SlideShare a Scribd company logo
1 
 

                                        ทัศนภาพธุรกิจอนาคต (2)
                  
                     เริ่มตนเดือนมกราคมของป’53 ผูเขียนไดนําเสนอ ทัศนภาพธุรกิจอนาคต ซึงตั้งใจวาจะ
                                                                                         ่
ฉายทัศนภาพใน 4 ทัศนภาพดวยกันโดยทัศนภาพแรกเปนเรื่องของการสื่อสาร ทัศนภาพที่สองเปนเรื่องบิ๊ก
ไอเดียธุรกิจ ทัศนภาพที่สามเปนเรื่องการเปลี่ยนแปลงและทัศนภาพเปนเรื่องของความเปนผูนํา โดยได
                                                                                   
นําเสนอไปแลว 2 ทัศนภาพแรก ในครั้งนีจะเปนตอนตอของทัศนภาพที่สอง
                                    ้

ทัศนภาพที่สอง บิ๊กไอเดียธุรกิจ (ตอ)

                     ไดเลาไปแลววา “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” มีการไดมาอยู 2 วิธการคือ (1) วงจรชีวิตไอเดียภายใน
                                                                             ี
ธุรกิจ (2) วงจรชีวิตไอเดียจากภายนอกธุรกิจ แตที่ไมไดเลาใหฟงถึงสิงที่สาคัญตอการตายของไอเดียและ
                                                                     ่ ํ
เบื้องหลังทีมาของผูที่เปนกูรทางธุรกิจดังตอไปนี้
            ่                 ู

                        “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” ที่เกิดขึ้นนันสามารถ “ตาย” ได
                                                        ้
                     นักธุรกิจและนักการตลาดของไทยคงจะยังจํากันได ในชวงป’1993 มีแนวคิดเรื่อง
Reengineering หรือการรื้อปรับระบบ โดย Hammer กับ Champy ไดสรางความโดงดังและเปนที่ยอมรับ
                                                รูปที่ 1 Reengineering ในวงจร P




                                            โปรแกรม

                                                                                  มุมมอง
                                  โครงการ
                                                                                      ความแพรหลาย

                           นํารอง
    การตระหนัก
    ในการจัดการ

             จุดกําเนิด                                                   เวลา

     Davenport , Prusak & Wilson,(2003). What’s the BIG IDEA p.158
 




Dr.Danai Thieanphut                                      Copyright 2010              DNT Consultants Co.,Ltd 
2 
 

จนมีการนําไปใชกันทั่วโลก ขนาด Drucker ยังเขียนบอกวา “Reengineering เปนสิ่งใหมและธุรกิจตอง
ทํา” ซึ่งหากวิเคราะหตามวงจรชีวิตไอเดียที่เรียกวา P Cycle ดังรูปที่ 1 จะเห็นวาไมไดรับความนิยมและตาย
ไปในที่สุดโดยเฉพาะในเมืองไทยดวยเหตุผลดังนี้
                     คนไทยหรือธุรกิจไทยฟงและคิดตามวา การรื้อปรับองคกรเปนสิ่งที่นากลัวและกลัว
                                                                                    
ตัวเองตกงาน
                     ธุรกิจตองไมลมวา การเปลี่ยนแปลงทุกอยางตองดําเนินการดวยคน ถาคนและความ
                                   ื
ตองการกับพฤติกรรมไมใชศูนยกลางหรืออยูเหนือสิ่งอืนใดในทุกวิธีการใหมหรือไอเดียใหมกถึงเวลาบอก
                                                    ่                                 ็
ลาบิ๊กไอเดียนันได
              ้
                     เมื่อไอเดียใหมมาแบบ “ขามาคนเดียว” ตองไมลืมคิดเกี่ยวกับไอเดียเกา Re-
engineering ควรจะเปนการโตแยงมากกวาเขามาแทนที่ในใจกูรู (Guru) และใจของผูบริหาร
                “ไมมีไอเดียธุรกิจโดดๆ หนึ่งเดียวเปนสิงที่มพลังครอบคลุมทั้งหมด”
                                                       ่ ี
                     การเปลี่ยนแปลงแบบขุดรากถอนโคน (Radical Change) เปนความเสี่ยงที่ซอนอยู
ภายในที่มากกวาการคอยๆ เปลี่ยนแปลง (Incremental Change) ยกเวนทานจะควบคุมมันได
                     ตัวอยางที่ชัดเจนในป 2009 อีกบิ๊กไอเดียธุรกิจคือ กลยุทธทะเลสีน้ําเงิน (BOS: Blue
Ocean Strategy) ก็อยูในลักษณะ “บิกไอเดียธุรกิจที่ตายเชนเดียวกับ Reengineering” ซึ่งในเมืองไทย
                                  ๊
เปนที่รูจกกันแค 1-3 ปเทานันเอง และนักกลยุทธ ที่ปรึกษาธุรกิจชั้นนําของเมืองไทยก็ทิ้งแนวคิด BOS ไป
           ั                   ้
จากสาระบบของการจัดการเชิงกลยุทธ หรือบริษัทชั้นนําของโลกโดยเฉพาะประเทศจากเอเชียเหนือที่เคย
ใชแนวคิด BOS เมื่อ 2 ปกอนก็ทิ้งแนวคิดนี้ไปแบบไมมีเยื่อใย (ผูเขียนไดเขาไปเปนวิทยากรบรรยายเรื่อง
                         
