SlideShare a Scribd company logo
1
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน ๑๐ ข้อ
๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดเป็นคานาม
ก. คน สัตว์ต้นไม้
ข. เขา เธอ ท่าน
ค. กิน นอน เดิน
ง. ดี เลว งาม
๒. ข้อใดเป็นคานามสามานยนาม
ก. ไอ้แจ้แม่อั้ว
ข. วัตถุ สิ่งของ
ค. ครู นักเรียน
ง. วัดช่องลม เมืองสุรินทร์
๓. คานามนอกจากทาหน้าที่เป็นประธานแล้ว ยังทาหน้าที่อะไรได้อีก
ก. เป็นกริยา
ข. เป็นคุณศัพท์
ค. เป็นสรรพนาม
ง. เป็นกรรม เป็นบทขยาย
๔. ข้อใดเป็นคานามวิสามานยนาม
ก. นักศึกษา
ข. หนังสือวิวิธภาษา
ค. ความฝันเฟื่อง
ง. หนังสือหนังหา
๕. ข้อใดไม่มีคานาม
ก. รถติด
ข. ฝนตก
ค. กินข้าว
ง. ฉันหิว
2
๖. ข้อใดเป็นคาสามานยนาม และวิสามานยนาม ตามลาดับ
ก. ผู้ชาย – ผู้หญิง
ข. ลุงพิทักษ์– ลุงนิเวศน์
ค. วัยรุ่น – นางสาวกชพร
ง. บุรุษไปรษณีย์– ทนายความ
๗. ข้อใดมีคานามมากที่สุด
ก. ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้
ข. พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น
ค. ตักน้าใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา
ง. เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่
๘. ข้อใดมีจานวนคานามไม่เท่ากับข้ออื่น
ก. กาแพงมีหู ประตูมีช่อง
ข. แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร
ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
ง. อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น
๙. ข้อใดไม่มีอาการนาม
ก. ฉันไม่ขอแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้
ข. ในที่ประชุมนี้ขอให้งดคุยเรื่องการบ้านการเมือง
ค. คนส่วนใหญ่ลืมความดีความชอบของเขาไปแล้ว
ง. เขาถูกตั้งข้อหาขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน
๑๐. ข้อใดใช้ลักษณนามได้ถูกต้อง
ก. ยักษ์ ๑ ตัว
ข. มุ้ง ๑ ผืน
ค. ฉิ่ง ๑ อัน
ง. แคน ๑ เต้า
3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
๑. ก ๖. ค
๒. ค ๗. ค
๓. ง ๘. ข
๔. ข ๙. ข
๕. ง ๑๐. ง
ความพยายาม
อยู่ที่ไหนความสาเร็จอยู่ที่นั่น
4
คานาม
คาในภาษาจาแนกได้เป็น ๗ ชนิด คือ คานาม คาสรรนาม คากริยา
คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน และคาอุทาน การที่คาไทยคาเดียวมีหลาย
ความหมายและหลายหน้าที่ ทั้งการจัดลาดับคาในประโยค ถ้าเรียงผิดตาแหน่ง
จะทาให้หน้าที่และความหมายผิดไป นักเรียนจึงต้องเรียนรู้ชนิดและหน้าที่
ของคาในประโยคเพื่อให้ผู้รับสารและผู้ส่งสารเข้าใจได้ตรงกันและประสบ
ผลสาเร็จในการสื่อสาร
คานาม เป็น คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์สิ่งของ สภาพ ลักษณะ และ
อาการของสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม มี
ทั้งหมด ๕ ชนิด ซึ่งทาหน้าที่หลาย ๆ อย่างในประโยค
เราสามารถทาความเข้าใจเกี่ยวกับคานาม โดยศึกษาเนื้อหาที่สาคัญ
เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ความหมายของคานาม
๒. ชนิดของคานาม
๓. หน้าที่ของคานาม
ซึ่งนักเรียนจะสามารถศึกษาได้ในบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้
เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
5
กรอบที่ ๑
ความหมายของคานาม
คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ บุคคล สัตว์ สิ่งของ และสถานที่สภาพ อาการ ทั้งที่มีตัวตน
และไม่มีตัวตน
แมว ช้าง กระต่าย
รถบรรทุก จักรยาน แก้วน้า
วัด สถานีรถไฟ
6
คุณครูกชพร มาริโอ้ ณเดช
คาต่าง ๆ ที่ใช้เรียกชื่อ บุคคล สัตว์ สิ่งของ และสถานที่
เรียกคานั้น ว่า คานาม
คาถามประลองความคิด
คาใดบ้างเป็นคานาม
โต๊ะ โรงเรียน ไก่ เธอ เขา โทรศัพท์
สรุป
7
เฉลยคาถามประลองความคิด
