SlideShare a Scribd company logo
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557 
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ
ความคิดที่อิสระและรูสึกสบายๆ จะเกิดขึ้นในขณะไดเสร็จสิ้นภารกิจหรือการทํางานชิ้น
ใหญๆ ซึ่งติดคางมานานจนไมสามารถทําใหสําเร็จ แตพอทําเสร็จความรูสึกอิสระก็บังเกิดขึ้น
กลยุทธ (Strategy) นาจะมีลักษณะดังกลาวในประสบการณดานที่ปรึกษาธุรกิจและการ
จัดทํากลยุทธของผูเขียนซึ่งไดผานชวงเวลาในเรื่องนี้มาไดครบ 2 ทศวรรษพอดี ไดเห็นธุรกิจตางๆ ตั้งแต
การริเริ่มกลยุทธ พัฒนากลยุทธ การขับเคลื่อนกลยุทธหรือการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ และการพัฒนา
ตัวชี้วัด หรือดัชนีวัดผลสําเร็จของกลยุทธ ซึ่งเปนการเรียนรูทางกลยุทธ (Strategic Learning) อันนาสนใจ
เปนอยางยิ่ง
 อดีตที่ทาทายของกลยุทธ
ในระหวางที่ผูเขียนกําลังสังเคราะห “The New Strategic Management” เพราะเห็นวา
ธุรกิจมีการใชการจัดการเชิงกลยุทธระบบ BSC (Balanced Scorecard) และ KPIs (Key Performance
Indicators) มาจะเกือบ 2 0ป ซึ่งเราไดเห็นบางอยางเกิดความคลาดเคลื่อนในหลายประการเมื่องธุรกิจ
และหนวยงานตาง ๆ นําไปปฏิบัติ
 การนําระบบประกันคุณภาพมาเปน “End Results” ในลักษณะยอนกลับ (Reverse )
มาเปนเปาหมายการทํางาน เชน กําหนดเปาหมาย แผนงานและดัชนีวัดโดยใชกลยุทธ (Strategy) เปน
เพียงมาตรการหรือแนวทาง (Guideline)
ซึ่งมีใหเห็นในการจัดทํากลยุทธที่เรียกวา แผนยุทธศาสตรกับแผนปฏิบัติราชการ สําหรับ
องคกรหรือหนวยงานของรัฐ แลวจัดทําเหมือนๆ กันหมด (Me-too-Action)
ผลสรุป เราจึงไมเห็นความแตกตางหรือความทาทายใดๆ เกิดขึ้น หากทานผูอานนึกถึง
ราน 7-11 ก็คงมีหนาตาขายสินคาเหมือนๆ กัน ไปทุกแหงไมไดเกิดความรูสึกโดนๆ หรือมีความทาทาย
อยางไรใหเขาไปคนหา
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557 
 มีการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Maps) ตามแนวคิดของ Kaplan และ Norton แต
เราพบวาแผนที่กลยุทธดังกลาวไมไดเชื่อมโยงกับทัศนภาพ (Scenario) หรือมีกลยุทธที่บอกถึงความเกง
และความเชี่ยวชาญอันโดดเดนของธุรกิจซึ่งใชในการแขงขัน
นักกลยุทธในปจจุบันไดลงขอสรุปกันวา “แผนที่กลยุทธไมชวยสรางกลยุทธใหม”
 การพัฒนากลยุทธธุรกิจในตลอด 2 ชวงทศวรรษ
กลยุทธหรือ Strategy เปน “คํา” หรือ “วิธีการ” และมีความเปนมาอยางยาวนาน
ประมาณป’37-57 ผูเขียนบุกเบิกการจัดทําดัชนีวัดผลสําเร็จ (KPIs-Key Performance
Indicators) และการจัดทํากลยุทธดวย BSC (Balanced Scorecard) สามารถสรุปใหเห็นเปน Timeline
ของ BSC ตั้งแตเริ่มแรกของ BSC จนถึง BSC Version 3.0 Final
ถาพูดถึงการจัดการกลยุทธดวย BSC ในปจจุบันคงเปนเรื่องปกติทั้งผูบริหารธุรกิจ นัก
วางแผนกลยุทธ หรือฝายงานตางๆ รูและดําเนินการมาจนกลายเปนสวนหนึ่งของการวางแผนกลยุทธ
(Strategic Planning) ประจําปกันไปโดยอัตโนมัติ
ผูเขียนไมไดเขียนหนังสือเกี่ยวกับ กลยุทธธุรกิจ และกลยุทธองคกร มานานพอสมควร แต
การใหคําปรึกษากับธุรกิจ การบรรยายยังคงทํามาอยางตอเนื่องและพัฒนารูปแบบ (Model) การจัดการ
เชิงกลยุทธแนวใหมอยูตลอดเวลาเชนกัน 
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557 
 