การวิเคราะหกลยุทธธุรกิจใหกับบริษทในเอเซียเหนือและไดคุยกันในเรื่องนี้)
                                  ั
                     แนวคิดดังกลาวไมเปดโอกาสใหนักกลยุทธหรือสถาบันการศึกษาใดไดวิเคราะห หรือ
นํามาพูดในธุรกิจไดโดยมองวาเปน“สินทรัพยทางปญญาของเจาของแนวคิดหรือผูที่ไดรับอนุญาตเทานั้น”
                                                                        
                     นักกลยุทธหรือกูรูท่คิดบิ๊กไอเดียตองไมลืมวา ธุรกิจหรือนักกลยุทธ บริษัทที่ปรึกษา-
                                        ี
ทางธุรกิจ มีเครื่องมือทางกลยุทธใหเลือกใชจานวนมาก และการคิดเรื่องนวัตกรรมนั้นไมไดมีวธีเดียว
                                           ํ                                           ิ
สามารถหยิบใชไดมากมายและยังมีการศึกษาวิจยหรือคิดไดเองดวย
                                         ั
                     ที่สําคัญเปนอยางยิ่งนักกลยุทธและที่ปรึกษาธุรกิจชันนําในเมืองไทย มักจะเปน
                                                                        ้
อาจารยพิเศษในสํานัก MBA หรือสอนในวิชาทางกลยุทธจึงเลือกที่จะเสนอให นศ.MBA และธุรกิจใช



Dr.Danai Thieanphut                        Copyright 2010                    DNT Consultants Co.,Ltd 
3 
 

เครื่องมือทางกลยุทธที่เปดกวางพรอมใหมีการตอยอดองคความรู และรังสรรคเครื่องมือทางกลยุทธใหมสู
ธุรกิจมากกวา แนวคิดที่ปดกั้นและจํากัดแบบกลยุทธทะเลสีนาเงินหรือไมวาแนวคิดใดก็ตามที่เปนเชนนี้
                                                       ้ํ
                      เบื้องหลังของผูเปนกูรทางธุรกิจ ในประเด็นนี้ผูเขียนเปนวาเปนสิ่งทีนาสนใจวา
                                             ู                                              ่
                   -ทําไมชาติตะวันตกถึงไดสามารถคิดทฤษฎี หรือ มีแนวคิดแบบบิ๊กไอเดีย ไดอยู
ตลอดเวลา และก็เห็นมีออกมาอยางตอเนื่องในโลกธุรกิจแบบไมหยุดหยอน จนกระทั่งบางครั้งเรารูสกวา
                                                                                          ึ
ทําไมชาติตะวันตกจึงชางคิดกันเหลือเกิน
                   -ในประเทศอาเซียนดวยกัน จะเห็นวาชางยากเสียนีกระไร ที่จะเกิดไอเดียทางธุรกิจ หรือ
                                                                 ่
ในรอบ 10-20 ปก็อาจจะไมเกิดขึ้นมาเลย เห็นมีตัวอยางที่ชัดเจนจนสามารถพูดไดวาเปนผูคิดไอเดียใหม ๆ
                                                                            
คงมีเพียง ประเทศญี่ปุนเทานั้นที่สามารถสงออกเทคโนโลยีจากความคิดของชาวญีปุน มีไอเดียใหม ๆ ทาง
                                                                         ่
ธุรกิจที่ชาติตะวันตกใหความสนใจและเฝาติดตาม
                   -ขณะที่ประเทศไทยมีความพยายามกันนักกันหนา ทังคิดในเรื่อง Value Creation
                                                              ้
จนกระทั่งปจจุบัน กาวไปขนาดประกาศถึง Creative Economy ไมรูวาเปนไปไดหรือเปนความฝน
                                                              