คาใดบ้างเป็นคานาม
โต๊ะ โรงเรียน ไก่
เธอ เขา โทรศัพท์
ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ
เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
8
กรอบที่ ๒
ชนิดของคานาม
คานาม เป็นคาที่ใช้เรียกชื่อ อาจเป็นชื่อคน สัตว์สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ทั้งที่มี
ตัวตน แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด
๑. สามานยนาม หรือ นามทั่วไป คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อสิ่งต่าง ๆ ไม่เฉพาะเจาะจงลงไป
ว่าเป็นคนใด สัตว์ตัวใด หรือสิ่งของใด เช่น หม้อ เสื้อผ้า รองเท้า ต้นไม้ ดอกไม้ เป็นต้น
๒. วิสามานยนาม หรือ นามเฉพาะ คือ คานามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ
หรือสิ่งอื่น ๆ เช่น ดอกกุหลาบ สมชาย ย่าโม เจริญกรุง กรุงเทพฯ วัดบ้านยางเตี้ย เป็นต้น
๓. สมุหนาม หรือ นามหมวดหมู่ คือ คานามที่บอกหมวดหมู่ของนามข้างหลัง เช่น ฝูงวัว
โขลงช้าง กองหนังสือ คณะนักเรียน เป็นต้น
9
ข้อสังเกตในการใช้ การ และ ความ
การ ส่วนมากนาหน้าคากริยาทั่ว ๆ ไป เช่น การนอน การแข่งขัน การทางาน
ความ ส่วนมากนาหน้าคาวิเศษ หรือคากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ เจริญ มี เสื่อม
นาหน้าคาวิเศษณ์ เช่น ความสบาย ความชั่ว ความยากจน นาหน้าคากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ เจริญ มี
เสื่อม เช่น ความหวัง ความรู้ ความงอกงาม ความเศร้าหมอง
การ หรือ ความ ซึ่งนาหน้านามทั่วไป จะจัดเป็นนามทั่วไป ไม่ใช่อาการนาม เช่น การครัว
การเงิน การแพทย์การเมือง ความอาญา เป็นต้น
๔. อาการนาม หรือ นามบอกอาการหรือความเป็นอยู่ คือ คานามที่สร้างขึ้นจากคากริยาหรือ
คาวิเศษณ์ เพื่อบอกลักษณะอาการหรือความเป็นอยู่ จะใช้คาว่า การ หรือ ความ นาหน้า เช่น
การ ได้แก่ การวิ่ง การกิน การเรียน การเขียน การพูด การแสดง การพักผ่อน การร้อง
ความ ได้แก่ ความงาม ความสุข ความเจริญ ความรัก ความสูง
เรื่องน่ารู้
๕. ลักษณนาม หรือ นามบอกลักษณะ คือ คานามที่บอกลักษณะของนามทั่วไป มักอยู่หลังคา
บอกจานวน เช่น กลอน ๓ บท ลิฟต์ ๒ ตัว โทรศัพท์ ๑ เครื่อง ข้าวหลาม ๑ กระบอก
10
ลักษณนามที่ใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน
นามทั่วไป นามบอกลักษณะ
๑. จุลสาร นิตยสาร วารสาร ฉบับ, เล่ม
๒. ฉิ่ง ฉาบ ข้าง, คู่
๓. เกาะ เกาะ
๔. ของที่อยู่ติดกันเป็นพืด เช่น จาก พลุ ประทัด ลูกปืน ปลาย่าง ตับ
๕. หนังสือพิมพ์บัตรประชาชน โฉนด จดหมาย แถลงการณ์ วุฒิบัตร ฉบับ
๖. ของที่เป็นทางยาว เช่น โซ่ เข็มขัด ถนน สาย, เส้น
๗. แคน เต้า
๘. พัด หนังสือ สมุด เกวียน อาวุธมีคม เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ว เล่ม
๙. เจดีย์พระพุทธรูป พระเครื่อง พระแสง (ขรรค์ดาบ ปืน หอก ฯลฯ) องค์
๑๐. ของที่มีรูปเป็นหลังคา เช่น เรือน ตึก กูบ ประทุน เก๋ง บุษบก หลัง
๑๑. ของเป็นดวงกลม ๆ ตรา ตะวัน เดือน ดาว ไฟ จิต วิญญาณ ดาวเทียม ดวง
๑๒. กล้องถ่ายรูป กล้อง
๑๓. ของที่มีส่วนถือและลากรูปยาม เช่น ซอ ธนู ร่ม ฉัตร หน้าไม้ คัน
๑๔. ชานชาลา ชาน
๑๕. ตะกรุด ดอก
๑๖. เทียนพรรษา ต้น
๑๗. ของกลมยาวเป็นปล้อง เช่น ไม้ไผ่ อ้อย ลา
๑๘. ของแบน ๆ เช่น กระดาษ กระดาน กระเบื้อง แผ่น
๑๙. ของแบนกว้างใหญ่ เช่น ผ้า เสื้อ พรม หนังสัตว์ที่ใช้ปู ผืน
๒๐. ปลีกล้วย ปลี
๒๑. สัตว์เช่น นก แมว หมา จิ้งจก ลิง ฯลฯ ตัว
๒๒. ยักษ์ฤาษี วิทยาธร ตน
๒๓. ของที่เป็นคู่ เช่น รองเท้า ถุงมือ แจกัน ต่างหู เชิงเทียน ตะเกียบ
ปาท่องโก๋
คู่
๒๔. รุ้งกินน้า ตัว
๒๕. ของเล็กยาวเรียงเป็นแถว เช่น ลูกกรง ฟัน ซี่โครง ซี่
11
ลักษณนามที่ใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน
นามทั่วไป นามบอกลักษณะ
๒๖. เครื่องหมายวรรคตอน เช่น ไปยาลน้อย อัญประกาศ มหัพภาค
อัศเจรีย์นิคหิต ฝนทอง
ตัว
๒๗. ของที่มีปากกว้าง เช่น แห อาวน สวิง โพงพาง ปาก
๒๘. ชิงช้า อัน
๒๙. กัลปังหา กิ่ง, ต้น
๓๐. ของที่เป็นแผ่น มีกรอบ เช่น หน้าต่าง กระจกเงา บาน
๓๑. ล็อกเกต อัน
๓๒. ขลุ่ย ปี่ เลา
๓๓. รูปภาพ รูป, ใบ, แผ่น
๓๔. เศษส่วน จานวน
๓๕. พระพุทธเจ้า พระราชา เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ เจ้านายชั้นสูง พระองค์
ชนิดของคานาม ประกอบด้วย สามานยนาม วิสามานยนาม
ลักษณนาม สมุหนาม และอาการนาม
คาถามประลองความคิด
“โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย” และ “เป็ด”
เป็นคานามชนิดใด
สรุป
12
เฉลยคาถามประลองความคิด
“โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย” และ “เป็ด”
เป็นคานามชนิดใด
โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย เป็นวิสามานยนาม
เป็ด เป็นสามานยนาม
ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ
ส่วนคนที่ตอบผิดกลับไปทบทวนอีกครั้งนะครับ
เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
13
กรอบที่ ๓
หน้าที่ของคานาม
คานาม ทาหน้าที่ต่าง ๆ ในประโยคดังนี้
๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น
๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนขยาย เช่น
๔. ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น
๑.๑ ดินสอหัก
๑.๒ นักเรียนเดินข้ามถนน
๒.๑ ป้าปลูกต้นไม้
๒.๒ แม่ทอดปลา
๓.๑ สัตว์น้าต้องอยู่ในน้า (ขยายประธาน)
๓.๒ พี่อยู่ห้องสมุด (ขยายกริยา)
๔.๑ ฉันเป็นคนไทย
๔.๒ น้องเหมือนพ่อ
14
๕. ทาหน้าที่ตามหลังคาบุพบท เช่น
๖. ทาหน้าที่เป็นคาเรียกขาน เช่น
๕.๑ หนังสืออยู่ในรถ
๕.๒ หมวกอยู่หลังตู้โชว์
๖.๑ แม่ครับผมกลับมาแล้ว
๖.๒ นายช่างช่วยดูงานแทนผมที
คานามทาหน้าที่หลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ประโยคนั้น ๆ มีความ
สมบูรณ์และมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
คาถามประลองความคิด
“เด็ก ๆ ชอบเล่นตุ๊กตา” คานามทาหน้าที่
อะไรในประโยค
สรุป
15
เฉลยคาถามประลองความคิด
“เด็ก ๆ ชอบเล่นตุ๊กตา” คานามทาหน้าที่อะไรในประโยค
ตุ๊กตา ทาหน้าที่กรรมของประโยค
ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ
ส่วนคนที่ตอบผิดกลับไปทบทวนอีกครั้งนะครับ
เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
16
บทสรุป
คานาม เป็น คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์สิ่งของ สภาพ ลักษณะ และ
อาการของสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
โดยแบ่งคานามออกเป็น ๕ ชนิด
๑. นามทั่วไป (สามานยาม)
๒. นามเฉพาะ (วิสามานยนาม)
๓. นามหมวดหมู่ (สมุหนาม)
๔. นามบอกอาการหรือความเป็นอยู่(อาการนาม)
๕. นามบอกลักษณะ (ลักษณนาม)
โดยคานามจะทาหน้าที่ต่าง ๆ กันไปในประโยค เพื่อให้ประโยค
มีความสมบูรณ์และชัดเจนมากยิ่งขึ้น
จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน
อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้
เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
17
แบบฝึกหัด
เรื่อง คานาม
๑. ให้นักเรียนจาแนกชนิดของคานาม
ประโยค
คานาม
สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม
พระอภัยมณี
สมุด
สถานีรถไฟศีขรภูมิ
โขลงช้าง
แม่
ช้างก้านกล้วย
๒. จงบอกลักษณะนามของประโยคต่อไปนี้
๒.๑ บ้านเรือน
๒.๒ รถ ร่ม
๒.๓ ปากกา
๒.๔ พระสงฆ์
๒.๕ มุ้ง
๒.๖ ข้าวหลาม
๒.๗ รุ้งกินน้า
๒.๘ ขลุ่ย พยายามเข้านะ
ครับ
18
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง คานาม
