SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
การแข็งตัวของเต้ าฮวย

จัดทาโดย
1.นายพรเทพ สิริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6
ั
2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12
3.นางสาวรุ่งอรุณ จุกกระโทก เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/3

วิชาโครงงานโครงงานเพือประโชยน์ ต่อสาธารณะประโยชน์ ว 30265
่
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนมกุฏเมืองราชวิทยาลัย
ิ
สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18
้
การแข็งตัวของเต้ าฮวย

จัดทาโดย
1.นายพรเทพ สิริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6
ั
2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12
3.นางสาวรุ่งอรุณ จุกกระโทก เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/3

ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ครูศุภพงศ์ คล้ายคลึง
ก
ชื่อโครงงาน
ผู้จัดทาโครงงาน

ครู ทปรึกษา
ี่

การแข็งตัวของเต้าฮวย
1.นายพรเทพ
สิ ริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6
ั
2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12
3.นางสาวรุ่ งอรุ ณ จุกกระโทก เลขที่ 17
อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง

โรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย
ปี การศึกษา 2556
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่ องนี้มีที่มาเนื่ องจากเหล่าคณะผูจดทาชอบรับประทานเต้าฮวยพวกเราก็ได้เกิดความสงสัยขึ้น
้ั
เมื่อได้สังเกตเห็นว่าการทาเต้าฮวยเขามีวธีการทาอย่างไร
ิ
ทาไมเต้าฮวยที่เรากินนั้นถึงจับตัวกันแข็งเป็ นก้อนได้
เหตุน้ ี เองพวกเราก็เลยจะจัดทาโครงงานเรื่ องนี้ ข้ ึนมาเพื่อทดสอบการแข็งตัวของเต้าฮวย
โดยการเลือกเจลาตินและผงวุนมาทดลองเพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบการยุบตัวของเนื้ อเต้าฮวยโดยใช้วสดุและปริ
้
ั
มาณของสารอื่นๆรวมทั้งปริ มาณส่ วนประกอบที่ทาเต้าฮวยในปริ มาณที่เท่ากันทุกอย่างวิธีการทาก็ไม่ยากนา
หม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย
ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆแล้วก็ใส่ ผงเจลาติน 2 ช้อนชา ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน
คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ให้อุ่นตักใส่ ถวยพลาสติก
ั
้
แล้วพักไว้สักครู่ ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไปตั้งไว้ 15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว
ส่ วนอีกหม้อก็ทาเหมือนกันเพียงแค่เปลี่ยนจากผงเจลาตินเป็ นผงวุนวิธีการก็เหมือนกันพอทาเต้าฮวยทั้ง 2
้
ถ้วยเสร็ จแล้วก็นามาเปรี ยบเทียบกันโดยการวัดขนาดเต้าฮวยที่พ่ ึงทาเสร็ จหลังจากนั้นก็นาวัตถุที่มีขนาด 200
กรัมมาวางทับบนเนื้อเต้าฮวยและวัดขนาดอีกรอบ เสร็ จแล้วก็บนทึกผล
ั
สรุ ปคือเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินดังนั้นในการทาเต้าฮวยก็ควรจะใช้ผงวุนเพ
้
้
ราะมีการแข็งตัวในปริ มาณที่เหมาะสม
ข

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสาธารณะประโยชน์ เรื่ องการแข็งตัวของเต้าฮวย
สาเร็ จลุล่วงไปด้วยความกรุ ณาของอาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง
ซึ่งเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานที่ได้ให้คาแนะนาและคาปรึ กษา
เกี่ยวกับการทาโครงงานตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องของการทาโครงงาน ให้สาเร็ จและบรรลุเป้ าหมาย
จึงขอกราบขอบคุณไว้ ณ ที่น้ ี เป็ นอย่างสู ง
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

บทคัดย่อ.........................................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ..........................................................................................................................................ข
บทที่ 1 ทีมาและความสาคัญ
่
ทีมาและความสาคัญ..........................................................................................................................1
่
วัตถุประสงค์ ......................................................................................................................................1
สมมติฐาน..........................................................................................................................................1
ขอบเขตการศึกษา..............................................................................................................................2
ตัวแปรทีศึกษา...................................................................................................................................2
่
นิยามเชิงปฏิบัติการ...........................................................................................................................2
ระยะเวลาดาเนินการ..........................................................................................................................2
ประโชยน์ ทคาดว่าจะได้ รับ................................................................................................................2
ี่
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
่
เจลาติน..............................................................................................................................................3
ผงวุ้น.................................................................................................................................................4
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ ......................................................................................................................................8
วิธีการดาเนินงาน..............................................................................................................................9
บทที่ 4 ผลการศึกษาทดลอง..........................................................................................................................10
บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปราย
ข้ อเสนอแนะ..........................................................................................................11ภาคผนวก.......................
.........................................................................................................................1217บรรณานุกรม.................................................................................................................................................
18
1

บทที่ 1
บทนา
ทีมาและความสาคัญ
่
เนื่องจากเหล่าคณะผูจดทาชอบรับประทานเต้าฮวย พวกเราก็ได้เกิดความสงสัยขึ้น
้ั
เมื่อได้สังเกตเห็นว่าการทาเต้าฮวยเขามีวธีการทาอย่างไร
ิ
ทาไมเต้าฮวยที่เรากินนั้นถึงจับตัวกันแข็งเป็ นก้อนได้
่
เหตุน้ ี เองพวกเราก็เลยจะจัดทาโครงงานเรื่ องนี้ ข้ ึนมาโดยตั้งชื่อโครงงานนี้ วาการแข็งตัวของเต้าฮวยเริ่ มจากขั้
นตอนแรกพวกเราก็ได้เข้าไปศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทาเต้าฮวยในอินเทอร์ เน็ตเพื่อที่จะได้มีความรู ้เกี่ย
วกับขั้นตอนการทาเต้าฮวย มีเว็บไซต์มากมายที่มีวธีการทาที่น่าสนใจ
ิ
แต่ละเว็บไซต์น้ นล้วนมีข้ นตอนที่คล้ายๆกัน
ั
ั
แต่อาจจะมีส่วนประกอบที่แตกต่างกันแล้วแต่สูตรของแต่ละคน
เราจึงได้แนวคิดการทาโครงงานของเราขึ้นมาโดยที่เราจะทาเต้าฮวยขึ้นมา 2 แก้ว
โดยที่แต่ละแก้วจะใส่ สารที่ทาให้เต้าฮวยแข็งตัวแตกต่างกันไป โดยเราจะใช้เจลาติน และผงวุน
้
่
มาทดลองในเรื่ องนี้โดยใช้ปริ มาณของผงวุนกับเจลาตินเป็ นตัวกาหนดในการทดลองเพื่อที่จะดูวาสารชนิดใ
้
ดสามารถทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้อย่างเหมาะสม โดยกาหนดเวลาและปริ มาณไว้ให้เท่าๆกันทั้งสองถ้วย
และคอยสังเกตดูผลการทดลองว่าผลที่เกิดขึ้นจะเป็ นอย่างไรและระหว่างผงวุนกับเจลาตินอันไหนที่ทาสามา
้
รถทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้อย่างเหมาะสมที่สุด
โดยเราจะใช้วตถุที่มีน้ าหนัก200gในการวัดการแข็งตัวของเต้าฮวย
ั
ถ้าเต้าฮวยถ้วยไหนยุบมากก็แสดงว่าเต้าฮวยถ้วยนั้นแข็งตัวได้อย่างเหมาะสมเพราะไม่แข็งจนเกินไปและนิ่ม
จนเกินไป
พวกเราคิดว่าโครงงานเรื่ องนี้ จะเป็ นประโยชน์อย่างมากถ้าได้ทาการทดลองเสร็ จสิ้ นแล้วเพราะสามารถใช้ใ
นการประกอบอาชีพการทาเต้าฮวยขายได้และเราก็จะได้เต้าฮวยที่มีคุณภาพไม่แข็งและไม่นิ่มจนเกินไปรับป
ระทานได้อย่างเอร็ ดอร่ อย
และโครงงานเรื่ องนี้จะช่วยทาให้ผผลิตเลือกใช้สารที่เหมาะสมแก่การทาเต้าฮวยได้เป็ นอย่างดีและก็มีประโย
ู้
ชน์อย่างมากแก่กรรมวิธีของตนเองซึ่งจะทาให้เต้าฮวยที่ได้มีคุณภาพที่ดี
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
เพื่อเปรี ยบเทียบความแข็งตัวระหว่างเต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินและเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุน
้
สมมติฐานของการศึกษาค้ นคว้า
เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีความสามารถในการแข็งตัวดีกว่าเต้าฮวยที่ใส่ ผงเจลาติน
้
2
ขอบเขตของการศึกษาทดลอง
การทาโครงงานนี้ทาขึ้นเพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบการแข็งตัวของเต้าฮวยระหว่างเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนกับเ
้
ต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินเท่านั้น
ตัวแปรทีศึกษา
่
ตัวแปรตัว ผงเจลาตินและผงวุน
้
ตัวแปรตาม การแข็งตัวของเต้าฮวย
ตัวแปรควบคุม 1.ปริ มาณนม
2. ปริ มาณน้ าตาล
3.ปริ มาณผงเจลาตินและผงวุน
้
4.ระยะเวลาที่ปล่อยให้เต้าฮวยแข็งตัว
5.แม่พิมพ์ที่ใช้ในการทาเต้าฮวย
6.ปริ มาณของเต้าฮวยที่เทลงในแม่พิมพ์
7.สภาวะที่ใช้ในการแข็งตัวของเต้าฮวย
นิยามเชิงปฏิบัติการ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข็ ง ตั ว ข อ ง เ ต้ า ฮ ว ย ห ม า ย ถึ ง
ระดับการยุบตัวของเต้าฮวยเมื่อถูกทับด้วยวัตถุหนัก 200 g
ระยะเวลาดาเนินการศึกษาทดลอง
เดือนพฤษจิกายน-กุมภาพันธ์ 2557
ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
ี่
ได้ทราบว่าระหว่างผงเจลาติน และผงวุน สิ่ งใดที่ทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้เหมาะสมกว่ากัน
้

