงคืนใหเจาหนาที่รีบนําไปเก็บไวที่เดิม แลวนํา บัตรยืมออกมาวางไวหนาลิ้นชักเหมือนเดิม 6. ในกรณีที่ผยืมขอยืมเอกสารไปทั้งแฟมใหลงบันทึกรายการยืมใน “แฟมยืม” โดยใหผูยืมลง ู ลายมือชื่อของผูยืมไวเปนหลักฐานแลวนําแฟมยืมไปวางแทนที่แฟมที่ถูกยืมไป เมื่อผูยืมนํา แฟมเอกสารที่ขอยืมไปมาสงคืนใหเจาหนาที่รบนําไปเก็บไว ณ ที่เดิมแลวนําแฟมยืมมาวาง ี ไวหลังลิ้นชักเหมือนเดิม 7. การลงบันทึกใน “แฟมสถิติการคนหา – ใหยืมเอกสาร” เปนการบันทึกรายการในกรณีที่ผูขอ ยืมเอกสารของสําเนา, สง Fax, ดูเรื่องเดิม ฯลฯ โดยจะรวบรวมเปนสถิติของงานเมื่อสิ้นปตอไป 8. ในกรณีที่ผูยมเอกสารไปใชไมสงเอกสารคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่เจาหนาที่เก็บเอกสาร ื สง “ใบเตือน” ไปยังผูทยืมเอกสาร ี่ การควบคุมเอกสาร การควบคุมเอกสารนั้น หมายถึง การควบคุมในการผลิต การจัดเก็บ และการกําจัดหรือทําลาย เอกสารเมื่อหมดความจําเปนทีจะตองใชอกตอไป ดังนั้นจึงอาจแบงการควบคุมเอกสารออกเปน 3 ขันตอน คือ ่ ี ้ 4.1 การควบคุมหรือการทําลายเอกสารบังเกิดขึ้น คือ การควบคุมปริมาณการพิมพสําเนา การโรเนียวหนังสือ หรือเอกสาร การถายสําเนา การออกแบบฟอรม 4.2 การควบคุมในการจัดเก็บ ควรจําแนกเอกสารออกเปน 4 ประเภทใหญๆ ดังที่ได กลาวมาแลวขางตน คือเอกสารที่ยงอยูในระหวางปฏิบัติงานเอกสารที่โตตอบเสร็จแลว เอกสารซึ่งมี ั ความสําคัญ และเอกสารซึ่งสมควรทําลาย เอกสารประเภทที่ 1 และ 2 ควรเก็บไวในบริเวณทีทํางาน ่ ประจําวัน เอกสารที่ไมใชบอยๆ เชน เอกสารที่สําคัญควรสงไปเก็บไว ณ หองหรือศูนยเก็บเอกสารกลาง  เมื่อครบระยะเวลาที่ใชอางอิงแลวควรเสนอขออนุมัติทําลายโดนดวนเพื่อเปนการประหยัดเนื้อทีเ่ ก็บ  เอกสาร และไมทําใหสํานักงานรุงรังไมเปนระเบียบ การดําเนินการควบคุมการจัดเก็บเอกสาร มีขั้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้ คือ (1) เอาเอกสารแตละแฟมหรือแตละกองออกมาสํารวจ (2) แยกประเภทเอกสารที่ไมไดใชงานบอย หรือ หมดคาในการใชออกจาก เอกสารที่ยังตองการใชเปนประจําวัน (3) จัดกลุมประเภทของหัวเรื่องการจําแนกแฟมในตูเอกสารหรือชั้นเสียใหม เพื่อใหการคนหางายเมือตองการใชภายหลัง ่ (4) วางมาตรฐานการดําเนินการจัดเก็บเอกสารเสียใหม ดังนี้
  • 9. 9 ก. ถาเปนเอกสารซึ่งยังดําเนินการไมเสร็จ คอยตอบรับหรือสอบหลักฐานตอง รอไปอีกนาน ควรเก็บเขาตูเอกสารในลิ้นชักที่ 1 หรือ 2 แตถาเปนเรื่องที่ตองทําใหเสร็จในวันนั้นหรือ วันรุงขึ้น ไมจําเปนตองเก็บ อาจทิ้งคางอยูในแฟมหรือในกระบะเก็บเอกสารบนโตะก็ได ข. สําหรับเอกสารที่ไดมีการตอบโตเสร็จแลว แตยังมีความจําเปนที่ จะตองใชอางอิงในการตอบโตเอกสารอยูบางครั้ง แมจะไมบอยครั้งนัก เราอาจจะเก็บไวในลิ้นชักที่ 3 หรือ 4 ก็ได   ค. เอกสารที่มีความสําคัญทางกฎหมาย ประวัติศาสตร หรือเกี่ยวกับหลักฐาน ทางการเงิน