๑. ให้นักเรียนจาแนกชนิดของคานาม
ประโยค
คานาม
สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม
พระอภัยมณี 
สมุด 
สถานีรถไฟศีขรภูมิ 
โขลงช้าง 
แม่ 
ช้างก้านกล้วย 
๒. จงบอกลักษณะนามของประโยคต่อไปนี้
๒.๑ บ้านเรือน มีลักษณนามเป็น หลัง
๒.๒ รถ ร่ม มีลักษณนามเป็น คัน
๒.๓ ปากกา มีลักษณนามเป็น ด้าม
๒.๔ พระสงฆ์ มีลักษณนามเป็น รูป
๒.๕ มุ้ง มีลักษณนามเป็น หลัง
๒.๖ ข้าวหลาม มีลักษณนามเป็น กระบอก
๒.๗ รุ้งกินน้า มีลักษณนามเป็น ตัว
๒.๘ ขลุ่ย มีลักษณนามเป็น เลา
ปรบมือให้ตัวเอง
หน่อยครับ
19
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน ๑๐ ข้อ
๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดเป็นคานาม
ก. คน สัตว์ต้นไม้
ข. เขา เธอ ท่าน
ค. กิน นอน เดิน
ง. ดี เลว งาม
๒. ข้อใดเป็นคานามสามานยนาม
ก. ไอ้แจ้แม่อั้ว
ข. วัตถุ สิ่งของ
ค. ครู นักเรียน
ง. วัดช่องลม เมืองสุรินทร์
๓. คานามนอกจากทาหน้าที่เป็นประธานแล้ว ยังทาหน้าที่อะไรได้อีก
ก. เป็นกริยา
ข. เป็นคุณศัพท์
ค. เป็นสรรพนาม
ง. เป็นกรรม เป็นบทขยาย
๔. ข้อใดเป็นคานามวิสามานยนาม
ก. นักศึกษา
ข. หนังสือวิวิธภาษา
ค. ความฝันเฟื่อง
ง. หนังสือหนังหา
๕. ข้อใดไม่มีคานาม
ก. รถติด
ข. ฝนตก
ค. กินข้าว
ง. ฉันหิว
20
๖. ข้อใดเป็นคาสามานยนาม และวิสามานยนาม ตามลาดับ
ก. ผู้ชาย – ผู้หญิง
ข. ลุงพิทักษ์– ลุงนิเวศน์
ค. วัยรุ่น – นางสาวกชพร
ง. บุรุษไปรษณีย์– ทนายความ
๗. ข้อใดมีคานามมากที่สุด
ก. ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้
ข. พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น
ค. ตักน้าใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา
ง. เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่
๘. ข้อใดมีจานวนคานามไม่เท่ากับข้ออื่น
ก. กาแพงมีหู ประตูมีช่อง
ข. แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร
ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
ง. อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น
๙. ข้อใดไม่มีอาการนาม
ก. ฉันไม่ขอแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้
ข. ในที่ประชุมนี้ขอให้งดคุยเรื่องการบ้านการเมือง
ค. คนส่วนใหญ่ลืมความดีความชอบของเขาไปแล้ว
ง. เขาถูกตั้งข้อหาขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน
๑๐. ข้อใดใช้ลักษณนามได้ถูกต้อง
ก. ยักษ์ ๑ ตัว
ข. มุ้ง ๑ ผืน
ค. ฉิ่ง ๑ อัน
ง. แคน ๑ เต้า
21
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
๑. ก ๖. ค
๒. ค ๗. ค
๓. ง ๘. ข
๔. ข ๙. ข
๕. ง ๑๐. ง
22
บรรณานุกรม
ดวงพร หลิมรัตน์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หลักการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, ๒๕๕๗.
ประนอม พงษ์เผือก และจินตนา วีรเกียรติสุนทร. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภาษาไทย ม.๑
ตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.
จากัด, ๒๕๕๗.
ปิยรัตน์ แซ่อึ้ง. เก็งข้อสอบภาษาไทย ม.๑. กรุงเทพมหานคร : บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด,
๒๕๕๗.
ฟองจันทร์ สุขยิ่งและคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑.
บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด, ๒๕๕๗.
สุระ ดามาพงษ์และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หลักการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทวัฒนาพานิช จากัด, ๒๕๕๗.
เอกรัตน์ อุดมพร. สรุป ถาม – ตอบ และแบบฝึกหัด ภาษาไทย ม.๑ วิวิธภาษาไทย.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์พ.ศ. พัฒนาจากัด, ๒๕๕๕