หนังสือลาสุดเกี่ยวกับกลยุทธธุรกิจไดนําเสนอออกมาเปนดาน “วิสัยทัศน
(Vision)” ชื่อวา “ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)” กับการศึกษาเชิง
ประวัติศาสตรดานตําราพิไชยสงครามไทยสามารถถอดรหัสและใหความกระจางไดอยางไรที่ไมเคยมี
การศึกษามากอนเรียกไดวา สมบูรณมากที่สุดในสมัยรัตนโกสินทรเปนหนังสือ “ตําราพิไชยสงครามเมือง
เพชรบูรณ” 
 
 
 
 
 
 
ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ ตําราพิไชยสงครามเมืองเพชรบูรณ 
ป 2556 ป 2556 
 
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557 
 
 
 
 
ไมนานนักในตอนกอนเริ่มบรรยายการจัดทํากลยุทธธุรกิจใหกับธุรกิจประกันภัยแหงหนึ่ง
ซึ่งเปนธุรกิจในเครือธนาคารชั้นนําของประเทศไทย 
CEO ของบริษัทฯ ไดถามผูเขียนในขณะกลุมผูบริหารระดับสูงกําลังระดมความคิด
วิเคราะหธุรกิจเพื่อวาในการ “สรางวิสัยทัศนและภารกิจใหม” วา 
......มีเครื่องมือใหม ๆทางกลยุทธธุรกิจอะไรนอกจาก “ดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ (KPIs)” ที่
สามารถนํามาใชวัดความสําเร็จธุรกิจไดบาง 
คําตอบในขณะนั้นผูเขียนยืนยันวา “ยังไมมีพัฒนาการใหมสําหรับวิธีการวัดผลสําเร็จ 
ธุรกิจ” 
แตในป 2556 มีคําตอบใหมสําหรับคําถามนี้ซึ่งเรียกวา 
“….SIX KPIs Management or Method……” 
  และผูเขียนไดเริ่มนําเสนอใหธุรกิจไดเริ่มรูจักมาบางแลวในราวๆ ปลายป 2556 ที่ผานมา
ในป 2557 ผูเขียนไดประมวลองคความรูและสังเคราะห การจัดการเชิงกลยุทธใหม (The 
New Strategic Management) วาจะตองมีการปรับเปลียนแนวคิดไปสูรูปแบบการจัดทํากลยุทธใน
องคประกอบใหม อะไรบางซึ่งประกอบดวย 
อยางแรก 4Cs ของการจัดการเชิงกลยุทธ 
1) CONTEXT เปน C ตัวแรก คือ สภาพแวดลอมของธุรกิจ แตเดิมมีลักษณะคอนขาง
แนนอน (Certainty) ในปจจุบันมีลักษณะเปนความสับสนและวุนวาย (Turbulence) ดังนั้นธุรกิจตองการ
เครื่องมือที่ดีกวาเดิมในการวิเคราะหและสรางระบบเตือนภัยเกี่ยวกับบริบท 
2) CONTENT เปน C ตัวที่สอง คือ ความรูในเนื้อหาของ กลยุทธ ซึ่งเริ่มแรกธุรกิจอาจได
“ความรูดานกลยุทธมาจากประสบการณ การฟงผูรูหรือที่ปรึกษา และ การเรียนรูจากบทเรียนที่เปนเลิศ”
เราเรียกวา  “Explicit”  จนกระทั้งผูบริหารทุกระดับสามารถเกิด ความรูความเขาใจสรางความรูเรื่องกล
ยุทธไดเอง จนเปน “ความรูดาน กลยุทธที่เปนของธุรกิจ (Tacit)”  
3) CHANGE เปน C ตัวที่ 3 คือการเปลี่ยนแปลง การดําเนินกลยุทธเปนการที่ผูบริหาร
สูงสุด ใชความเปนผูนําองคกรในการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคกร ไปสูวัฒนธรรมใหมสําหรับการ
ขับเคลื่อนกลยุทธ ซึ่งแตเดิมการเปลี่ยนแปลงเปนแบบคอย ๆ เพิ่มขึ้น (Incremental) ซึ่งอาจไมเพียงพอใน
ธุรกิจตองการเครื่องมือใหม 
รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557 
ภูมิทัศนของธุรกิจในปจจุบัน ซึ่งตองการการเปลี่ยนแปลงแบบถึงแกนแท (Radical) แตในอนาคตธุรกิจตอง
เปลี่ยนแปลงแบบอยางพลิกโฉมรวดเร็ว (Dramatic) เชน เปนการปรับเปลี่ยนแปลงรูป (Transformation) 
4) COGNITION เปน C  ตัวสุดทาย เปนการเรียนรูขององคกรธุรกิจ วา ในการปรับ
เปลี่ยนแปลงรุปในแตละชวงตั้งแต อดีต (Past) ปจจุบัน (Present) และอนาคต (Future)  มี เหตุการณ
