SlideShare a Scribd company logo
วิธีการสร้างคา
ตารางทางภาษาไทย
ลักษณะเสียง
(พยัญชนะ)
อโฆษะ (ไม่ก้อง : Voiceless ) โฆษะ (ก้อง : Voiced)
สิถิล ธนิต สิถิลมีลม ธนิต ไม่มีลม อนุนาสิก
ฐานที่เกิด แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 3 แถวที่ 4 แถวที่ 5
วรรค กะ (กัณฐชะ) เกิดที่คอ ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ ง
วรรค จะ (ตาลุชะ) เกิดที่เพดาน จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ
วรรค ฏะ (มุทธชะ) เกิดที่ยอดเพดาน (ฎ) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ตะ (ทันตชะ) เกิดที่ฟ๎น (ด) ต ถ ท ธ น
วรรค ปะ (โอฏฐชะ) เกิดที่ริมฝีปาก (บ) ป ผ (ฝ) พ (ฟ) ภ ม
อวรรค/เศษวรรค อํ (ศ) (ฮ) ย
ตารางนี้สามารถ
1. แยกไตรยางศ์
2. บอกที่มาของอักษรคู่ อักษรเดี่ยว
3. บอกที่มาของอักษรนํา
4. บอกมาตราตัวสะกด
5. แยกคําเป็น คําตาย
6. บอกฐานที่เกิดของเสียงพยัญชนะ
7. บอกตัวสะกด ตัวตามในหลักบาลี
8. ผันคําพื้นเสียง
9. ผันคําที่มีรูปวรรณยุกต์
(ษ) ร
ส ล
ห ว
พยัญชนะไทย มี 44 ตัว บาลี 33 ตัว สันสกฤต 35 ตัว ฬ
อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่าคู่ อักษรต่าเดี่ยว
กฎการผันคาพื้นเสียง
1) กลาง/เป็น/สามัญ 5) ต่ํา/เป็น/สามัญ
2) กลาง/ตาย/เอก 6) ต่ํา/ตาย/สั้น/ตรี
3) สูง/เป็น/จัตวา 7) ต่ํา/ตาย/ยาว/โท
4) สูง/ตาย/เอก
บาลี-สันสกฤตในภาษาไทย สระจม-สระลอย
บาลี สันสกฤต
สระ ะ า ิ ี ุ ู เ โ ะ า ิ ี ุ ู เ โ
ไ เ-า ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
พยัญชนะ 33 เสียง 35 เสียง (ศ, ษ)
คาบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
ข้อสังเกต คําบาลี-สันสกฤตที่ใช้ในภาษาไทย
ปาลี สันสกฤต ไทย ปาลี สันสกฤต ไทย
กีฬา กรีฑา บาลีใช้ ฬ สันสกฤตใช้ ฑ
ใช้ทั้งสองต่างความหมาย
คัพภ์ ครรภ์
บาลีใช้ตัวละกดตัวตาม
สันสกฤตใช้ รร (ร เรผะ)
จุฬา จุฑา จริยา จรรยา
จักกะ จักร
บาลีใช้ตัวละกดตัวตาม
สันสกฤตใช้ตัวควบ
บัลลังก์ บรรยงก์
วัตถุ พัสตร์ ธัมมะ ธรรม
ปัญญา ปรัชญา ภริยา ภรรยา
ปริญญา ปรีชา วัฑฒนะ วรรธนะ
ปิย ปรียา วัสสะ พรรษ
สิริ ศรี สุวัณณะ สุวรรณ
สัทธา ศรัทธา อัณณพ อรรณพ
สัตตุ ศัตรู อัตถะ อรรถะ
สระจม สระที่อยู่เดี่ยว ๆ ไม่ได้ ต้องมีพยัญชนะ
ไปเกาะ
สระลอย ลอยอยู่ด้วยตัวมันเองไม่ต้องมีพยัญชนะ
ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
รวบรวมคาต่างประเทศในภาษาไทย
ตัวอย่างข้อสอบ
ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