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
พัน พัน
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
คุณานนต์ ทองกรด
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
พัน พัน
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
 

What's hot (20)

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 

Viewers also liked

เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
Aon Narinchoti
 
Plan2
Plan2Plan2
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
Aon Narinchoti
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
Aon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
Aon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
Aon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
Aon Narinchoti
 

Viewers also liked (10)

เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 

Similar to เนื้อหาเล่ม 1

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
ปวริศา
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
speedpiyawat
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์Tongsamut vorasan
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์Wataustin Austin
 
บาลี 08 80
บาลี 08 80บาลี 08 80
บาลี 08 80Rose Banioki
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
Nona Khet
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 

Similar to เนื้อหาเล่ม 1 (20)

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
เก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนามเก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนาม
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
 
บาลี 08 80
บาลี 08 80บาลี 08 80
บาลี 08 80
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
Kam
KamKam
Kam
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

เนื้อหาเล่ม 1

  • 1. 1 แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง ๑. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน ๑๐ ข้อ ๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง ๑. ข้อใดเป็นคานาม ก. คน สัตว์ต้นไม้ ข. เขา เธอ ท่าน ค. กิน นอน เดิน ง. ดี เลว งาม ๒. ข้อใดเป็นคานามสามานยนาม ก. ไอ้แจ้แม่อั้ว ข. วัตถุ สิ่งของ ค. ครู นักเรียน ง. วัดช่องลม เมืองสุรินทร์ ๓. คานามนอกจากทาหน้าที่เป็นประธานแล้ว ยังทาหน้าที่อะไรได้อีก ก. เป็นกริยา ข. เป็นคุณศัพท์ ค. เป็นสรรพนาม ง. เป็นกรรม เป็นบทขยาย ๔. ข้อใดเป็นคานามวิสามานยนาม ก. นักศึกษา ข. หนังสือวิวิธภาษา ค. ความฝันเฟื่อง ง. หนังสือหนังหา ๕. ข้อใดไม่มีคานาม ก. รถติด ข. ฝนตก ค. กินข้าว ง. ฉันหิว
  • 2. 2 ๖. ข้อใดเป็นคาสามานยนาม และวิสามานยนาม ตามลาดับ ก. ผู้ชาย – ผู้หญิง ข. ลุงพิทักษ์– ลุงนิเวศน์ ค. วัยรุ่น – นางสาวกชพร ง. บุรุษไปรษณีย์– ทนายความ ๗. ข้อใดมีคานามมากที่สุด ก. ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ข. พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น ค. ตักน้าใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา ง. เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ ๘. ข้อใดมีจานวนคานามไม่เท่ากับข้ออื่น ก. กาแพงมีหู ประตูมีช่อง ข. แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ ง. อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น ๙. ข้อใดไม่มีอาการนาม ก. ฉันไม่ขอแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ ข. ในที่ประชุมนี้ขอให้งดคุยเรื่องการบ้านการเมือง ค. คนส่วนใหญ่ลืมความดีความชอบของเขาไปแล้ว ง. เขาถูกตั้งข้อหาขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน ๑๐. ข้อใดใช้ลักษณนามได้ถูกต้อง ก. ยักษ์ ๑ ตัว ข. มุ้ง ๑ ผืน ค. ฉิ่ง ๑ อัน ง. แคน ๑ เต้า
  • 3. 3 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ก ๖. ค ๒. ค ๗. ค ๓. ง ๘. ข ๔. ข ๙. ข ๕. ง ๑๐. ง ความพยายาม อยู่ที่ไหนความสาเร็จอยู่ที่นั่น