ทามกลางโลกรอน
                   เมื่อศึกษาอยางลึกซึงพบกันวาที่ชาติตะวันตกมี “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” หรือ “กูรูทางธุรกิจ” ที่
                                       ้
คิดไอเดีย ๆ เครื่องมือการจัดการใหม ๆ กลยุทธทางธุรกิจและการตลาดใหม ๆ มีสิ่งที่เปนพืนฐาน
                                                                                     ้
เบื้องหลังทีเ่ หมือนกันอยู 4 อยางดวยกันคือ
                   1.ความเปนวิชาการทางธุรกิจ พืนฐานนีมักจะมาจาก บุคคลที่อยูในภาควิชาของสํานัก
                                                ้     ้
ธุรกิจ ของมหา’ลัย ที่สามารถทําการวิจัย และ เขียนสิงที่เปนความเกียวของกับผูบริหาร ความเปนวิชาการ
                                                  ่              ่          
ไมเพียงแตสรางงานวิจยและงานสอน แตปกติยังทํางานที่ปรึกษา และวิทยากรบรรยาย ตย. Michael
                      ั
Porter ที่ Harvard, C.K. Prahalad ที่ U of Michigan และ Lester Thurow ที่ MIT
                   2.ที่ปรึกษาธุรกิจ คนกลุมนี้งานหลักคือการใหคาปรึกษากับธุรกิจ บทบาทสําคัญเริ่มแรก
                                                                ํ
จะเกี่ยวของกับการสรางความเปนผูนาทางความคิด ดวยสมรรถภาพดังกลาวจะมีการเขียนบทความ
                                   ํ
หนังสือ และการบรรยายในการประชุม และภายในบริษัทตางๆ เชน Gary Hamel, Stan Davis, Jim
Collins
                   3.ผูจัดการในภาคสนาม โดยปกติ CEOs ของธุรกิจใหญ ๆ บริษททีประสบความสําเร็จ
                                                                         ั ่
คนเหลานี้จะเขียนหรือ พูดเกี่ยวกับวิธการจัดการที่เขาปรับใชในธุรกิจ เชน Jack Welch แหง GE Andy
                                     ี
Grove แหง Intel Sam Walton แหง Wal Mart และ Alfred Sloan แหง GM


Dr.Danai Thieanphut                             Copyright 2010                   DNT Consultants Co.,Ltd 
4 
 

                   4.นักหนังสือพิมพ คน นสพ. ที่เขียนหรือเปนบรรณาธิการนิตยสารทางธุรกิจ หรือ นสพ.
ทางธุรกิจ ก็ยงเขียนหนังสืออีกดวย เชน Tom Strewart ที่ HBR อดีตเขียนที่ Fortune และ Business 2.0
             ั
เปนผูแตงหนังสือ Intellectual Capital
                   ทั้งหมดนี้คือเบื้องหลังของ นักคิดไอเดียใหม ๆ หรือ บิกไอเดีย ที่ตอมาเปนกูรูทางธุรกิจ
                                                                        ๊
                      นักคิดไอเดียธุรกิจหรือ กูรทางธุรกิจ (Business Guru) สวนใหญจะเผชิญความทา
                                                ู
ทายอะไรบางที่จะมีนวัตกรรมธุรกิจ
                สิ่งนี้เปนหัวใจสําคัญมากเพราะหลายๆ ธุรกิจเขาใจวา การเกิดไอเดียธุรกิจตองมาจาก
การจางคนที่ถกตองเขามาในบริษัท บริษทตองจัดสภาพแวดลอมใหเกิดไอเดียใหมๆ
             ู                       ั
                บรรณาธิการ Harvard Business Review คือ Adi Ignatius พูดไวในบทบรรณาธิการ
ฉบับเดือนธันวาคม 2509 “นวัตกรรม....ไมใชเกี่ยวกับการวาจางคนทีถูกตองหรือการยุยงสงเสริม
                                                                ่
วัฒนธรรมที่ถกตอง แตนวัตกรรมเปนสิ่งที่คนในองคกรตองทําดวยตนเอง โดยการถามคําถามทีถูกตอง
            ู                                                                       ่
การสังเกตพฤติกรรมคนในองคกร ทําการทดลอง และสรางเครือขายในวิธที่ไมไดคาดหวัง รวมทังการ
                                                              ี                     ้
สรางสายสัมพันธขามเหนือวินัยองคกร
                โดยสรุปแลว บทเสริมในเรื่องของ ทัศนภาพที่สองบิ๊กไอเดียธุรกิจ ผูเขียนขอนําเสนอ
“ความทาทาย 3 อยางของนวัตกรรมธุรกิจ” จากหนังสือ “The Innovation Manual: Integrated
Strategies and Practical Tools for Bring Value Innovation to the Market” โดย David Midgley
(2009) ที่บอกวา
                ......เราเห็นความทาทายของนวัตกรรมธุรกิจ         เปนความทาทายที่แตกตางกัน 3 ความ-
ทาทายคือ
                (1) การพัฒนานวัตกรรมและระบบการสงมอบนวัตกรรม
                (2) มีลูกคาที่จะปรับรับนวัตกรรม
                (3) ความเหมาะสมในการแบงปนคุณคาใหมอยางยุติธรรม