ก. อีกข้อหนึ่งเมืองเราชาวมนุษย์ ข. ย่อมว่าพุทธกับไสยตามใจว่า
ค. ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันไปมา ง. ทั้งเจรจารําคาญหูดูไม่งาม
คําประพันธ์วรรคใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
“เพียงคําพูดกล่าวขานหวานสนิท จะกลับผิดให้ถูกได้อย่างไรนั่น
กล่าววาจาแท้จริงสิ่งสําคัญ ความหวานนั้นเป็นแต่แค่มายา”
ก. วรรคที่ 1 ข. วรรคที่ 2
ค. วรรคที่ 3 ง. วรรคที่ 4
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกันทุกคํา
ก. ซุ่มซ่าม ซวดเซ สอดส่อง ค. ทรามวัย สดใส สอดส่อง
ข. ซุกซ่อน พากเพียร รุ่มร่าม ง. ส่งเสริม สุดสวาท สายสร้อย
ข้อใดมีพยัญชนะต้นเสียงเดียวกันทุกคํา
ก. ถอดถอน ทุบตี ท่าทาง ข. เพริศเพรา เพลิดเพลิน พักตร์พริ้ม
ค. ผุดผ่อง ผลพวง ภาคพื้น ง. เผอเรอ ผ่องพรรณ แพรวพราว
ข้อใดมีพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายเสียงเดียวกัน
ก. มาร ข. ภาพ ค. เดช ง. เศษ
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด
ก. เห็นแก้วแวววับที่จับจิต ข. ไยไม่คิดอาจเอื้อมให้เต็มที่
ค. เมื่อไม่เอื้อมจะได้อย่างไรมี ง. อันมณีฤๅจะโลดไปถึงมือ
ขจร ขจี แข ควร ทรวง ไพร ตรัส ถวาย ทูล บรรทม สรง เสด็จ เสวย ดําเนิน ทราบ ขนง ดําริ ดํารัส เจริญ สรวล
กระจก กระดาน กระโดง เชิง ตรวจ ตํารวจ กําจัด บัง ประกวด เพรง ระเบียง ระเบียบ แสวง ฉลอง เฉลย ประลอง
อวย ตรง ดํารง บรรทุก เรียน สนอง ลําเนา เพลา เฉพาะ ผกา สดับ สงบ สงัด ขนุน ถนน แสวง กังวล ชุม ประชุม
ติ ตําหนิ ทบ ทํานบ เกิด กําเนิด บังเกิด จอง จํานอง บําบัด กราบ กําลัง ขลัง บวช ผนวช เพลิง กาจ ดุจ เผด็จ เสร็จ
ควร จาร บังอร ดล ถกล บันดาล เพ็ญ บําเพ็ญ ถวาย ผจัญ ลาญ ผลาญ ตรา ตํารา กราบ กําราบ ปราบ บําราบ
กระดังงา ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด สาคู กะปะ กะพง โลมา อุรังอุตัง บุหรง บุหลัน โนรี กริช กํายาน สลัก กังสดาล
อุบะ โกดัง มัสยิด อังกะลุง ยี่เก ตุนาหงัน กระพัน พันตู มะงุมมะงาหรา แบลา โจรสลัด บุหลัน เก๊ะ เก๋ง ตั๋ว โผ ตังเก
เอี๊ยม ขาก๊วย เหาเหลา เฉาก๊วย โอเลี้ยง ซาลาเปา จันอับ หมี่ พะโล้ เต้าหู ก๋วยเตี๋ยว กวยจี๊ ก๋ง เจ๊ ซ้อ ตี๋ เตี่ย แป๊ะ
ม่วย เฮีย เข่ง ห้าง ก๊วน กงเต๊ก เซียมซี งิ้ว โละ บู๊ ฮั้ว ซี้ซั้ว กงสุล กราฟ ก๊อก กัปตัน การ์ตูน คลินิก คอรัปชั่น เค้ก
โค้ก คุกกี้ เชิ้ต ซอส ซิป เซ็น เต็นท์ แท็กซี่ แท็งก์ นอต โน้ต ไนต์คลับ บังกะโล วัคซีน วิตามิน อิเล็กทรอนิกส์ เบรก