(Events) อะไรของธุรกิจ ที่นําไปสู ขอมูล(Data)  เปน สารสนเทศ (Information) และความรู
(Knowledge) ซึ่งจะทําใหเกิดเปน “องคกรเชิงนวัตกรรม (Innovative Organization)”  
โดยทั้ง  4 C ตองสอดคลองประสานกันจึงจะเปน “นวัตกรรมเชิงกลยุทธ (Strategic 
Innovation)” 
                          อยางที่สอง การจัดการเชิงกลยุทธใหม ดวย 4 องคประกอบ ดังนี้
1) การวิเคราะหกลยุทธ (Strategic Analysis) ที่มีการใชเครื่องมือการวิเคราะหที่มากขึ้น
(Multi‐Business Analysis) และตางไปจากเดิม เชน Scenario Analysis, VUCA Analysis และ META 
SWOT การพิจารณาการแขงขันในลักษณะเหมือนทําสงคราม (Competitive Battles) ซึ่งตองกําหนด
พื้นที่กลยุทธ (Strategy Sandbox) ธุรกิจจึงจะสามารถเลือกธุรกิจได (Strategy Choices) 
2) การตัดสินใจทางกลยุทธ (Strategic Decision) ธุรกิจตองดําเนินการจัดทํา นวัตกรรม
โมเดลธุรกิจ (Business Model Innovation) และนวัตกรรมฝาทะลวง (Disruptive Innovation) 
3) การนํากลยุทธไปปฏิบัติ (Strategic Implementation) ธุรกิจอาศัย BSC Update 
Version ในการแปลวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธไปสูการปฏิบัติพรอมกับใชเครื่องมือ (1) การกําหนดทิศทาง
(Direction) เชน การคิดเชิงกลยุทธ (2) การจัดวาง (Alignment) และ (3) การสื่อสารกลยุทธ (Strategic 
Communication) 
4) สุดทายการวัดกลยุทธและเรียนรู (Strategic Measure & Learn) การใช KPIs รุน
ใหมที่เรียกวา The New Six KPIs Methodและการเรียนรูการดําเนินกลยุทธธุรกิจตั้งแตอดีตถึงการ
คาดการณในอนาคต 
ทั้งหมดนี้เปนความใหมทางกลยุทธที่ทาทายและชวนใหผูบริหารธุรกิจมาพูดคุยกับผูเขียน
สําหรับทิศทางและโมเดลรูปแบบใหมนี้ครับ

More Related Content

Similar to รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่

เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
Teetut Tresirichod
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
DrDanai Thienphut
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วันการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
Dr.Wasit Prombutr
 
การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution
maruay songtanin
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
DrDanai Thienphut
 
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdfOKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
maruay songtanin
 
Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
Thamonwan Theerabunchorn
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
maruay songtanin
 
T01 080156
T01 080156T01 080156
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
Teetut Tresirichod
 
โมเดล DISC - DISC model
โมเดล DISC - DISC modelโมเดล DISC - DISC model
โมเดล DISC - DISC model
maruay songtanin
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
maruay songtanin
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
DrDanai Thienphut
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 

Similar to รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่ (20)

เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วันการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
 
การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdfOKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
 
Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
T01 080156
T01 080156T01 080156
T01 080156
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
โมเดล DISC - DISC model
โมเดล DISC - DISC modelโมเดล DISC - DISC model
โมเดล DISC - DISC model
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 

More from DrDanai Thienphut

PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
DrDanai Thienphut
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
DrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
DrDanai Thienphut
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
DrDanai Thienphut
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
DrDanai Thienphut
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
DrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
DrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
DrDanai Thienphut
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
DrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
DrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
DrDanai Thienphut
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
DrDanai Thienphut
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chi
DrDanai Thienphut
 
CEL module 3- CG
CEL module 3- CGCEL module 3- CG
CEL module 3- CG
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chi
 
CEL module 3- CG
CEL module 3- CGCEL module 3- CG
CEL module 3- CG
 

รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่

  • 1. รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557  รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ ความคิดที่อิสระและรูสึกสบายๆ จะเกิดขึ้นในขณะไดเสร็จสิ้นภารกิจหรือการทํางานชิ้น ใหญๆ ซึ่งติดคางมานานจนไมสามารถทําใหสําเร็จ แตพอทําเสร็จความรูสึกอิสระก็บังเกิดขึ้น กลยุทธ (Strategy) นาจะมีลักษณะดังกลาวในประสบการณดานที่ปรึกษาธุรกิจและการ จัดทํากลยุทธของผูเขียนซึ่งไดผานชวงเวลาในเรื่องนี้มาไดครบ 2 ทศวรรษพอดี ไดเห็นธุรกิจตางๆ ตั้งแต การริเริ่มกลยุทธ พัฒนากลยุทธ การขับเคลื่อนกลยุทธหรือการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ และการพัฒนา ตัวชี้วัด หรือดัชนีวัดผลสําเร็จของกลยุทธ ซึ่งเปนการเรียนรูทางกลยุทธ (Strategic Learning) อันนาสนใจ เปนอยางยิ่ง  อดีตที่ทาทายของกลยุทธ ในระหวางที่ผูเขียนกําลังสังเคราะห “The New Strategic Management” เพราะเห็นวา ธุรกิจมีการใชการจัดการเชิงกลยุทธระบบ BSC (Balanced Scorecard) และ KPIs (Key Performance Indicators) มาจะเกือบ 2 0ป ซึ่งเราไดเห็นบางอยางเกิดความคลาดเคลื่อนในหลายประการเมื่องธุรกิจ และหนวยงานตาง ๆ นําไปปฏิบัติ  การนําระบบประกันคุณภาพมาเปน “End Results” ในลักษณะยอนกลับ (Reverse ) มาเปนเปาหมายการทํางาน เชน กําหนดเปาหมาย แผนงานและดัชนีวัดโดยใชกลยุทธ (Strategy) เปน เพียงมาตรการหรือแนวทาง (Guideline) ซึ่งมีใหเห็นในการจัดทํากลยุทธที่เรียกวา แผนยุทธศาสตรกับแผนปฏิบัติราชการ สําหรับ องคกรหรือหนวยงานของรัฐ แลวจัดทําเหมือนๆ กันหมด (Me-too-Action) ผลสรุป เราจึงไมเห็นความแตกตางหรือความทาทายใดๆ เกิดขึ้น หากทานผูอานนึกถึง ราน 7-11 ก็คงมีหนาตาขายสินคาเหมือนๆ กัน ไปทุกแหงไมไดเกิดความรูสึกโดนๆ หรือมีความทาทาย อยางไรใหเขาไปคนหา