Dr.Danai Thieanphut                          Copyright 2010                    DNT Consultants Co.,Ltd 
5 
 

                  โดยความทาทายทัง 3 อยางมีรายละเอียดใหธุรกิจและนักการตลาดไดไปขบคิดตอ ดังรูป
                                 ้
ที่ 2


                                        รูปที่ 2 : 3 ความทาทายของนวัตกรรมธุรกิจ
            ความทาทายดานลูกคา
            ความตอ งการที่ได รับ        ความตอ งการที่ซอ นอยู
              การพิสูจน                  เซกเมนตฺที่ไมมีใครตอบสนอง
            เซกเมนตที่มีอยู             แบรนดใหม
            แบรนดในปจจุบัน              ประสบการณใหม
            ประสบการณทั่ว ไป             กรอบคิดที่เปนไปไดห ลากหลาย
            กรอบคิดที่เห็นไดชัด

                                                                   ความทาทายดานการพัฒนา
                                                                   เทคโนโลยีที่ มีอยู       เทคโนโลยีใหม
                                                                   องคกรในปจจุบัน          องคกรใหม
                                                                   กระบวนการปจจุบัน         กระบวนการใหม
                                                                   ขอเสนอแบบงายๆ           โซลู ชั่นที่ซับซอน
                                                                   ผลิตภัณฑที่จับตอ งได   บริการที่จับตอ งไมได


               ความทาทายดานความเหมาะสม
            โมเดลธุรกิจปจจุบัน             โมเดลธุรกิจใหม
            การจัดจําหนายที่เปนอยู       การจัดจําหน ายใหม
            ซัพพลายเชนปจจุบัน              ซัพพลายเชนใหม
            คูแขงที่มีอยู                คูแขงใหม
            พันธมิตรที่ออนแอ               พันธมิต รที่มีอํานาจ


*Midgley, D. (2009). The Innovation Manual. P.9

                    

                   ในรูปสิ่งทีจะเปนนวัตกรรมธุรกิจใหมจากความทาทายทั้งดานลูกคา การพัฒนาและความ
                              ่
เหมาะสมคือ รายการทางขวาที่นะสงมาจากดานซายของทัง 3 ความทาทาย 
                                                 ้

                   พบกันใหมในคราวหนาครับ จะเปนเรื่องทัศนภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลง 

 




Dr.Danai Thieanphut                                     Copyright 2010                             DNT Consultants Co.,Ltd 

More Related Content

Viewers also liked

SDU Competency Model 2009
SDU  Competency Model 2009SDU  Competency Model 2009
SDU Competency Model 2009
DrDanai Thienphut
 
The KM Concept
The KM ConceptThe KM Concept
The KM Concept
DrDanai Thienphut
 
Academic Advancement
Academic AdvancementAcademic Advancement
Academic Advancement
DrDanai Thienphut
 
China Marketing
China MarketingChina Marketing
China Marketing
DrDanai Thienphut
 
K Culture & Management
K Culture & ManagementK Culture & Management
K Culture & Management
DrDanai Thienphut
 
Political Marketing
Political MarketingPolitical Marketing
Political Marketing
DrDanai Thienphut
 
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒ
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒแบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒ
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒDrDanai Thienphut
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
DrDanai Thienphut
 
Challenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODELChallenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODEL
DrDanai Thienphut
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎาดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
DrDanai Thienphut
 
Uni-Charm
Uni-CharmUni-Charm
Oishi
OishiOishi
Entrepreneurship
EntrepreneurshipEntrepreneurship
Entrepreneurship
DrDanai Thienphut
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
DrDanai Thienphut
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
DrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
DrDanai Thienphut
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Apple
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Appleดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Apple
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ AppleDrDanai Thienphut
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
DrDanai Thienphut
 