3

บทที่ 2
เอกสารที่เกียวข้ อง
่
การทาเต้ าฮวย
-ส่ วนผสมเต้าฮวย
1.น้ าเปล่า
2.นมสดรสจืด 2 ถ้วย
3.นมข้นจืด 1กระป๋ อง
4.นมข้นหวาน (ตามชอบ)
วิธีทาเต้ าฮวย
1.เอาหม้อตั้งไฟ ใส่ น้ าเปล่า นมข้นจืด นมข้นหวานลงในหม้อเปิ ดไฟเบา ๆ
2.ใส่ ผงวุนและน้ าตาล (ค่อย ๆใส่ และขนไปด้วย)
้
3.รอสักครู่ เมื่อมีฟองอากาศขึ้น แล้วก็ใส่ นมข้นจืดลงไป แล้วคนสักประมาณ 15 นาที รอให้อุ่น ๆ
4.ตักใส่ แก้ว หรื อถ้วย ที่มีฝาปิ ดแล้วนามาพักไว้ในถาด (ในการพักตัวเต้าฮวยนมสด
เราควรจะนามาแช่ในน้ า เพื่อจะให้ เนื้อของเต้าฮวยไม่แข็งมากจนเกินไป และเก็บไว้ได้นาน)
5.ตั้ งไว้จนเย็น ประมาณ 15 นาที จะจับตัวนิ่มๆ เหมือนวุน
้
6.เอาออกมา ใส่ ผลไม้กระป๋ อง หรื อผลไม้ที่เราต้องการ
7.ตามด้วยน้ าราด ปิ ดฝา เอากลับเข้าตูเ้ ย็นเหมือนเดิม