  • 2. รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557   มีการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Maps) ตามแนวคิดของ Kaplan และ Norton แต เราพบวาแผนที่กลยุทธดังกลาวไมไดเชื่อมโยงกับทัศนภาพ (Scenario) หรือมีกลยุทธที่บอกถึงความเกง และความเชี่ยวชาญอันโดดเดนของธุรกิจซึ่งใชในการแขงขัน นักกลยุทธในปจจุบันไดลงขอสรุปกันวา “แผนที่กลยุทธไมชวยสรางกลยุทธใหม”  การพัฒนากลยุทธธุรกิจในตลอด 2 ชวงทศวรรษ กลยุทธหรือ Strategy เปน “คํา” หรือ “วิธีการ” และมีความเปนมาอยางยาวนาน ประมาณป’37-57 ผูเขียนบุกเบิกการจัดทําดัชนีวัดผลสําเร็จ (KPIs-Key Performance Indicators) และการจัดทํากลยุทธดวย BSC (Balanced Scorecard) สามารถสรุปใหเห็นเปน Timeline ของ BSC ตั้งแตเริ่มแรกของ BSC จนถึง BSC Version 3.0 Final ถาพูดถึงการจัดการกลยุทธดวย BSC ในปจจุบันคงเปนเรื่องปกติทั้งผูบริหารธุรกิจ นัก วางแผนกลยุทธ หรือฝายงานตางๆ รูและดําเนินการมาจนกลายเปนสวนหนึ่งของการวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) ประจําปกันไปโดยอัตโนมัติ ผูเขียนไมไดเขียนหนังสือเกี่ยวกับ กลยุทธธุรกิจ และกลยุทธองคกร มานานพอสมควร แต การใหคําปรึกษากับธุรกิจ การบรรยายยังคงทํามาอยางตอเนื่องและพัฒนารูปแบบ (Model) การจัดการ เชิงกลยุทธแนวใหมอยูตลอดเวลาเชนกัน 
  • 3. รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557    หนังสือลาสุดเกี่ยวกับกลยุทธธุรกิจไดนําเสนอออกมาเปนดาน “วิสัยทัศน (Vision)” ชื่อวา “ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)” กับการศึกษาเชิง ประวัติศาสตรดานตําราพิไชยสงครามไทยสามารถถอดรหัสและใหความกระจางไดอยางไรที่ไมเคยมี การศึกษามากอนเรียกไดวา สมบูรณมากที่สุดในสมัยรัตนโกสินทรเปนหนังสือ “ตําราพิไชยสงครามเมือง เพชรบูรณ”              ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ ตําราพิไชยสงครามเมืองเพชรบูรณ  ป 2556 ป 2556   
  • 4. รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557          ไมนานนักในตอนกอนเริ่มบรรยายการจัดทํากลยุทธธุรกิจใหกับธุรกิจประกันภัยแหงหนึ่ง ซึ่งเปนธุรกิจในเครือธนาคารชั้นนําของประเทศไทย  CEO ของบริษัทฯ ไดถามผูเขียนในขณะกลุมผูบริหารระดับสูงกําลังระดมความคิด วิเคราะหธุรกิจเพื่อวาในการ “สรางวิสัยทัศนและภารกิจใหม” วา  ......มีเครื่องมือใหม ๆทางกลยุทธธุรกิจอะไรนอกจาก “ดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ (KPIs)” ที่ สามารถนํามาใชวัดความสําเร็จธุรกิจไดบาง  คําตอบในขณะนั้นผูเขียนยืนยันวา “ยังไมมีพัฒนาการใหมสําหรับวิธีการวัดผลสําเร็จ  ธุรกิจ”  แตในป 2556 มีคําตอบใหมสําหรับคําถามนี้ซึ่งเรียกวา  “….SIX KPIs Management or Method……”    และผูเขียนไดเริ่มนําเสนอใหธุรกิจไดเริ่มรูจักมาบางแลวในราวๆ ปลายป 2556 ที่ผานมา ในป 2557 ผูเขียนไดประมวลองคความรูและสังเคราะห การจัดการเชิงกลยุทธใหม (The  New Strategic Management) วาจะตองมีการปรับเปลียนแนวคิดไปสูรูปแบบการจัดทํากลยุทธใน องคประกอบใหม