Viewers also liked (20)

SDU Competency Model 2009
SDU  Competency Model 2009SDU  Competency Model 2009
SDU Competency Model 2009
 
The KM Concept
The KM ConceptThe KM Concept
The KM Concept
 
Academic Advancement
Academic AdvancementAcademic Advancement
Academic Advancement
 
China Marketing
China MarketingChina Marketing
China Marketing
 
K Culture & Management
K Culture & ManagementK Culture & Management
K Culture & Management
 
Political Marketing
Political MarketingPolitical Marketing
Political Marketing
 
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒ
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒแบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒ
แบบประเมินความสามารถ ปี53 ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
Challenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODELChallenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODEL
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎาดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
 
Cycle time management
Cycle time managementCycle time management
Cycle time management
 
Uni-Charm
Uni-CharmUni-Charm
Uni-Charm
 
Oishi
OishiOishi
Oishi
 
Developing Hc
Developing HcDeveloping Hc
Developing Hc
 
Entrepreneurship
EntrepreneurshipEntrepreneurship
Entrepreneurship
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต 1
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Apple
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Appleดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Apple
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :โมเดลธุรกิจของ Apple
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
 

Similar to ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2

ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
DrDanai Thienphut
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
DrDanai Thienphut
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
siroros
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการChanida_Aingfar
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
DrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
Teetut Tresirichod
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
DrDanai Thienphut
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
DrDanai Thienphut
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)
Goal Maria
 
แนวคิด CEO
แนวคิด CEOแนวคิด CEO
แนวคิด CEO
ธนพล บุญคุ้ม
 
9789740333197
97897403331979789740333197
9789740333197CUPress
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
torprae
 

Similar to ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2 (20)

ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
 
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจPเกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการ
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 
Innovative thinking
Innovative thinkingInnovative thinking
Innovative thinking
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)
 
แนวคิด CEO
แนวคิด CEOแนวคิด CEO
แนวคิด CEO
 
9789740333197
97897403331979789740333197
9789740333197
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
 

More from DrDanai Thienphut

PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
DrDanai Thienphut
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
DrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
DrDanai Thienphut
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
DrDanai Thienphut
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
DrDanai Thienphut
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
DrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
DrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
DrDanai Thienphut
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
DrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
DrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
DrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
DrDanai Thienphut
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2