  • 4. 4 คานาม คาในภาษาจาแนกได้เป็น ๗ ชนิด คือ คานาม คาสรรนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน และคาอุทาน การที่คาไทยคาเดียวมีหลาย ความหมายและหลายหน้าที่ ทั้งการจัดลาดับคาในประโยค ถ้าเรียงผิดตาแหน่ง จะทาให้หน้าที่และความหมายผิดไป นักเรียนจึงต้องเรียนรู้ชนิดและหน้าที่ ของคาในประโยคเพื่อให้ผู้รับสารและผู้ส่งสารเข้าใจได้ตรงกันและประสบ ผลสาเร็จในการสื่อสาร คานาม เป็น คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์สิ่งของ สภาพ ลักษณะ และ อาการของสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม มี ทั้งหมด ๕ ชนิด ซึ่งทาหน้าที่หลาย ๆ อย่างในประโยค เราสามารถทาความเข้าใจเกี่ยวกับคานาม โดยศึกษาเนื้อหาที่สาคัญ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ความหมายของคานาม ๒. ชนิดของคานาม ๓. หน้าที่ของคานาม ซึ่งนักเรียนจะสามารถศึกษาได้ในบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้ เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
  • 5. 5 กรอบที่ ๑ ความหมายของคานาม คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ บุคคล สัตว์ สิ่งของ และสถานที่สภาพ อาการ ทั้งที่มีตัวตน และไม่มีตัวตน แมว ช้าง กระต่าย รถบรรทุก จักรยาน แก้วน้า วัด สถานีรถไฟ
  • 6. 6 คุณครูกชพร มาริโอ้ ณเดช คาต่าง ๆ ที่ใช้เรียกชื่อ บุคคล สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ เรียกคานั้น ว่า คานาม คาถามประลองความคิด คาใดบ้างเป็นคานาม โต๊ะ โรงเรียน ไก่ เธอ เขา โทรศัพท์ สรุป
  • 7. 7 เฉลยคาถามประลองความคิด คาใดบ้างเป็นคานาม โต๊ะ โรงเรียน ไก่ เธอ เขา โทรศัพท์ ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
  • 8. 8 กรอบที่ ๒ ชนิดของคานาม คานาม เป็นคาที่ใช้เรียกชื่อ อาจเป็นชื่อคน สัตว์สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ทั้งที่มี ตัวตน แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ๑. สามานยนาม หรือ นามทั่วไป คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อสิ่งต่าง ๆ ไม่เฉพาะเจาะจงลงไป ว่าเป็นคนใด สัตว์ตัวใด หรือสิ่งของใด เช่น หม้อ เสื้อผ้า รองเท้า ต้นไม้ ดอกไม้ เป็นต้น ๒. วิสามานยนาม หรือ นามเฉพาะ คือ คานามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ หรือสิ่งอื่น ๆ เช่น ดอกกุหลาบ สมชาย ย่าโม เจริญกรุง กรุงเทพฯ วัดบ้านยางเตี้ย เป็นต้น ๓. สมุหนาม หรือ นามหมวดหมู่ คือ คานามที่บอกหมวดหมู่ของนามข้างหลัง เช่น ฝูงวัว โขลงช้าง กองหนังสือ คณะนักเรียน เป็นต้น
  • 9. 9 ข้อสังเกตในการใช้ การ และ ความ การ ส่วนมากนาหน้าคากริยาทั่ว ๆ ไป เช่น การนอน การแข่งขัน การทางาน ความ ส่วนมากนาหน้าคาวิเศษ หรือคากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ เจริญ มี เสื่อม นาหน้าคาวิเศษณ์ เช่น ความสบาย ความชั่ว ความยากจน นาหน้าคากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ เจริญ มี เสื่อม เช่น ความหวัง ความรู้ ความงอกงาม ความเศร้าหมอง การ หรือ ความ ซึ่งนาหน้านามทั่วไป จะจัดเป็นนามทั่วไป ไม่ใช่อาการนาม เช่น การครัว การเงิน การแพทย์การเมือง ความอาญา เป็นต้น ๔. อาการนาม หรือ นามบอกอาการหรือความเป็นอยู่ คือ คานามที่สร้างขึ้นจากคากริยาหรือ คาวิเศษณ์ เพื่อบอกลักษณะอาการหรือความเป็นอยู่ จะใช้คาว่า การ หรือ ความ นาหน้า เช่น การ ได้แก่ การวิ่ง การกิน การเรียน การเขียน การพูด การแสดง การพักผ่อน การร้อง ความ ได้แก่ ความงาม ความสุข ความเจริญ ความรัก ความสูง เรื่องน่ารู้ ๕. ลักษณนาม หรือ นามบอกลักษณะ คือ คานามที่บอกลักษณะของนามทั่วไป มักอยู่หลังคา บอกจานวน เช่น กลอน ๓ บท ลิฟต์ ๒ ตัว โทรศัพท์ ๑ เครื่อง ข้าวหลาม ๑ กระบอก