อะไรบางซึ่งประกอบดวย  อยางแรก 4Cs ของการจัดการเชิงกลยุทธ  1) CONTEXT เปน C ตัวแรก คือ สภาพแวดลอมของธุรกิจ แตเดิมมีลักษณะคอนขาง แนนอน (Certainty) ในปจจุบันมีลักษณะเปนความสับสนและวุนวาย (Turbulence) ดังนั้นธุรกิจตองการ เครื่องมือที่ดีกวาเดิมในการวิเคราะหและสรางระบบเตือนภัยเกี่ยวกับบริบท  2) CONTENT เปน C ตัวที่สอง คือ ความรูในเนื้อหาของ กลยุทธ ซึ่งเริ่มแรกธุรกิจอาจได “ความรูดานกลยุทธมาจากประสบการณ การฟงผูรูหรือที่ปรึกษา และ การเรียนรูจากบทเรียนที่เปนเลิศ” เราเรียกวา  “Explicit”  จนกระทั้งผูบริหารทุกระดับสามารถเกิด ความรูความเขาใจสรางความรูเรื่องกล ยุทธไดเอง จนเปน “ความรูดาน กลยุทธที่เปนของธุรกิจ (Tacit)”   3) CHANGE เปน C ตัวที่ 3 คือการเปลี่ยนแปลง การดําเนินกลยุทธเปนการที่ผูบริหาร สูงสุด ใชความเปนผูนําองคกรในการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคกร ไปสูวัฒนธรรมใหมสําหรับการ ขับเคลื่อนกลยุทธ ซึ่งแตเดิมการเปลี่ยนแปลงเปนแบบคอย ๆ เพิ่มขึ้น (Incremental) ซึ่งอาจไมเพียงพอใน ธุรกิจตองการเครื่องมือใหม 
  • 5. รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธแนวใหม                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ :  สงวนลิขสิทธิ์ 2557  ภูมิทัศนของธุรกิจในปจจุบัน ซึ่งตองการการเปลี่ยนแปลงแบบถึงแกนแท (Radical) แตในอนาคตธุรกิจตอง เปลี่ยนแปลงแบบอยางพลิกโฉมรวดเร็ว (Dramatic) เชน เปนการปรับเปลี่ยนแปลงรูป (Transformation)  4) COGNITION เปน C  ตัวสุดทาย เปนการเรียนรูขององคกรธุรกิจ วา ในการปรับ เปลี่ยนแปลงรุปในแตละชวงตั้งแต อดีต (Past) ปจจุบัน (Present) และอนาคต (Future)  มี เหตุการณ (Events) อะไรของธุรกิจ ที่นําไปสู ขอมูล(Data)  เปน สารสนเทศ (Information) และความรู (Knowledge) ซึ่งจะทําใหเกิดเปน “องคกรเชิงนวัตกรรม (Innovative Organization)”   โดยทั้ง  4 C ตองสอดคลองประสานกันจึงจะเปน “นวัตกรรมเชิงกลยุทธ (Strategic  Innovation)”                            อยางที่สอง การจัดการเชิงกลยุทธใหม ดวย 4 องคประกอบ ดังนี้ 1) การวิเคราะหกลยุทธ (Strategic Analysis) ที่มีการใชเครื่องมือการวิเคราะหที่มากขึ้น (Multi‐Business Analysis) และตางไปจากเดิม เชน Scenario Analysis, VUCA Analysis และ META  SWOT การพิจารณาการแขงขันในลักษณะเหมือนทําสงคราม (Competitive Battles) ซึ่งตองกําหนด พื้นที่กลยุทธ (Strategy Sandbox) ธุรกิจจึงจะสามารถเลือกธุรกิจได (Strategy Choices)  2) การตัดสินใจทางกลยุทธ (Strategic Decision) ธุรกิจตองดําเนินการจัดทํา นวัตกรรม โมเดลธุรกิจ (Business Model Innovation) และนวัตกรรมฝาทะลวง (Disruptive Innovation)  3) การนํากลยุทธไปปฏิบัติ (Strategic Implementation) ธุรกิจอาศัย BSC Update  Version ในการแปลวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธไปสูการปฏิบัติพรอมกับใชเครื่องมือ (1) การกําหนดทิศทาง (Direction) เชน การคิดเชิงกลยุทธ (2) การจัดวาง (Alignment) และ (3) การสื่อสารกลยุทธ (Strategic  Communication)  4) สุดทายการวัดกลยุทธและเรียนรู (Strategic Measure & Learn) การใช KPIs รุน ใหมที่เรียกวา The New Six KPIs Methodและการเรียนรูการดําเนินกลยุทธธุรกิจตั้งแตอดีตถึงการ คาดการณในอนาคต  ทั้งหมดนี้เปนความใหมทางกลยุทธที่ทาทายและชวนใหผูบริหารธุรกิจมาพูดคุยกับผูเขียน สําหรับทิศทางและโมเดลรูปแบบใหมนี้ครับ