4
การทาชั้นสี ของเต้ าฮวย
1.เอาหม้อตั้งไฟ ใส่ น้ าเปล่า นมข้นจืด นมข้นหวานลงในหม้อ เปิ ดไฟเบา ๆ
2.ใส่ ผงวุนและน้ าตาล (ค่อย ๆใส่ และขนไปด้วย)
้
3.รอสักครู่ เมื่อมีฟองอากาศขึ้น
แล้วก็ใส่ นมข้นจืดลงไป แล้วคนสักประมาณ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ รอให้อุ่น ๆ
4.ตักใส่ ถวย แล้วนามาผสมกับสี จากธรรมชาติ เช่น สี จากน้ าใบเตย สี จากแก้วมังกรสี จากฟักทอง
้
เป็ นต้น แล้วคนให้เข้ากัน
5.ตักใส่ แก้ว หรื อถ้วย ที่มีฝาปิ ดแล้วนามาพักไว้ในถาด (ในการพักตัวเต้าฮวยนมสด
เราควรจะนามาแช่ในน้ า เพื่อจะให้เนื้ อของเต้าฮวยไม่แข็งมากจนเกินไป และเก็บไว้ได้นาน)
6.ตั้ งไว้จนเย็น ประมาณ 15 นาที จะจับตัวนิ่มๆ เหมือนวุน
้
7.จากนั้ นใส่ ผลไม้สด หรื อฟรุ๊ ตสลัดที่เตรี ยมเอาไว้ให้พอ
เจลาติน (อังกฤษ: gelatin)
มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า gélatine เป็ นของแข็งโปร่ งแสง ไม่มีสี เปราะ และแทบไม่มีรสชาติ
ได้มาจากการแปรรู ปคอลลาเจน (collagen)
่
ที่มีอยูในผิวหนัง กระดูก รวมทั้งเนื้อเยือเกี่ยวพันของสัตว์ซ่ ึ งเป็ นวัตถุดิบที่นิยมนามาทาการผลิต
่
่
เจลาตินจัดอยูในกลุ่มอาหาร มี E number คือ E441
มีการนาเจลาตินมาใช้ในการเป็ นส่ วนประกอบของผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น เครื่ องสาอาง ยา อาหาร
และฟิ ล์มถ่ายรู ป โดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาหารซึ่ งเป็ นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเจลาตินโดยเจลาตินส่ ว
นนี้เรี ยกว่า edible gelatin ซึ่ งใช้เป็ นส่ วนประกอบในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ขนมหวาน ไอศครี ม โยเกิร์ต
เป็ นต้น
ตลาดที่ใหญ่รองลงมาคืออุตสาหกรรมการผลิตยาโดยใช้เจลาตินในการเคลือบเม็ดยาและผลิตเป็ นแคปซูล
ทั้งชนิดแคปซูลแข็งและแคปซูลนิ่ม
เจลาตินเป็ นโปรตีนที่ได้การไฮโดรไลซ์คอลลาเจนด้วยความร้อนหรื อใช้สารอื่นช่วย เช่น กรดหรื อ
ด่าง ทาให้โครงสร้างคอลลาเจนถูกทาลายและเปลี่ยนแปลงเป็ นสารเจลาติน
ในการสลายพันธะในคอลลาเจน ส่ วนประกอบหลักที่พบในเจลาตินเป็ นสายเกลียว
วัตถุดิบในการสกัดเจลาตินคือกระดูก เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และลาไส้บางส่ วนของสัตว์เช่น โคกระบือ สุ กร
่
และม้า เป็ นต้น พันธะระหว่างโมเลกุลของคอลลาเจนถูกเปลี่ยนให้อยูในรู ปที่จดเรี ยงตัวได้ง่ายขึ้น
ั
เจลาตินหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวกลับเมื่อได้รับความเย็น
เจลาตินสามารถก่อเจลแบบกึ่งของแข็งร่ วมกับน้ า
เมื่อละลายเจลาตินในน้ าจะได้สารละลายที่มีความหนืดสู งและก่อเจลเมื่อทาให้เย็น
องค์ประกอบทางเคมีของเจลาตินแทบจะเหมือนคอลลาเจนเริ่ มต้น
เจลาติน (gelatin) เป็ น ไฮโดรคอลลอยด์ (hydrocolloid) ซึ่งเป็ นโปรตีน (protein) ที่ได้จากย่อย
่
และสกัดคอลลาเจน(collagen) ที่มีอยูใน กระดูก หนังสัตว์และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue)
ของสัตว์เช่น ควาย หมู วัว โดยใช้ความร้อน และ กรด หรื อ ด่าง เพื่อ
ย่อยให้คอลลาเจนโมเลกุลเล็กลง เปลี่ยนเป็ นเจลาตินลักษณะเป็ นแผ่น ชิ้น เกร็ ด หรื อ ผงสี เหลืองอ่อน
หรื อสี เหลืองอาพัน ละลายได้ในน้ าร้อนไม่ละลายในน้ าเย็น
5
แต่จะอ่อนนุ่ม พองตัว และอุมน้ าได้ 5-10 เท่าของน้ าหนักเดิม ละลายได้ในกรดอะซิ ติก (acetic acid)
้
ไม่ละลายในอีเธอร์ คลอโลฟอร์ ม และเอทธานอล 98 เปอร์เซ็นต์
การใช้ ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมอาหาร
เจลาติน (E441) ที่ใช้เป็ นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) เมื่อนาผงเจลาตินผสมน้ า
และให้ความร้อน จะเป็ นของเหลวหนืด เมื่อตั้งทิ้งไว้ให้เย็นของเหลวจะตัวกลายเป็ นเจล
(gel) ใช้ในอาหารได้หลายวัตถุประสงค์ดงนี้
ั
-ใช้เป็ นสารที่ทาให้เกิดเจล (gelling agent) ที่คืนตัวเป็ นของเหลวได้เมื่อได้รับความร้อน
(thermoreversible gel)
-ใช้เป็ นสารที่ทาให้เกิดความคงตัว (stabilizer) เป็ นอิมลซิไฟเออร์ (emulsifier)
ั
ทาให้น้ ากับไขมันรวมตัวกันได้ดี ไม่แยกชั้น
-ใช้ทดแทนไขมัน (fat replacer) ใช้ในอาหารไขมันต่า
-ใช้สาหรับการจับเก็บกลิ่นรส flavor encapsulation
-ใช้เคลือบผิว แฮม ขนมเค้ก เพื่อรักษาความชุ่มชื้น
เจลาติน ใช้ ในผลิตภัณฑ์ อาหารหลากหลายชนิด ได้ แก่
-ผลิตภัณฑ์นม (dairy products) - นมพาสเจอไรซ์ นมยูเอชที, นมเปรี้ ยว (ใช้ 0.2-0.8%)
, เนยแข็งชนิดนิ่ม (soft cheese) เช่น ซาวร์ ครี ม, ครี มชีส (cream cheese) ,คอตเตจชีส (cottage cheese) ,
ชีสสเปรด (เนยทาขนมปัง) ) , เค้กแช่แข็ง, พุดดิ้ง, เต้าหูนมสด, คัสตาร์ด, มูส,ไอศครี ม, มาการี น,เนยไขมันต่า
้
-ขนมหวาน (confectionery) - เยลลี่, เม็ดเยลลี่,มาชแมลโล (marshmellow) กัมมีแบร์ , หมากฝรั่ง,
ั
นูกต, ลิโคริ ส, ขนมเคี้ยวหนึ บ,
-อาหารเคลือบน้ าตาล, เคลือบผิวขนม,เค้กแช่แข็ง, เคลือบทอฟฟี่ ,ช็อกโกแลตหรื อหมากฝรั่ง
ชีสเค้ก, ซีเรี ยลบาร์
-ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ไส้กรอก, เคลือบผิวแฮม
-อาหารกระป๋ อง เช่น เนื้อสัตว์ป๋อง อาหารทะเลกระป๋ อง อาหารสัตว์
-อาหารแช่เยือกแข็ง
-ซุป, ซอส, แกง ,โจ๊ก
-มาการี น น้ าสลัด
-น้ าผลไม้, แยม

6
กรรมวิธีการผลิตเจลาติน
เจลาตินแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ตามกระบวนการผลิตและแหล่งที่มา
่
-ชนิด A เป็ นเจลาตินที่สกัดได้จากส่ วนของกระดูกหมู โดยกรรมวิธียอยด้วยกรด
่
-ชนิด B เป็ นเจลาตินที่ได้จากหนังและกระดูกวัว ลูกวัว โดยกรรมวิธียอยด้วยด่าง
การผลิตเจลาตินโดยใช้ กรด (Acid Manufacturing Process)
วิธีการย่อยด้วยกรด เป็ นวิธีการหลักที่ใช้กระดูกหมู และหนังปลาเป็ นวัตถุดิบ
โดยคอลลาเจนที่สกัดได้จากวัตถุดิบ จะถูกปรับให้เป็ นกรด ที่ pH ประมาณ
4และให้ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็ นระดับ จาก 50°C จนเดือด เพื่อทาให้โปรตีนคอลลาเจนสู ญเสี ยสภาพธรรมชาติ
(protein denaturation) และทาให้ละลายได้หลังจากนั้นสารละลายจะถูกนาไปสกัดไขมันออก และกรอง
(filtration) เพื่อให้ใส แล้วจึงทาให้เข้มข้น (concentration) โดยการระเหยด้วยเครื่ องระเหยสุ ญญากาศ
(vacuum evaporator) หรื อการกรองด้วยเยื่อ (membrane filtration) โดยใช้เยื่อชนิดultra
filtrationเพื่อให้ได้เจลาตินเข้มข้นพอที่จะนาไปทาแห้ง (dehydration)
ซึ่ งมักใช้การอบในตูอบลมร้อนขั้นตอนสุ ดท้ายคือบด ผสม และบรรจุในบรรจุภณฑ์ เจลาตินที่ได้ มีisoionic
้
ั
่
่ ั
point อยูระหว่าง 7 ถึง9 ขึ้นอยูกบระยะเวลาและความรุ นแรงของการย่อยคอลลาเจน ด้วยกรด
ซึ่ งมีผลต่อปฏิกริ ยา hydrolysisของกรดอะมิโน asparagineและglutamine
การผลิตเจลาตินโดยใช้ ด่าง (Alkali Manufacturing Process)
กรรมวิธีการผลิตเจลาตินด้วยด่างใช้สาหรับ หนังวัว และแหล่งวัตถุดิบ จากสัตว์ที่มีอายุมาก
โดยคอลลาเจนจะถูกแช่ในด่างแก่ ก่อนการสกัด ด่างจะย่อย side chains
บนโมเลกุลของ asparagineและglutamineให้เป็ น กรดกลูตามิก (glutamic acid) และกรดแอสพาติก (aspartic
่
acid) ทาให้ได้เจลาตินที่มีisoelectric point อยูระหว่าง 4.8ถึง 5.2 จากนั้นจึงล้างด่างออกแล้ว และ
กาจัดเกลือส่ วนเกินที่เกิดขึ้น ด้วยการใช้ การแลกเปลี่ยนประจุ (ion-exchange) ย่อยต่อด้วยกรด ที่ระดับ pH
ที่ตองการ ซึ่งระดับ pH
้
มีผลต่อความหนืดและความแข็งแรงของเจล จากนั้นนาไปต้มต่อเพื่อเปลี่ยนคอลลาเจนให้เป็ นเจลาตินเหมือ
นในกรรมวิธีการใช้กรด ที่กล่าวข้างต้น
เจลาตินที่ได้จากวัว และลูกวัวนั้น สามารถใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้ ถ้ามีการเชือด
ถูกต้องตามหลักการศาสนาอิสลาม ส่ วนเจลาตินที่ได้จากหมูไม่ สามารถที่จะใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้
เจลาตินจากปลาเป็ นเจลาตินอีกชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้ โดย
ส่ วนใหญ่ได้จากปลาทะเลน้ าลึก เช่น ปลา cod, haddock และ Pollock เป็ นต้น