หรือเอกสารซึ่งปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว แตอาจจําเปนตองเก็บไวระยะหนึ่ง แตไมควรเก็บไว ณ สถานที่ทํางาน ใหสงไปเก็บไวตามศูนยเก็บเอกสารของกรมหรือหนวยงานนั้น  ง. ควรจะมีคณะกรรมการกําหนดการจัดเก็บเอกสารของกรมหรือกอง หรือมี หนวยงานซึ่งจะรับผิดชอบในการกําหนดระยะเวลาในการจัดเก็บเอกสารตางๆ ของกรมหรือหนวยงาน นั้นๆ เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานไดยึดถือเปนหลักในการจัดเก็บตอไป 4.3 การควบคุมในการกําจัดเอกสารซึ่งไมมคา ี การที่ไมมีกฎเกณฑกําหนดใหมีการสํารวจเอกสารเพื่อหาทางกําจัดเอกสารซึ่งไมมีคาใน การใชอางอิงอีกตอไป ทําใหปริมาณเอกสารเพิ่มมากขึ้นทุกที จนเกิดการกองเอกสาร(Piling) อยูทั่วไป ตามหนวยงานราชการ ซึ่งขัดตอหลักการจัดเก็บเอกสาร (Filing) ที่ดี เพื่อที่จะหาทางทําลายเอกสารที่ไมมีคุณคาในการอางอิงตอไป จึงสมควรที่จะไดมีการ กําหนดใหเจาหนาที่ปฏิบัติงานสํารวจเอกสารเพื่อจํากัดอยางนอยปละครั้ง โดยทําเปนรายการเสนอขอ อนุมติทําลายตอผูบังคับบัญชาระดับกอง ั การทําลายเอกสารจะทําไดโดย การเผา ขาย ใชเครื่องทําลายเอกสารไฟฟา (ในกรณีที่เปนเอกสารลับ) การจะทําลายโดยวิธใดก็แลวแตคาของเอกสารแตละชนิดเปนสําคัญ ี อายุการเก็บเอกสาร โดยทั่วไปเอกสารใหเก็บไวไมนอยกวา 10 ป เวนแตเอกสาร ดังนี้ 1. เอกสารที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญไมมีความสําคัญและเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนประจําเมื่อ ดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ใหเก็บไวไมนอยกวา 1 ป 2. เอกสารที่ปฏิบัติงานเสร็จแลว และเปนคูสําเนา มีตนฉบับหรือตนเรื่องสามารถคนหาไดจาก ที่อื่น ใหเก็บไวไมนอยกวา 5 ป 3. เอกสารที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียม ประเพณี สถิติ หลักฐาน หรือเรื่องที่ตอง ใชสําหรับการศึกษาคนควา ใหเก็บไวเปนหลักฐานตลอดไปหรือตามที่หอจดหมายเหตุแหงชาติกําหนด 4. เอกสารที่เปนหลักฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาลหรือของเจาพนักงานสอบสวนหรือ เอกสารอืนที่มกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวแลวใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบแบบแผนนัน ่ ี ้ 5. เอกสารที่ตองสงวนเปนความลับ ใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ วาดวยการรักษาความ ปลอดภัยแหงชาติ
  • 10. 10 การทําลายเอกสาร ในการปฏิบัติงานประจํานั้น ยอมมีเอกสารใหม ๆ เกิดขึ้นมาเสมอ ดังนั้น จึงเปนไปไมไดที่จะ เก็บเอกสารทุกชิ้นไวตลอดไป เพราะจะไมมีที่เก็บ จึงจําเปนตองมีการทําลายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้น แล ว ไปบ า ง ซึ่ ง ภายใน 60 วั น หลั ง จากสิ้ น ป ป ฏิ ทิ น ให เ จ า หน า ที่ ผู รั บ ผิ ด ชอบในการเก็ บ เอกสาร