  • 10. 10 ลักษณนามที่ใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน นามทั่วไป นามบอกลักษณะ ๑. จุลสาร นิตยสาร วารสาร ฉบับ, เล่ม ๒. ฉิ่ง ฉาบ ข้าง, คู่ ๓. เกาะ เกาะ ๔. ของที่อยู่ติดกันเป็นพืด เช่น จาก พลุ ประทัด ลูกปืน ปลาย่าง ตับ ๕. หนังสือพิมพ์บัตรประชาชน โฉนด จดหมาย แถลงการณ์ วุฒิบัตร ฉบับ ๖. ของที่เป็นทางยาว เช่น โซ่ เข็มขัด ถนน สาย, เส้น ๗. แคน เต้า ๘. พัด หนังสือ สมุด เกวียน อาวุธมีคม เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ว เล่ม ๙. เจดีย์พระพุทธรูป พระเครื่อง พระแสง (ขรรค์ดาบ ปืน หอก ฯลฯ) องค์ ๑๐. ของที่มีรูปเป็นหลังคา เช่น เรือน ตึก กูบ ประทุน เก๋ง บุษบก หลัง ๑๑. ของเป็นดวงกลม ๆ ตรา ตะวัน เดือน ดาว ไฟ จิต วิญญาณ ดาวเทียม ดวง ๑๒. กล้องถ่ายรูป กล้อง ๑๓. ของที่มีส่วนถือและลากรูปยาม เช่น ซอ ธนู ร่ม ฉัตร หน้าไม้ คัน ๑๔. ชานชาลา ชาน ๑๕. ตะกรุด ดอก ๑๖. เทียนพรรษา ต้น ๑๗. ของกลมยาวเป็นปล้อง เช่น ไม้ไผ่ อ้อย ลา ๑๘. ของแบน ๆ เช่น กระดาษ กระดาน กระเบื้อง แผ่น ๑๙. ของแบนกว้างใหญ่ เช่น ผ้า เสื้อ พรม หนังสัตว์ที่ใช้ปู ผืน ๒๐. ปลีกล้วย ปลี ๒๑. สัตว์เช่น นก แมว หมา จิ้งจก ลิง ฯลฯ ตัว ๒๒. ยักษ์ฤาษี วิทยาธร ตน ๒๓. ของที่เป็นคู่ เช่น รองเท้า ถุงมือ แจกัน ต่างหู เชิงเทียน ตะเกียบ ปาท่องโก๋ คู่ ๒๔. รุ้งกินน้า ตัว ๒๕. ของเล็กยาวเรียงเป็นแถว เช่น ลูกกรง ฟัน ซี่โครง ซี่
  • 11. 11 ลักษณนามที่ใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน นามทั่วไป นามบอกลักษณะ ๒๖. เครื่องหมายวรรคตอน เช่น ไปยาลน้อย อัญประกาศ มหัพภาค อัศเจรีย์นิคหิต ฝนทอง ตัว ๒๗. ของที่มีปากกว้าง เช่น แห อาวน สวิง โพงพาง ปาก ๒๘. ชิงช้า อัน ๒๙. กัลปังหา กิ่ง, ต้น ๓๐. ของที่เป็นแผ่น มีกรอบ เช่น หน้าต่าง กระจกเงา บาน ๓๑. ล็อกเกต อัน ๓๒. ขลุ่ย ปี่ เลา ๓๓. รูปภาพ รูป, ใบ, แผ่น ๓๔. เศษส่วน จานวน ๓๕. พระพุทธเจ้า พระราชา เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ เจ้านายชั้นสูง พระองค์ ชนิดของคานาม ประกอบด้วย สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม และอาการนาม คาถามประลองความคิด “โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย” และ “เป็ด” เป็นคานามชนิดใด สรุป
  • 12. 12 เฉลยคาถามประลองความคิด “โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย” และ “เป็ด” เป็นคานามชนิดใด โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย เป็นวิสามานยนาม เป็ด เป็นสามานยนาม ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ ส่วนคนที่ตอบผิดกลับไปทบทวนอีกครั้งนะครับ เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
  • 13. 13 กรอบที่ ๓ หน้าที่ของคานาม คานาม ทาหน้าที่ต่าง ๆ ในประโยคดังนี้ ๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น ๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนขยาย เช่น ๔. ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น ๑.๑ ดินสอหัก ๑.๒ นักเรียนเดินข้ามถนน ๒.๑ ป้าปลูกต้นไม้ ๒.๒ แม่ทอดปลา ๓.๑ สัตว์น้าต้องอยู่ในน้า (ขยายประธาน) ๓.๒ พี่อยู่ห้องสมุด (ขยายกริยา) ๔.๑ ฉันเป็นคนไทย ๔.๒ น้องเหมือนพ่อ
  • 14. 14 ๕. ทาหน้าที่ตามหลังคาบุพบท เช่น ๖. ทาหน้าที่เป็นคาเรียกขาน เช่น ๕.๑ หนังสืออยู่ในรถ ๕.๒ หมวกอยู่หลังตู้โชว์ ๖.๑ แม่ครับผมกลับมาแล้ว ๖.๒ นายช่างช่วยดูงานแทนผมที คานามทาหน้าที่หลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ประโยคนั้น ๆ มีความ สมบูรณ์และมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น คาถามประลองความคิด “เด็ก ๆ ชอบเล่นตุ๊กตา” คานามทาหน้าที่ อะไรในประโยค สรุป
  • 15. 15 เฉลยคาถามประลองความคิด “เด็ก ๆ ชอบเล่นตุ๊กตา” คานามทาหน้าที่อะไรในประโยค ตุ๊กตา ทาหน้าที่กรรมของประโยค ขอแสดงความยินดีกับคนที่ตอบถูกนะครับ ส่วนคนที่ตอบผิดกลับไปทบทวนอีกครั้งนะครับ เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
  • 16. 16 บทสรุป คานาม เป็น คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์สิ่งของ สภาพ ลักษณะ และ อาการของสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม โดยแบ่งคานามออกเป็น ๕ ชนิด ๑. นามทั่วไป (สามานยาม) ๒. นามเฉพาะ (วิสามานยนาม) ๓. นามหมวดหมู่ (สมุหนาม) ๔. นามบอกอาการหรือความเป็นอยู่(อาการนาม) ๕. นามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) โดยคานามจะทาหน้าที่ต่าง ๆ กันไปในประโยค เพื่อให้ประโยค มีความสมบูรณ์และชัดเจนมากยิ่งขึ้น จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้ เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