7
คุณค่ าทางโภชนาการ
เจลาตินมีปริ มาณแคลอรี่ ต่าเพียง 3.5 kcal/g เท่านั้น เจลาตินเป็ นโปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่จาเป็ น
(essential amino acid) ชนิดทริ ปโตฟาน (Tryptophan) และเมธไทโอนิน (methionine) ในปริ มาณจากัด
ั
เพราะฉะนั้นเจลาตินจึงไม่ใช่แหล่งโปรตีนที่ดี ควรรับประทานควบคู่กบโปรตีนชนิดอื่น
วุนคืออะไร
้
ปริ มาณวุนที่ได้ รวมทั้งความบริ สุทธิ์ ของสาหร่ าย และปริ มาณสิ่ งเจือปนอื่นๆ
้
่ ั
คุณภาพของวุนจะขึ้นอยูกบชนิดและแหล่งที่มาของสาหร่ าย สภาพแวดล้อมของทะเล รวมทั้งกรรมวิธี
้
การสกัด อันได้แก่ การกาจัดสิ่ งเจือปนก่อนสกัด อุณหภูมิ ความดัน ความเป็ นกรด ด่าง
และระยะเวลาที่ใช้ในการสกัด
แหล่ งทีมา
่
่
Lovelygirl.2557.เจลาติน ที่อยูในขนมเยลลี่ ทามาจากอะไร(ออนไลน์).แหล่งที่มา :
http://www.thaipingpong.com/smf/index.php?topic=7170.0 .7 มกราคม 2557
Bloggang.2556.ผงวุนและเจลาตินทามาจาก?(ออนไลน์)
้
แหล่งที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=papasierra-pat&month=102013&date=09&group=1&gblog=3.7 มกราคม 2557

8

บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์ และวิธีดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ ทใช้ ในการศึกษา
ี่
1.ผงเจลาติน
2.ผงวุน
้
3.นมสดจืด
4.นมข้นหวาน
5.หม้อเบอร์ 16
6.ถ้วยพลาสติกใส
7.น้ าเปล่า 350 มล.
วิธีการศึกษา

จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน

2
2
2
2
2
2
2

ช้อนชา
ช้อนชา
ถ้วย
ถ้วย
ใบ
ถ้วย
ขวด
ตอนที่ 1 ทดสอบเจลาติน
1.นาหม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย
ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆ
2.ใส่ ผงเจลาติน 2 ช้อนชา (ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน)
3.คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิงไว้ให้อุ่น
ั
้
4.ตักใส่ ถวยพลาสติก แล้วพักไว้สักครู่ (ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไป)ตั้งไว้
้
15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว
ตอนที่ 2 ทดสอบผงวุ้น
1.นาหม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย
ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆ
2.ใส่ ผงวุน 2 ช้อนชา (ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน)
้
3.คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ให้อุ่น
ั
4.ตักใส่ ถวยพลาสติก แล้วพักไว้สักครู่ (ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไป)ตั้งไว้
้
15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว

9
ตอนที่ 3 เปรียบเทียบเต้ าฮวยทีใส่ เจลาตินและผงวุ้น
่
1.นาเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนและเจลาตินมาวัดความสู งก่อนนามาทดลอง
้
2.ตัดกระดาษมาวางบนเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด
3.นาวัตถุหนัก 200 กรัม มาทับบนเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด
4.วัดระดับความสู งของเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด
5.สังเกตดูระดับการยุบตัวของเต้าฮวยและบันทึกผล
10

บทที่ 4
ผลการศึกษาทดลอง
ตารางแสดงผงวุ้นและเจลาตินทีมีผลต่ อการยุบตัวของเต้ าฮวย
่

สารทีนามาทดสอบ
่

การยุบตัวของเต้ าฮวย
ก่ อนวางวัตถุ 200 g

1.ผงวุ้น
2.เจลาติน

4 cm.
4 cm

หลังวางวัตถุ 200 g
3.5 cm
3.7 cm
จากการทดลองพบว่าการยุบตัวของเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนและเจลาตินก่อนวางวัตถุขนาด 200
้
กรัมมีขนาดเท่ากัน และหลังจากวางวัตถุเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวเหลือ 3.5 เซนติเมตร
้
ส่ วนเต้าฮวยที่ใส่ เจลาติน มีการยุบตัวเหลือ 3.7 เซนติเมตร
ซึ่ งเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวอย่างเหมาะสมมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ ผงเจลาติน
้

11

บทที่ 5
สรุปผล อภิปราย ข้ อเสนอแนะ
อภิปรายผล
1.นาเต้าฮวยที่ทาจากผงวุนและเจลาตินมาเปรี ยบเทียบกันโดยวัดขนาดก่อนวางวัตถุหนัก 200 กรัม
้
ได้ 4 เวนติเมตรเท่ากัน
2.นาเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมาวัดขนาดการยุบตัวหลังวางวัตถุ 200 กรัม ได้ 3.5 เซนติเมตร
้
3.นาเต้าอวยที่ใส่ ผงเจลาตินมาวัดขนาดการยุบตัวหลังวางวัตถุ 200 กรัม ได้ 3.7 เซนติเมตร
สรุ ป
1.เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ เจลาติน
้
2.เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวอย่างเหมาะสมมากกว่าเจลาติน
้
ข้ อเสนอแนะ
ควรนาสารอื่นมาใส่ ในเต้าฮวยแทนผงวุน หรื อผงเจลาติน
้
ภาคผนวก

12
ตอนที่ 1 ทดสอบเจลาติน
ภาพที่ 1
1.นาหม้ อใส่ นมข้ นจืดและนมข้ นหวานเสร็จแล้วตั้งไฟ
ภาพที2
่

2.ใส่ ผงเจลาตินลงไป
13
ภาพที่ 3
3.คนจนไม่ ให้ จับตัวกัน
ภาพที่ 4

4.ตักใส่ ถ้วยแล้ วทิงไว้ สักครู่
้
14
ตอนที่ 2 ทดสอบผงวุ้น
ภาพที่ 1

1.นาหม้ อใส่ นมข้ นจืดและนมข้ นหวานเสร็จแล้วตั้งไฟ
ภาพที2
่

2.ใส่ ผงวุ้นลงไป
15
ภาพที่ 3
3.คนจนไม่ ให้ จับตัวกัน
ภาพที่ 4

4.ตักใส่ ถ้วยแล้ วทิงไว้ สักครู่
้

16
ตอนที่ 3
ภาพที่ 1

1.นาเต้ าฮวยทีใส่ ผงวุ้นและเจลาตินมาวัดผลการทดลอง
่
ภาพที่ 2

2.วัดขนาดก่ อนวางวัตถุ
17
ภาพที3
่

3.นาวัตถุขนาด 200 g,มาทับและบันทึกผล
ภาพที4
่

4.จบการนาเสนอ
18
บรรณนานุกรม
http://www.thaipingpong.com/smf/index.php?topic=7170.0 .7 มกราคม 2557
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=papasierra-pat&month=102013&date=09&group=1&gblog=3.7 มกราคม 2557

More Related Content

What's hot

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 

Viewers also liked

โครงงานเต าฮวย
โครงงานเต าฮวยโครงงานเต าฮวย
โครงงานเต าฮวยAor Dujkamol
 
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้Nyzott Notty
 
โครงงานเต าฮวย12121212
โครงงานเต าฮวย12121212โครงงานเต าฮวย12121212
โครงงานเต าฮวย12121212Aor Dujkamol
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (10)

โครงงานเต าฮวย
โครงงานเต าฮวยโครงงานเต าฮวย
โครงงานเต าฮวย
 
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
 
โครงงานเต าฮวย12121212
โครงงานเต าฮวย12121212โครงงานเต าฮวย12121212
โครงงานเต าฮวย12121212
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย

โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2nampingtcn
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2tassanee chaicharoen
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Apaiwong Nalinee
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)nooknaka
 

Similar to โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย (20)

Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 

โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย

  • 1. การแข็งตัวของเต้ าฮวย จัดทาโดย 1.นายพรเทพ สิริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6 ั 2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12 3.นางสาวรุ่งอรุณ จุกกระโทก เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/3 วิชาโครงงานโครงงานเพือประโชยน์ ต่อสาธารณะประโยชน์ ว 30265 ่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนมกุฏเมืองราชวิทยาลัย ิ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ้
  • 2. การแข็งตัวของเต้ าฮวย จัดทาโดย 1.นายพรเทพ สิริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6 ั 2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12 3.นางสาวรุ่งอรุณ จุกกระโทก เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/3 ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครูศุภพงศ์ คล้ายคลึง
  • 3. ก ชื่อโครงงาน ผู้จัดทาโครงงาน ครู ทปรึกษา ี่ การแข็งตัวของเต้าฮวย 1.นายพรเทพ สิ ริวฒนาพิบูลย์ เลขที่ 6 ั 2.นางสาวดุจกมล โฉมงามขา เลขที่ 12 3.นางสาวรุ่ งอรุ ณ จุกกระโทก เลขที่ 17 อาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง โรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย ปี การศึกษา 2556 บทคัดย่อ โครงงานเรื่ องนี้มีที่มาเนื่ องจากเหล่าคณะผูจดทาชอบรับประทานเต้าฮวยพวกเราก็ได้เกิดความสงสัยขึ้น ้ั เมื่อได้สังเกตเห็นว่าการทาเต้าฮวยเขามีวธีการทาอย่างไร ิ ทาไมเต้าฮวยที่เรากินนั้นถึงจับตัวกันแข็งเป็ นก้อนได้ เหตุน้ ี เองพวกเราก็เลยจะจัดทาโครงงานเรื่ องนี้ ข้ ึนมาเพื่อทดสอบการแข็งตัวของเต้าฮวย โดยการเลือกเจลาตินและผงวุนมาทดลองเพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบการยุบตัวของเนื้ อเต้าฮวยโดยใช้วสดุและปริ ้ ั มาณของสารอื่นๆรวมทั้งปริ มาณส่ วนประกอบที่ทาเต้าฮวยในปริ มาณที่เท่ากันทุกอย่างวิธีการทาก็ไม่ยากนา หม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆแล้วก็ใส่ ผงเจลาติน 2 ช้อนชา ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ให้อุ่นตักใส่ ถวยพลาสติก ั ้ แล้วพักไว้สักครู่ ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไปตั้งไว้ 15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว ส่ วนอีกหม้อก็ทาเหมือนกันเพียงแค่เปลี่ยนจากผงเจลาตินเป็ นผงวุนวิธีการก็เหมือนกันพอทาเต้าฮวยทั้ง 2 ้ ถ้วยเสร็ จแล้วก็นามาเปรี ยบเทียบกันโดยการวัดขนาดเต้าฮวยที่พ่ ึงทาเสร็ จหลังจากนั้นก็นาวัตถุที่มีขนาด 200 กรัมมาวางทับบนเนื้อเต้าฮวยและวัดขนาดอีกรอบ เสร็ จแล้วก็บนทึกผล ั สรุ ปคือเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินดังนั้นในการทาเต้าฮวยก็ควรจะใช้ผงวุนเพ ้ ้ ราะมีการแข็งตัวในปริ มาณที่เหมาะสม
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานสาธารณะประโยชน์ เรื่ องการแข็งตัวของเต้าฮวย สาเร็ จลุล่วงไปด้วยความกรุ ณาของอาจารย์ศุภพงศ์ คล้ายคลึง ซึ่งเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานที่ได้ให้คาแนะนาและคาปรึ กษา เกี่ยวกับการทาโครงงานตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องของการทาโครงงาน ให้สาเร็ จและบรรลุเป้ าหมาย จึงขอกราบขอบคุณไว้ ณ ที่น้ ี เป็ นอย่างสู ง คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้ า บทคัดย่อ.........................................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ..........................................................................................................................................ข บทที่ 1 ทีมาและความสาคัญ ่ ทีมาและความสาคัญ..........................................................................................................................1 ่ วัตถุประสงค์ ......................................................................................................................................1 สมมติฐาน..........................................................................................................................................1 ขอบเขตการศึกษา..............................................................................................................................2 ตัวแปรทีศึกษา...................................................................................................................................2 ่ นิยามเชิงปฏิบัติการ...........................................................................................................................2 ระยะเวลาดาเนินการ..........................................................................................................................2 ประโชยน์ ทคาดว่าจะได้ รับ................................................................................................................2 ี่ บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ เจลาติน..............................................................................................................................................3 ผงวุ้น.................................................................................................................................................4 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ ......................................................................................................................................8 