  • 1. 1    ทัศนภาพธุรกิจอนาคต (2)   เริ่มตนเดือนมกราคมของป’53 ผูเขียนไดนําเสนอ ทัศนภาพธุรกิจอนาคต ซึงตั้งใจวาจะ ่ ฉายทัศนภาพใน 4 ทัศนภาพดวยกันโดยทัศนภาพแรกเปนเรื่องของการสื่อสาร ทัศนภาพที่สองเปนเรื่องบิ๊ก ไอเดียธุรกิจ ทัศนภาพที่สามเปนเรื่องการเปลี่ยนแปลงและทัศนภาพเปนเรื่องของความเปนผูนํา โดยได  นําเสนอไปแลว 2 ทัศนภาพแรก ในครั้งนีจะเปนตอนตอของทัศนภาพที่สอง ้ ทัศนภาพที่สอง บิ๊กไอเดียธุรกิจ (ตอ) ไดเลาไปแลววา “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” มีการไดมาอยู 2 วิธการคือ (1) วงจรชีวิตไอเดียภายใน ี ธุรกิจ (2) วงจรชีวิตไอเดียจากภายนอกธุรกิจ แตที่ไมไดเลาใหฟงถึงสิงที่สาคัญตอการตายของไอเดียและ ่ ํ เบื้องหลังทีมาของผูที่เปนกูรทางธุรกิจดังตอไปนี้ ่ ู “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” ที่เกิดขึ้นนันสามารถ “ตาย” ได ้ นักธุรกิจและนักการตลาดของไทยคงจะยังจํากันได ในชวงป’1993 มีแนวคิดเรื่อง Reengineering หรือการรื้อปรับระบบ โดย Hammer กับ Champy ไดสรางความโดงดังและเปนที่ยอมรับ รูปที่ 1 Reengineering ในวงจร P โปรแกรม มุมมอง โครงการ ความแพรหลาย นํารอง การตระหนัก ในการจัดการ จุดกําเนิด เวลา Davenport , Prusak & Wilson,(2003). What’s the BIG IDEA p.158   Dr.Danai Thieanphut  Copyright 2010   DNT Consultants Co.,Ltd 
  • 2. 2    จนมีการนําไปใชกันทั่วโลก ขนาด Drucker ยังเขียนบอกวา “Reengineering เปนสิ่งใหมและธุรกิจตอง ทํา” ซึ่งหากวิเคราะหตามวงจรชีวิตไอเดียที่เรียกวา P Cycle ดังรูปที่ 1 จะเห็นวาไมไดรับความนิยมและตาย ไปในที่สุดโดยเฉพาะในเมืองไทยดวยเหตุผลดังนี้ คนไทยหรือธุรกิจไทยฟงและคิดตามวา การรื้อปรับองคกรเปนสิ่งที่นากลัวและกลัว  ตัวเองตกงาน ธุรกิจตองไมลมวา การเปลี่ยนแปลงทุกอยางตองดําเนินการดวยคน ถาคนและความ ื ตองการกับพฤติกรรมไมใชศูนยกลางหรืออยูเหนือสิ่งอืนใดในทุกวิธีการใหมหรือไอเดียใหมกถึงเวลาบอก ่ ็ ลาบิ๊กไอเดียนันได ้ เมื่อไอเดียใหมมาแบบ “ขามาคนเดียว” ตองไมลืมคิดเกี่ยวกับไอเดียเกา Re- engineering ควรจะเปนการโตแยงมากกวาเขามาแทนที่ในใจกูรู (Guru) และใจของผูบริหาร “ไมมีไอเดียธุรกิจโดดๆ หนึ่งเดียวเปนสิงที่มพลังครอบคลุมทั้งหมด” ่ ี การเปลี่ยนแปลงแบบขุดรากถอนโคน (Radical Change) เปนความเสี่ยงที่ซอนอยู ภายในที่มากกวาการคอยๆ เปลี่ยนแปลง (Incremental Change) ยกเวนทานจะควบคุมมันได ตัวอยางที่ชัดเจนในป 2009 อีกบิ๊กไอเดียธุรกิจคือ กลยุทธทะเลสีน้ําเงิน (BOS: Blue Ocean Strategy) ก็อยูในลักษณะ “บิกไอเดียธุรกิจที่ตายเชนเดียวกับ Reengineering” ซึ่งในเมืองไทย ๊ เปนที่รูจกกันแค 1-3 ปเทานันเอง และนักกลยุทธ ที่ปรึกษาธุรกิจชั้นนําของเมืองไทยก็ทิ้งแนวคิด BOS ไป ั ้ จากสาระบบของการจัดการเชิงกลยุทธ หรือบริษัทชั้นนําของโลกโดยเฉพาะประเทศจากเอเชียเหนือที่เคย ใชแนวคิด BOS เมื่อ 2 ปกอนก็ทิ้งแนวคิดนี้ไปแบบไมมีเยื่อใย (ผูเขียนไดเขาไปเปนวิทยากรบรรยายเรื่อง  การวิเคราะหกลยุทธธุรกิจใหกับบริษทในเอเซียเหนือและไดคุยกันในเรื่องนี้) ั แนวคิดดังกลาวไมเปดโอกาสใหนักกลยุทธหรือสถาบันการศึกษาใดไดวิเคราะห