  • 17. 17 แบบฝึกหัด เรื่อง คานาม ๑. ให้นักเรียนจาแนกชนิดของคานาม ประโยค คานาม สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม พระอภัยมณี สมุด สถานีรถไฟศีขรภูมิ โขลงช้าง แม่ ช้างก้านกล้วย ๒. จงบอกลักษณะนามของประโยคต่อไปนี้ ๒.๑ บ้านเรือน ๒.๒ รถ ร่ม ๒.๓ ปากกา ๒.๔ พระสงฆ์ ๒.๕ มุ้ง ๒.๖ ข้าวหลาม ๒.๗ รุ้งกินน้า ๒.๘ ขลุ่ย พยายามเข้านะ ครับ
  • 18. 18 เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง คานาม ๑. ให้นักเรียนจาแนกชนิดของคานาม ประโยค คานาม สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม พระอภัยมณี  สมุด  สถานีรถไฟศีขรภูมิ  โขลงช้าง  แม่  ช้างก้านกล้วย  ๒. จงบอกลักษณะนามของประโยคต่อไปนี้ ๒.๑ บ้านเรือน มีลักษณนามเป็น หลัง ๒.๒ รถ ร่ม มีลักษณนามเป็น คัน ๒.๓ ปากกา มีลักษณนามเป็น ด้าม ๒.๔ พระสงฆ์ มีลักษณนามเป็น รูป ๒.๕ มุ้ง มีลักษณนามเป็น หลัง ๒.๖ ข้าวหลาม มีลักษณนามเป็น กระบอก ๒.๗ รุ้งกินน้า มีลักษณนามเป็น ตัว ๒.๘ ขลุ่ย มีลักษณนามเป็น เลา ปรบมือให้ตัวเอง หน่อยครับ
  • 19. 19 แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ๑. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน ๑๐ ข้อ ๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง ๑. ข้อใดเป็นคานาม ก. คน สัตว์ต้นไม้ ข. เขา เธอ ท่าน ค. กิน นอน เดิน ง. ดี เลว งาม ๒. ข้อใดเป็นคานามสามานยนาม ก. ไอ้แจ้แม่อั้ว ข. วัตถุ สิ่งของ ค. ครู นักเรียน ง. วัดช่องลม เมืองสุรินทร์ ๓. คานามนอกจากทาหน้าที่เป็นประธานแล้ว ยังทาหน้าที่อะไรได้อีก ก. เป็นกริยา ข. เป็นคุณศัพท์ ค. เป็นสรรพนาม ง. เป็นกรรม เป็นบทขยาย ๔. ข้อใดเป็นคานามวิสามานยนาม ก. นักศึกษา ข. หนังสือวิวิธภาษา ค. ความฝันเฟื่อง ง. หนังสือหนังหา ๕. ข้อใดไม่มีคานาม ก. รถติด ข. ฝนตก ค. กินข้าว ง. ฉันหิว
  • 20. 20 ๖. ข้อใดเป็นคาสามานยนาม และวิสามานยนาม ตามลาดับ ก. ผู้ชาย – ผู้หญิง ข. ลุงพิทักษ์– ลุงนิเวศน์ ค. วัยรุ่น – นางสาวกชพร ง. บุรุษไปรษณีย์– ทนายความ ๗. ข้อใดมีคานามมากที่สุด ก. ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ข. พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น ค. ตักน้าใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา ง. เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ ๘. ข้อใดมีจานวนคานามไม่เท่ากับข้ออื่น ก. กาแพงมีหู ประตูมีช่อง ข. แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ ง. อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น ๙. ข้อใดไม่มีอาการนาม ก. ฉันไม่ขอแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ ข. ในที่ประชุมนี้ขอให้งดคุยเรื่องการบ้านการเมือง ค. คนส่วนใหญ่ลืมความดีความชอบของเขาไปแล้ว ง. เขาถูกตั้งข้อหาขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน ๑๐. ข้อใดใช้ลักษณนามได้ถูกต้อง ก. ยักษ์ ๑ ตัว ข. มุ้ง ๑ ผืน ค. ฉิ่ง ๑ อัน ง. แคน ๑ เต้า
  • 21. 21 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ก ๖. ค ๒. ค ๗. ค ๓. ง ๘. ข ๔. ข ๙. ข ๕. ง ๑๐. ง
  • 22. 22 บรรณานุกรม ดวงพร หลิมรัตน์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หลักการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, ๒๕๕๗. ประนอม พงษ์เผือก และจินตนา วีรเกียรติสุนทร. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภาษาไทย ม.๑ ตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด, ๒๕๕๗. ปิยรัตน์ แซ่อึ้ง. เก็งข้อสอบภาษาไทย ม.๑. กรุงเทพมหานคร : บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด, ๒๕๕๗. ฟองจันทร์ สุขยิ่งและคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑. บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด, ๒๕๕๗. สุระ ดามาพงษ์และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หลักการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : บริษัทวัฒนาพานิช จากัด, ๒๕๕๗. เอกรัตน์ อุดมพร. สรุป ถาม – ตอบ และแบบฝึกหัด ภาษาไทย ม.๑ วิวิธภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์พ.ศ. พัฒนาจากัด, ๒๕๕๕