วิธีการดาเนินงาน..............................................................................................................................9 บทที่ 4 ผลการศึกษาทดลอง..........................................................................................................................10 บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปราย ข้ อเสนอแนะ..........................................................................................................11ภาคผนวก....................... .........................................................................................................................1217บรรณานุกรม................................................................................................................................................. 18
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนา ทีมาและความสาคัญ ่ เนื่องจากเหล่าคณะผูจดทาชอบรับประทานเต้าฮวย พวกเราก็ได้เกิดความสงสัยขึ้น ้ั เมื่อได้สังเกตเห็นว่าการทาเต้าฮวยเขามีวธีการทาอย่างไร ิ ทาไมเต้าฮวยที่เรากินนั้นถึงจับตัวกันแข็งเป็ นก้อนได้ ่ เหตุน้ ี เองพวกเราก็เลยจะจัดทาโครงงานเรื่ องนี้ ข้ ึนมาโดยตั้งชื่อโครงงานนี้ วาการแข็งตัวของเต้าฮวยเริ่ มจากขั้ นตอนแรกพวกเราก็ได้เข้าไปศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทาเต้าฮวยในอินเทอร์ เน็ตเพื่อที่จะได้มีความรู ้เกี่ย วกับขั้นตอนการทาเต้าฮวย มีเว็บไซต์มากมายที่มีวธีการทาที่น่าสนใจ ิ แต่ละเว็บไซต์น้ นล้วนมีข้ นตอนที่คล้ายๆกัน ั ั แต่อาจจะมีส่วนประกอบที่แตกต่างกันแล้วแต่สูตรของแต่ละคน เราจึงได้แนวคิดการทาโครงงานของเราขึ้นมาโดยที่เราจะทาเต้าฮวยขึ้นมา 2 แก้ว โดยที่แต่ละแก้วจะใส่ สารที่ทาให้เต้าฮวยแข็งตัวแตกต่างกันไป โดยเราจะใช้เจลาติน และผงวุน ้ ่ มาทดลองในเรื่ องนี้โดยใช้ปริ มาณของผงวุนกับเจลาตินเป็ นตัวกาหนดในการทดลองเพื่อที่จะดูวาสารชนิดใ ้ ดสามารถทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้อย่างเหมาะสม โดยกาหนดเวลาและปริ มาณไว้ให้เท่าๆกันทั้งสองถ้วย และคอยสังเกตดูผลการทดลองว่าผลที่เกิดขึ้นจะเป็ นอย่างไรและระหว่างผงวุนกับเจลาตินอันไหนที่ทาสามา ้ รถทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้อย่างเหมาะสมที่สุด โดยเราจะใช้วตถุที่มีน้ าหนัก200gในการวัดการแข็งตัวของเต้าฮวย ั ถ้าเต้าฮวยถ้วยไหนยุบมากก็แสดงว่าเต้าฮวยถ้วยนั้นแข็งตัวได้อย่างเหมาะสมเพราะไม่แข็งจนเกินไปและนิ่ม
  • 7. จนเกินไป พวกเราคิดว่าโครงงานเรื่ องนี้ จะเป็ นประโยชน์อย่างมากถ้าได้ทาการทดลองเสร็ จสิ้ นแล้วเพราะสามารถใช้ใ นการประกอบอาชีพการทาเต้าฮวยขายได้และเราก็จะได้เต้าฮวยที่มีคุณภาพไม่แข็งและไม่นิ่มจนเกินไปรับป ระทานได้อย่างเอร็ ดอร่ อย และโครงงานเรื่ องนี้จะช่วยทาให้ผผลิตเลือกใช้สารที่เหมาะสมแก่การทาเต้าฮวยได้เป็ นอย่างดีและก็มีประโย ู้ ชน์อย่างมากแก่กรรมวิธีของตนเองซึ่งจะทาให้เต้าฮวยที่ได้มีคุณภาพที่ดี วัตถุประสงค์ ของการศึกษา เพื่อเปรี ยบเทียบความแข็งตัวระหว่างเต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินและเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุน ้ สมมติฐานของการศึกษาค้ นคว้า เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีความสามารถในการแข็งตัวดีกว่าเต้าฮวยที่ใส่ ผงเจลาติน ้ 2 ขอบเขตของการศึกษาทดลอง การทาโครงงานนี้ทาขึ้นเพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบการแข็งตัวของเต้าฮวยระหว่างเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนกับเ ้ ต้าฮวยที่ใส่ เจลาตินเท่านั้น ตัวแปรทีศึกษา ่ ตัวแปรตัว ผงเจลาตินและผงวุน ้ ตัวแปรตาม การแข็งตัวของเต้าฮวย ตัวแปรควบคุม 1.ปริ มาณนม 2. ปริ มาณน้ าตาล 3.ปริ มาณผงเจลาตินและผงวุน ้ 4.ระยะเวลาที่ปล่อยให้เต้าฮวยแข็งตัว 5.แม่พิมพ์ที่ใช้ในการทาเต้าฮวย 6.ปริ มาณของเต้าฮวยที่เทลงในแม่พิมพ์ 7.สภาวะที่ใช้ในการแข็งตัวของเต้าฮวย นิยามเชิงปฏิบัติการ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข็ ง ตั ว ข อ ง เ ต้ า ฮ ว ย ห ม า ย ถึ ง ระดับการยุบตัวของเต้าฮวยเมื่อถูกทับด้วยวัตถุหนัก 200 g
  • 8. ระยะเวลาดาเนินการศึกษาทดลอง เดือนพฤษจิกายน-กุมภาพันธ์ 2557 ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ ได้ทราบว่าระหว่างผงเจลาติน และผงวุน สิ่ งใดที่ทาให้เต้าฮวยแข็งตัวได้เหมาะสมกว่ากัน ้ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ การทาเต้ าฮวย -ส่ วนผสมเต้าฮวย 1.น้ าเปล่า 2.นมสดรสจืด 2 ถ้วย 3.นมข้นจืด 1กระป๋ อง 4.นมข้นหวาน (ตามชอบ)
  • 9. วิธีทาเต้ าฮวย 1.เอาหม้อตั้งไฟ ใส่ น้ าเปล่า นมข้นจืด นมข้นหวานลงในหม้อเปิ ดไฟเบา ๆ 2.ใส่ ผงวุนและน้ าตาล (ค่อย ๆใส่ และขนไปด้วย) ้ 3.รอสักครู่ เมื่อมีฟองอากาศขึ้น แล้วก็ใส่ นมข้นจืดลงไป แล้วคนสักประมาณ 15 นาที รอให้อุ่น ๆ 4.ตักใส่ แก้ว หรื อถ้วย ที่มีฝาปิ ดแล้วนามาพักไว้ในถาด (ในการพักตัวเต้าฮวยนมสด เราควรจะนามาแช่ในน้ า เพื่อจะให้ เนื้อของเต้าฮวยไม่แข็งมากจนเกินไป และเก็บไว้ได้นาน) 5.ตั้ งไว้จนเย็น ประมาณ 15 นาที จะจับตัวนิ่มๆ เหมือนวุน ้ 6.เอาออกมา ใส่ ผลไม้กระป๋ อง หรื อผลไม้ที่เราต้องการ 7.ตามด้วยน้ าราด ปิ ดฝา เอากลับเข้าตูเ้ ย็นเหมือนเดิม 4 การทาชั้นสี ของเต้ าฮวย 1.เอาหม้อตั้งไฟ ใส่ น้ าเปล่า นมข้นจืด นมข้นหวานลงในหม้อ เปิ ดไฟเบา ๆ 2.ใส่ ผงวุนและน้ าตาล (ค่อย ๆใส่ และขนไปด้วย) ้ 3.รอสักครู่ เมื่อมีฟองอากาศขึ้น แล้วก็ใส่ นมข้นจืดลงไป แล้วคนสักประมาณ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ รอให้อุ่น ๆ 4.ตักใส่ ถวย แล้วนามาผสมกับสี จากธรรมชาติ เช่น สี จากน้ าใบเตย สี จากแก้วมังกรสี จากฟักทอง ้ เป็ นต้น แล้วคนให้เข้ากัน 5.ตักใส่ แก้ว หรื อถ้วย ที่มีฝาปิ ดแล้วนามาพักไว้ในถาด (ในการพักตัวเต้าฮวยนมสด เราควรจะนามาแช่ในน้ า เพื่อจะให้เนื้ อของเต้าฮวยไม่แข็งมากจนเกินไป และเก็บไว้ได้นาน) 6.ตั้ งไว้จนเย็น ประมาณ 15 นาที จะจับตัวนิ่มๆ เหมือนวุน ้ 7.จากนั้ นใส่ ผลไม้สด หรื อฟรุ๊ ตสลัดที่เตรี ยมเอาไว้ให้พอ เจลาติน (อังกฤษ: gelatin) มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า gélatine เป็ นของแข็งโปร่ งแสง ไม่มีสี เปราะ และแทบไม่มีรสชาติ ได้มาจากการแปรรู ปคอลลาเจน (collagen) ่ ที่มีอยูในผิวหนัง กระดูก รวมทั้งเนื้อเยือเกี่ยวพันของสัตว์ซ่ ึ งเป็ นวัตถุดิบที่นิยมนามาทาการผลิต ่ ่ เจลาตินจัดอยูในกลุ่มอาหาร มี E number คือ E441 มีการนาเจลาตินมาใช้ในการเป็ นส่ วนประกอบของผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น เครื่ องสาอาง ยา อาหาร