หรือ นํามาพูดในธุรกิจไดโดยมองวาเปน“สินทรัพยทางปญญาของเจาของแนวคิดหรือผูที่ไดรับอนุญาตเทานั้น”  นักกลยุทธหรือกูรูท่คิดบิ๊กไอเดียตองไมลืมวา ธุรกิจหรือนักกลยุทธ บริษัทที่ปรึกษา- ี ทางธุรกิจ มีเครื่องมือทางกลยุทธใหเลือกใชจานวนมาก และการคิดเรื่องนวัตกรรมนั้นไมไดมีวธีเดียว ํ ิ สามารถหยิบใชไดมากมายและยังมีการศึกษาวิจยหรือคิดไดเองดวย ั ที่สําคัญเปนอยางยิ่งนักกลยุทธและที่ปรึกษาธุรกิจชันนําในเมืองไทย มักจะเปน ้ อาจารยพิเศษในสํานัก MBA หรือสอนในวิชาทางกลยุทธจึงเลือกที่จะเสนอให นศ.MBA และธุรกิจใช Dr.Danai Thieanphut  Copyright 2010   DNT Consultants Co.,Ltd 
  • 3. 3    เครื่องมือทางกลยุทธที่เปดกวางพรอมใหมีการตอยอดองคความรู และรังสรรคเครื่องมือทางกลยุทธใหมสู ธุรกิจมากกวา แนวคิดที่ปดกั้นและจํากัดแบบกลยุทธทะเลสีนาเงินหรือไมวาแนวคิดใดก็ตามที่เปนเชนนี้ ้ํ เบื้องหลังของผูเปนกูรทางธุรกิจ ในประเด็นนี้ผูเขียนเปนวาเปนสิ่งทีนาสนใจวา ู ่ -ทําไมชาติตะวันตกถึงไดสามารถคิดทฤษฎี หรือ มีแนวคิดแบบบิ๊กไอเดีย ไดอยู ตลอดเวลา และก็เห็นมีออกมาอยางตอเนื่องในโลกธุรกิจแบบไมหยุดหยอน จนกระทั่งบางครั้งเรารูสกวา ึ ทําไมชาติตะวันตกจึงชางคิดกันเหลือเกิน -ในประเทศอาเซียนดวยกัน จะเห็นวาชางยากเสียนีกระไร ที่จะเกิดไอเดียทางธุรกิจ หรือ ่ ในรอบ 10-20 ปก็อาจจะไมเกิดขึ้นมาเลย เห็นมีตัวอยางที่ชัดเจนจนสามารถพูดไดวาเปนผูคิดไอเดียใหม ๆ  คงมีเพียง ประเทศญี่ปุนเทานั้นที่สามารถสงออกเทคโนโลยีจากความคิดของชาวญีปุน มีไอเดียใหม ๆ ทาง ่ ธุรกิจที่ชาติตะวันตกใหความสนใจและเฝาติดตาม -ขณะที่ประเทศไทยมีความพยายามกันนักกันหนา ทังคิดในเรื่อง Value Creation ้ จนกระทั่งปจจุบัน กาวไปขนาดประกาศถึง Creative Economy ไมรูวาเปนไปไดหรือเปนความฝน  ทามกลางโลกรอน เมื่อศึกษาอยางลึกซึงพบกันวาที่ชาติตะวันตกมี “บิ๊กไอเดียธุรกิจ” หรือ “กูรูทางธุรกิจ” ที่ ้ คิดไอเดีย ๆ เครื่องมือการจัดการใหม ๆ กลยุทธทางธุรกิจและการตลาดใหม ๆ มีสิ่งที่เปนพืนฐาน ้ เบื้องหลังทีเ่ หมือนกันอยู 4 อยางดวยกันคือ 1.ความเปนวิชาการทางธุรกิจ พืนฐานนีมักจะมาจาก บุคคลที่อยูในภาควิชาของสํานัก ้ ้ ธุรกิจ ของมหา’ลัย ที่สามารถทําการวิจัย และ เขียนสิงที่เปนความเกียวของกับผูบริหาร ความเปนวิชาการ ่ ่  ไมเพียงแตสรางงานวิจยและงานสอน แตปกติยังทํางานที่ปรึกษา และวิทยากรบรรยาย ตย. Michael ั Porter ที่ Harvard, C.K. Prahalad ที่ U of Michigan และ Lester Thurow ที่ MIT 2.ที่ปรึกษาธุรกิจ คนกลุมนี้งานหลักคือการใหคาปรึกษากับธุรกิจ บทบาทสําคัญเริ่มแรก ํ จะเกี่ยวของกับการสรางความเปนผูนาทางความคิด ดวยสมรรถภาพดังกลาวจะมีการเขียนบทความ ํ หนังสือ และการบรรยายในการประชุม และภายในบริษัทตางๆ เชน Gary Hamel, Stan Davis, Jim Collins 3.ผูจัดการในภาคสนาม โดยปกติ CEOs ของธุรกิจใหญ ๆ บริษททีประสบความสําเร็จ ั ่ คนเหลานี้จะเขียนหรือ พูดเกี่ยวกับวิธการจัดการที่เขาปรับใชในธุรกิจ เชน Jack Welch แหง GE Andy ี Grove แหง Intel Sam Walton แหง Wal Mart และ Alfred Sloan แหง GM Dr.Danai Thieanphut  Copyright 2010   DNT Consultants Co.,Ltd 