ดําเนินการสํารวจเอกสารที่ครบกําหนดอายุการเก็บในปนั้นแลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลาย เสนอ หัวหนาสวนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการทําลายเอกสาร สรุป การบริหารงานเอกสารหรือการจัดการเอกสาร (Records Management) หมายถึง งานซึ่ง เกี่ยวกับ การเก็บขอมูลของหนวยงาน เพื่อชวยเพิ่มความจําในงานสํานักงานและการตัดสินใจในทุก ระดับของผูบริหารในทุกองคกร จําเปนตองมีขอมูลประกอบเพื่อความถูกตองของการปฏิบัติงาน การบริหารเอกสาร เปนการดําเนินงานเอกสารใหบรรลุวัตถุประสงคตามลําดับขั้นตอนคือ การวางแผน การกําหนดหนาที่ และโครงสราง การจัดเก็บเอกสาร การกําหนดระบบการจัดเก็บเอกสาร การเก็บ รักษา การควบคุมเอกสารและการทําลายเอกสาร เราจะเห็นไดวาการบริหารงานเอกสารเปนหัวใจสําคัญยิ่งของการดําเนินงาน เพราะถาสามารถ บริหารงานเอกสารใหมีประสิทธิภาพแลวก็จะสามารถลดตนทุนในการดําเนินงานใหต่ําลงได โดยควร จะมี ก ารดํ า เนิ น นโยบายการบริห ารงานเอกสารไว และมี ห ลั ก การที่ ต อ งคํ านึ ง ถึ ง ปจ จั ย หลายอย า ง นอกจากนี้จะตองคํานึงถึงปริมาณหนังสือเอกสารในปจจุบันแลว ยังตองคํานึงถึงระบบที่สามารถขยาย ไดในอนาคตไมตองแกไขเปลี่ยนแปลงบอย ๆ ดวย การตัดสินใจวาหนวยงานแตละหนวยงาน ซึ่งมีวัตถุประสงคหรือประเภทของการประกอบการ ตางกัน การตัดสินใจในระบบใดในการเก็บเอกสาร เปนเรื่องที่จะตองพิจารณาอยางละเอียดรอบรอบ ตองมีการศึกษาวาระบบใด จึงจะทําใหการปฏิบัติงานการจัดเก็บเอกสารมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึงอาจ ่ สรุปไดวาการบริหารงานเอกสารเปนศูนยรวมของการบริหารงานทั้งมวลเปนกิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพื่อ ควบคุมวงจรชีวิตของเอกสาร ตั้งแตการผลิตไปจนถึงการทําลายเอกสาร
  • 11. 11 เอกสารอางอิง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 , 2546 : 1392. มุกดา เชื้อวัฒนา และคณะ. คูมือการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสาร. งานบริหารและธุรการ สํานักงานคณบดี คณะแพทยศาสตรสิริราชพยาบาล. อัญชลี มาตะโก. คูมอการจัดเก็บเอกสาร การคนหา-ใหยืมเอกสาร และการทําลายเอกสาร. กองกลาง ื งานจัดเก็บและรักษาเอกสาร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกรรมการจัดระบบเอกสาร. คูมือการจัดระบบเอกสารมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง. มหาวิทยาลัยแมฟา  หลวง พ.ศ. 2548. ไพโรจน พรหมสาสิน. แนวความคิดในการจัดสํานักงาน...(ราชการ)...ยุคใหม. นิตยสารทองถิ่น, 36,3 มี.ค. 2549. สุรัสวดี ราชกุลชัย. การบริหารสํานักงาน. พิมพครั้งที่ 2, 2543. ศิริวรรณ เสรีรัตน และสมชาย หิรัญกิตติ. การบริหารสํานักงานแบบใหม ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, 2538. ชัชวาล ขําเจริญ. งานสํานักงาน. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2533.