  • 10. และฟิ ล์มถ่ายรู ป โดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาหารซึ่ งเป็ นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเจลาตินโดยเจลาตินส่ ว นนี้เรี ยกว่า edible gelatin ซึ่ งใช้เป็ นส่ วนประกอบในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ขนมหวาน ไอศครี ม โยเกิร์ต เป็ นต้น ตลาดที่ใหญ่รองลงมาคืออุตสาหกรรมการผลิตยาโดยใช้เจลาตินในการเคลือบเม็ดยาและผลิตเป็ นแคปซูล ทั้งชนิดแคปซูลแข็งและแคปซูลนิ่ม เจลาตินเป็ นโปรตีนที่ได้การไฮโดรไลซ์คอลลาเจนด้วยความร้อนหรื อใช้สารอื่นช่วย เช่น กรดหรื อ ด่าง ทาให้โครงสร้างคอลลาเจนถูกทาลายและเปลี่ยนแปลงเป็ นสารเจลาติน ในการสลายพันธะในคอลลาเจน ส่ วนประกอบหลักที่พบในเจลาตินเป็ นสายเกลียว วัตถุดิบในการสกัดเจลาตินคือกระดูก เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และลาไส้บางส่ วนของสัตว์เช่น โคกระบือ สุ กร ่ และม้า เป็ นต้น พันธะระหว่างโมเลกุลของคอลลาเจนถูกเปลี่ยนให้อยูในรู ปที่จดเรี ยงตัวได้ง่ายขึ้น ั เจลาตินหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวกลับเมื่อได้รับความเย็น เจลาตินสามารถก่อเจลแบบกึ่งของแข็งร่ วมกับน้ า เมื่อละลายเจลาตินในน้ าจะได้สารละลายที่มีความหนืดสู งและก่อเจลเมื่อทาให้เย็น องค์ประกอบทางเคมีของเจลาตินแทบจะเหมือนคอลลาเจนเริ่ มต้น เจลาติน (gelatin) เป็ น ไฮโดรคอลลอยด์ (hydrocolloid) ซึ่งเป็ นโปรตีน (protein) ที่ได้จากย่อย ่ และสกัดคอลลาเจน(collagen) ที่มีอยูใน กระดูก หนังสัตว์และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) ของสัตว์เช่น ควาย หมู วัว โดยใช้ความร้อน และ กรด หรื อ ด่าง เพื่อ ย่อยให้คอลลาเจนโมเลกุลเล็กลง เปลี่ยนเป็ นเจลาตินลักษณะเป็ นแผ่น ชิ้น เกร็ ด หรื อ ผงสี เหลืองอ่อน หรื อสี เหลืองอาพัน ละลายได้ในน้ าร้อนไม่ละลายในน้ าเย็น 5 แต่จะอ่อนนุ่ม พองตัว และอุมน้ าได้ 5-10 เท่าของน้ าหนักเดิม ละลายได้ในกรดอะซิ ติก (acetic acid) ้ ไม่ละลายในอีเธอร์ คลอโลฟอร์ ม และเอทธานอล 98 เปอร์เซ็นต์ การใช้ ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมอาหาร เจลาติน (E441) ที่ใช้เป็ นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) เมื่อนาผงเจลาตินผสมน้ า และให้ความร้อน จะเป็ นของเหลวหนืด เมื่อตั้งทิ้งไว้ให้เย็นของเหลวจะตัวกลายเป็ นเจล (gel) ใช้ในอาหารได้หลายวัตถุประสงค์ดงนี้ ั -ใช้เป็ นสารที่ทาให้เกิดเจล (gelling agent) ที่คืนตัวเป็ นของเหลวได้เมื่อได้รับความร้อน (thermoreversible gel) -ใช้เป็ นสารที่ทาให้เกิดความคงตัว (stabilizer) เป็ นอิมลซิไฟเออร์ (emulsifier) ั ทาให้น้ ากับไขมันรวมตัวกันได้ดี ไม่แยกชั้น -ใช้ทดแทนไขมัน (fat replacer) ใช้ในอาหารไขมันต่า -ใช้สาหรับการจับเก็บกลิ่นรส flavor encapsulation
  • 11. -ใช้เคลือบผิว แฮม ขนมเค้ก เพื่อรักษาความชุ่มชื้น เจลาติน ใช้ ในผลิตภัณฑ์ อาหารหลากหลายชนิด ได้ แก่ -ผลิตภัณฑ์นม (dairy products) - นมพาสเจอไรซ์ นมยูเอชที, นมเปรี้ ยว (ใช้ 0.2-0.8%) , เนยแข็งชนิดนิ่ม (soft cheese) เช่น ซาวร์ ครี ม, ครี มชีส (cream cheese) ,คอตเตจชีส (cottage cheese) , ชีสสเปรด (เนยทาขนมปัง) ) , เค้กแช่แข็ง, พุดดิ้ง, เต้าหูนมสด, คัสตาร์ด, มูส,ไอศครี ม, มาการี น,เนยไขมันต่า ้ -ขนมหวาน (confectionery) - เยลลี่, เม็ดเยลลี่,มาชแมลโล (marshmellow) กัมมีแบร์ , หมากฝรั่ง, ั นูกต, ลิโคริ ส, ขนมเคี้ยวหนึ บ, -อาหารเคลือบน้ าตาล, เคลือบผิวขนม,เค้กแช่แข็ง, เคลือบทอฟฟี่ ,ช็อกโกแลตหรื อหมากฝรั่ง ชีสเค้ก, ซีเรี ยลบาร์ -ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ไส้กรอก, เคลือบผิวแฮม -อาหารกระป๋ อง เช่น เนื้อสัตว์ป๋อง อาหารทะเลกระป๋ อง อาหารสัตว์ -อาหารแช่เยือกแข็ง -ซุป, ซอส, แกง ,โจ๊ก -มาการี น น้ าสลัด -น้ าผลไม้, แยม 6 กรรมวิธีการผลิตเจลาติน เจลาตินแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ตามกระบวนการผลิตและแหล่งที่มา ่ -ชนิด A เป็ นเจลาตินที่สกัดได้จากส่ วนของกระดูกหมู โดยกรรมวิธียอยด้วยกรด ่ -ชนิด B เป็ นเจลาตินที่ได้จากหนังและกระดูกวัว ลูกวัว โดยกรรมวิธียอยด้วยด่าง การผลิตเจลาตินโดยใช้ กรด (Acid Manufacturing Process) วิธีการย่อยด้วยกรด เป็ นวิธีการหลักที่ใช้กระดูกหมู และหนังปลาเป็ นวัตถุดิบ โดยคอลลาเจนที่สกัดได้จากวัตถุดิบ จะถูกปรับให้เป็ นกรด ที่ pH ประมาณ 4และให้ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็ นระดับ จาก 50°C จนเดือด เพื่อทาให้โปรตีนคอลลาเจนสู ญเสี ยสภาพธรรมชาติ (protein denaturation) และทาให้ละลายได้หลังจากนั้นสารละลายจะถูกนาไปสกัดไขมันออก และกรอง (filtration) เพื่อให้ใส แล้วจึงทาให้เข้มข้น (concentration) โดยการระเหยด้วยเครื่ องระเหยสุ ญญากาศ (vacuum evaporator) หรื อการกรองด้วยเยื่อ (membrane filtration) โดยใช้เยื่อชนิดultra filtrationเพื่อให้ได้เจลาตินเข้มข้นพอที่จะนาไปทาแห้ง (dehydration)