  • 4. 4    4.นักหนังสือพิมพ คน นสพ. ที่เขียนหรือเปนบรรณาธิการนิตยสารทางธุรกิจ หรือ นสพ. ทางธุรกิจ ก็ยงเขียนหนังสืออีกดวย เชน Tom Strewart ที่ HBR อดีตเขียนที่ Fortune และ Business 2.0 ั เปนผูแตงหนังสือ Intellectual Capital ทั้งหมดนี้คือเบื้องหลังของ นักคิดไอเดียใหม ๆ หรือ บิกไอเดีย ที่ตอมาเปนกูรูทางธุรกิจ ๊ นักคิดไอเดียธุรกิจหรือ กูรทางธุรกิจ (Business Guru) สวนใหญจะเผชิญความทา ู ทายอะไรบางที่จะมีนวัตกรรมธุรกิจ สิ่งนี้เปนหัวใจสําคัญมากเพราะหลายๆ ธุรกิจเขาใจวา การเกิดไอเดียธุรกิจตองมาจาก การจางคนที่ถกตองเขามาในบริษัท บริษทตองจัดสภาพแวดลอมใหเกิดไอเดียใหมๆ ู ั บรรณาธิการ Harvard Business Review คือ Adi Ignatius พูดไวในบทบรรณาธิการ ฉบับเดือนธันวาคม 2509 “นวัตกรรม....ไมใชเกี่ยวกับการวาจางคนทีถูกตองหรือการยุยงสงเสริม ่ วัฒนธรรมที่ถกตอง แตนวัตกรรมเปนสิ่งที่คนในองคกรตองทําดวยตนเอง โดยการถามคําถามทีถูกตอง ู ่ การสังเกตพฤติกรรมคนในองคกร ทําการทดลอง และสรางเครือขายในวิธที่ไมไดคาดหวัง รวมทังการ ี ้ สรางสายสัมพันธขามเหนือวินัยองคกร โดยสรุปแลว บทเสริมในเรื่องของ ทัศนภาพที่สองบิ๊กไอเดียธุรกิจ ผูเขียนขอนําเสนอ “ความทาทาย 3 อยางของนวัตกรรมธุรกิจ” จากหนังสือ “The Innovation Manual: Integrated Strategies and Practical Tools for Bring Value Innovation to the Market” โดย David Midgley (2009) ที่บอกวา ......เราเห็นความทาทายของนวัตกรรมธุรกิจ เปนความทาทายที่แตกตางกัน 3 ความ- ทาทายคือ (1) การพัฒนานวัตกรรมและระบบการสงมอบนวัตกรรม (2) มีลูกคาที่จะปรับรับนวัตกรรม (3) ความเหมาะสมในการแบงปนคุณคาใหมอยางยุติธรรม Dr.Danai Thieanphut  Copyright 2010   DNT Consultants Co.,Ltd 
  • 5. 5    โดยความทาทายทัง 3 อยางมีรายละเอียดใหธุรกิจและนักการตลาดไดไปขบคิดตอ ดังรูป ้ ที่ 2 รูปที่ 2 : 3 ความทาทายของนวัตกรรมธุรกิจ ความทาทายดานลูกคา ความตอ งการที่ได รับ ความตอ งการที่ซอ นอยู การพิสูจน เซกเมนตฺที่ไมมีใครตอบสนอง เซกเมนตที่มีอยู แบรนดใหม แบรนดในปจจุบัน ประสบการณใหม ประสบการณทั่ว ไป กรอบคิดที่เปนไปไดห ลากหลาย กรอบคิดที่เห็นไดชัด ความทาทายดานการพัฒนา เทคโนโลยีที่ มีอยู เทคโนโลยีใหม องคกรในปจจุบัน องคกรใหม กระบวนการปจจุบัน กระบวนการใหม ขอเสนอแบบงายๆ โซลู ชั่นที่ซับซอน ผลิตภัณฑที่จับตอ งได บริการที่จับตอ งไมได ความทาทายดานความเหมาะสม โมเดลธุรกิจปจจุบัน โมเดลธุรกิจใหม การจัดจําหนายที่เปนอยู การจัดจําหน ายใหม ซัพพลายเชนปจจุบัน ซัพพลายเชนใหม คูแขงที่มีอยู คูแขงใหม พันธมิตรที่ออนแอ พันธมิต รที่มีอํานาจ *Midgley, D. (2009). The Innovation Manual. P.9           ในรูปสิ่งทีจะเปนนวัตกรรมธุรกิจใหมจากความทาทายทั้งดานลูกคา การพัฒนาและความ ่ เหมาะสมคือ รายการทางขวาที่นะสงมาจากดานซายของทัง 3 ความทาทาย  ้ พบกันใหมในคราวหนาครับ จะเปนเรื่องทัศนภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลง    Dr.Danai Thieanphut  Copyright 2010   DNT Consultants Co.,Ltd