  • 12. ซึ่ งมักใช้การอบในตูอบลมร้อนขั้นตอนสุ ดท้ายคือบด ผสม และบรรจุในบรรจุภณฑ์ เจลาตินที่ได้ มีisoionic ้ ั ่ ่ ั point อยูระหว่าง 7 ถึง9 ขึ้นอยูกบระยะเวลาและความรุ นแรงของการย่อยคอลลาเจน ด้วยกรด ซึ่ งมีผลต่อปฏิกริ ยา hydrolysisของกรดอะมิโน asparagineและglutamine การผลิตเจลาตินโดยใช้ ด่าง (Alkali Manufacturing Process) กรรมวิธีการผลิตเจลาตินด้วยด่างใช้สาหรับ หนังวัว และแหล่งวัตถุดิบ จากสัตว์ที่มีอายุมาก โดยคอลลาเจนจะถูกแช่ในด่างแก่ ก่อนการสกัด ด่างจะย่อย side chains บนโมเลกุลของ asparagineและglutamineให้เป็ น กรดกลูตามิก (glutamic acid) และกรดแอสพาติก (aspartic ่ acid) ทาให้ได้เจลาตินที่มีisoelectric point อยูระหว่าง 4.8ถึง 5.2 จากนั้นจึงล้างด่างออกแล้ว และ กาจัดเกลือส่ วนเกินที่เกิดขึ้น ด้วยการใช้ การแลกเปลี่ยนประจุ (ion-exchange) ย่อยต่อด้วยกรด ที่ระดับ pH ที่ตองการ ซึ่งระดับ pH ้ มีผลต่อความหนืดและความแข็งแรงของเจล จากนั้นนาไปต้มต่อเพื่อเปลี่ยนคอลลาเจนให้เป็ นเจลาตินเหมือ นในกรรมวิธีการใช้กรด ที่กล่าวข้างต้น เจลาตินที่ได้จากวัว และลูกวัวนั้น สามารถใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้ ถ้ามีการเชือด ถูกต้องตามหลักการศาสนาอิสลาม ส่ วนเจลาตินที่ได้จากหมูไม่ สามารถที่จะใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้ เจลาตินจากปลาเป็ นเจลาตินอีกชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในการผลิตอาหารฮาลาลได้ โดย ส่ วนใหญ่ได้จากปลาทะเลน้ าลึก เช่น ปลา cod, haddock และ Pollock เป็ นต้น 7 คุณค่ าทางโภชนาการ เจลาตินมีปริ มาณแคลอรี่ ต่าเพียง 3.5 kcal/g เท่านั้น เจลาตินเป็ นโปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่จาเป็ น (essential amino acid) ชนิดทริ ปโตฟาน (Tryptophan) และเมธไทโอนิน (methionine) ในปริ มาณจากัด ั เพราะฉะนั้นเจลาตินจึงไม่ใช่แหล่งโปรตีนที่ดี ควรรับประทานควบคู่กบโปรตีนชนิดอื่น วุนคืออะไร ้ ปริ มาณวุนที่ได้ รวมทั้งความบริ สุทธิ์ ของสาหร่ าย และปริ มาณสิ่ งเจือปนอื่นๆ ้ ่ ั คุณภาพของวุนจะขึ้นอยูกบชนิดและแหล่งที่มาของสาหร่ าย สภาพแวดล้อมของทะเล รวมทั้งกรรมวิธี ้ การสกัด อันได้แก่ การกาจัดสิ่ งเจือปนก่อนสกัด อุณหภูมิ ความดัน ความเป็ นกรด ด่าง และระยะเวลาที่ใช้ในการสกัด แหล่ งทีมา ่
  • 13. ่ Lovelygirl.2557.เจลาติน ที่อยูในขนมเยลลี่ ทามาจากอะไร(ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://www.thaipingpong.com/smf/index.php?topic=7170.0 .7 มกราคม 2557 Bloggang.2556.ผงวุนและเจลาตินทามาจาก?(ออนไลน์) ้ แหล่งที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=papasierra-pat&month=102013&date=09&group=1&gblog=3.7 มกราคม 2557 8 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และวิธีดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ ทใช้ ในการศึกษา ี่ 1.ผงเจลาติน 2.ผงวุน ้ 3.นมสดจืด 4.นมข้นหวาน 5.หม้อเบอร์ 16 6.ถ้วยพลาสติกใส 7.น้ าเปล่า 350 มล. วิธีการศึกษา จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน 2 2 2 2 2 2 2 ช้อนชา ช้อนชา ถ้วย ถ้วย ใบ ถ้วย ขวด
  • 14. ตอนที่ 1 ทดสอบเจลาติน 1.นาหม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆ 2.ใส่ ผงเจลาติน 2 ช้อนชา (ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน) 3.คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิงไว้ให้อุ่น ั ้ 4.ตักใส่ ถวยพลาสติก แล้วพักไว้สักครู่ (ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไป)ตั้งไว้ ้ 15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว ตอนที่ 2 ทดสอบผงวุ้น 1.นาหม้อใส่ น้ าเปล่า 350 มล. นมข้นจืด 1 ถ้วย นมข้นหวาน 1 ถ้วย ลงไปในหม้อแล้วนาไปตั้งไฟเปิ ดไฟเบาๆ 2.ใส่ ผงวุน 2 ช้อนชา (ค่อยๆใส่ และคนให้เท่าๆกัน) ้ 3.คนจนไม่ให้มนจับตัวกันเป็ นฟองอากาศ รอ 15 นาที จากนั้นทิ้งไว้ให้อุ่น ั 4.ตักใส่ ถวยพลาสติก แล้วพักไว้สักครู่ (ในการพักเราจะนาไปแช่น้ าเต้าฮวยจะได้ไม่แข็งเกินไป)ตั้งไว้ ้ 15 นาทีเต้าฮวยก็จะจับตัว 9 ตอนที่ 3 เปรียบเทียบเต้ าฮวยทีใส่ เจลาตินและผงวุ้น ่ 1.นาเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนและเจลาตินมาวัดความสู งก่อนนามาทดลอง ้ 2.ตัดกระดาษมาวางบนเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด 3.นาวัตถุหนัก 200 กรัม มาทับบนเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด 4.วัดระดับความสู งของเต้าฮวยทั้ง 2 ชนิด 5.สังเกตดูระดับการยุบตัวของเต้าฮวยและบันทึกผล
  • 15. 10 บทที่ 4 ผลการศึกษาทดลอง ตารางแสดงผงวุ้นและเจลาตินทีมีผลต่ อการยุบตัวของเต้ าฮวย ่ สารทีนามาทดสอบ ่ การยุบตัวของเต้ าฮวย ก่ อนวางวัตถุ 200 g 1.ผงวุ้น 2.เจลาติน 4 cm. 4 cm หลังวางวัตถุ 200 g 3.5 cm 3.7 cm
  • 16. จากการทดลองพบว่าการยุบตัวของเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนและเจลาตินก่อนวางวัตถุขนาด 200 ้ กรัมมีขนาดเท่ากัน และหลังจากวางวัตถุเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวเหลือ 3.5 เซนติเมตร ้ ส่ วนเต้าฮวยที่ใส่ เจลาติน มีการยุบตัวเหลือ 3.7 เซนติเมตร ซึ่ งเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวอย่างเหมาะสมมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ ผงเจลาติน ้ 11 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย ข้ อเสนอแนะ อภิปรายผล 1.นาเต้าฮวยที่ทาจากผงวุนและเจลาตินมาเปรี ยบเทียบกันโดยวัดขนาดก่อนวางวัตถุหนัก 200 กรัม ้ ได้ 4 เวนติเมตรเท่ากัน 2.นาเต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมาวัดขนาดการยุบตัวหลังวางวัตถุ 200 กรัม ได้ 3.5 เซนติเมตร ้ 3.นาเต้าอวยที่ใส่ ผงเจลาตินมาวัดขนาดการยุบตัวหลังวางวัตถุ 200 กรัม ได้ 3.7 เซนติเมตร สรุ ป 1.เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวมากกว่าเต้าฮวยที่ใส่ เจลาติน ้ 2.เต้าฮวยที่ใส่ ผงวุนมีการยุบตัวอย่างเหมาะสมมากกว่าเจลาติน ้
  • 19. 1.นาหม้ อใส่ นมข้ นจืดและนมข้ นหวานเสร็จแล้วตั้งไฟ ภาพที2 ่ 2.ใส่ ผงเจลาตินลงไป 13 ภาพที่ 3
  • 20. 3.คนจนไม่ ให้ จับตัวกัน ภาพที่ 4 4.ตักใส่ ถ้วยแล้ วทิงไว้ สักครู่ ้ 14 ตอนที่ 2 ทดสอบผงวุ้น
  • 21. ภาพที่ 1 1.นาหม้ อใส่ นมข้ นจืดและนมข้ นหวานเสร็จแล้วตั้งไฟ ภาพที2 ่ 2.ใส่ ผงวุ้นลงไป 15 ภาพที่ 3
  • 22. 3.คนจนไม่ ให้ จับตัวกัน ภาพที่ 4 4.ตักใส่ ถ้วยแล้ วทิงไว้ สักครู่ ้ 16 ตอนที่ 3
  • 23. ภาพที่ 1 1.นาเต้ าฮวยทีใส่ ผงวุ้นและเจลาตินมาวัดผลการทดลอง ่ ภาพที่ 2 2.วัดขนาดก่ อนวางวัตถุ 17
  • 25. บรรณนานุกรม http://www.thaipingpong.com/smf/index.php?topic=7170.0 .7 มกราคม 2557 http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=papasierra-pat&month=102013&date=09&group=1&gblog=3.7 มกราคม 2557