ฟรี ฟาร์ม ฟิล์ม กอล์ฟ แยม วิว เบนซิน โชว์ เกียร์ กาว เหยือก ออฟฟิศ เบียร์ ชอล์ก ก๊าช แก๊ส บรั่นดี โคม่า
แกลลอน โบนัส เทนนิส เครดิต ไอศกรีม สตู คัตชู ริบบิ้น ซุป แป๊บ ศรีวิไล คาราโอเกะ กะลาสี ปิ่นโต
ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์น้อยที่สุด
ก. เชิญเจ้ารําเถิดนะนางฟ้า ข. ให้สิ้นท่าที่นางจําได้
ค. ตัวพี่จะรําตามไป ง. มิให้ผิดเพลงนางเทวี
ข้อใดใช้พยัญชนะต้นของคําเป็นอักษรต่ําคู่ (เสียงพยัญชนะต้น)
ก. งูใหญ่ในรั้ววัดโมลี ข. ฉันฝากถุงข้าวสวยให้ผ่อง
ค. การจัดเด็กต้องบอกป้าอบ ง. คนแซ่เฮงชอบแฟนพันธุ์แท้
ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดต่างจากข้ออื่น (เสียงพยัญชนะท้าย)
ก. ข้าว ข. ตัว ค. เกี่ยว ง. ผิว
.ข้อความต่อไปนี้มีคําประสมกี่คํา (การสร้างคํา)
“การหยุดไข้เลือดออกไม่ให้ระบาดในชุมชน ต้องระวังไม่ให้ถูกยุงกัด เช่น ทายากันยุง นอนในมุ้ง
หรือติดมุ้งลวด ฯลฯ”
ก. 4 คํา ข. 5 คํา
ค. 6 คํา ง. 7 คํา
ข้อใดไม่เป็นคามูล
ก. เผอเรอ ข. มาลา ค. แจกัน ง. ค่าตัว
คําในข้อใดมีวิธีสร้างคําต่างจากคําอื่น
1. ปวดร้าว ปวดเมื่อย ข. บอกบท บอกใบ้
3. เศร้าโศก เศร้าหมอง ง. คลาดเคลื่อน คลาดแคล้ว
คําที่ขีดเส้นใต้ ในข้อใดมีลักษณะการสร้างคําเหมือนกัน
ก. เมื่อถึงจุดแตกหัก ทุกคนต่างแยกย้ายไปเหมือนผึ้งแตกรัง
ข. หากเราสมัครสมานสามัคคีกันโดยสมัครใจ งานใดใดย่อมสําเร็จได้ด้วยดี
ค. ประเทศชาติเจริญ ถ้าเรายอมรับฟ๎งความคิดเห็นที่แตกต่าง แต่ไม่คิดแตกแยกกัน
ง. การทํางานให้ก้าวหน้านั้น แต่ละคนจะต้องตั้งใจทําหน้าที่ของตนและไม่ก้าวก่ายงานของคนอื่น
ข้อใดแสดงให้เห็นว่า คําบาลี-สันสกฤตที่เป็นคําเดียวกัน อาจใช้ต่างรูปและต่างความหมายกันในภาษาไทย
ก. บุษบา บุปผา ข. มัจฉา มัสยา ค. ทิฐิ ทฤษฎี ง. สัจ สัตย์
ข้อใดเกิดจากคําที่เป็นภาษาบาลี – สันสกฤตทั้งหมด
ก. คริสต์มาส ข. เคมีภัณฑ์
ค. ศิลปกรรม ง. อนุกาชาด
ข้อใดเกิดจากคําที่เป็นภาษาบาลีทุกคํา
ก. ศีรษะ ป๎ญญา ข. ขันติ อิจฉา
ค. วงกต พรรษา ง. พุทธิ ศรัทธา
ข้อใดไม่ใช่วิธีสังเกตคํายืมภาษาเขมรในภาษาไทย (ประเภทของคําตามที่มา)
ก. ใช้คําควบกล้ํา ข. ใช้อักษรนํา
ค. ใช้ตัว จ เป็นตัวสะกด ง. ใช้ตัวสะกดตัวตาม
ข้อใดไม่มีคําที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ก. มีตายายสามีภรรยาคูหนึ่งอยู่กันมานานจนล่วงเข้าวัยชราแต่ไม่มีบุตร
ข. วันหนึ่งตายายลอยเรือหาปลา ไปตามริมแม่น้ําใหญ่ที่มีอาณาบริเวณถึง 10 ไร่เศษ
ค. ขณะที่ยายคัดท้ายเรือเข้าหาฝ๎่ง เห็นไข่จระเข้ฟองหนึ่งอยู่บนกอพงจึงเก็บมา
ง. ตั้งใจว่าจะเอาไปฟ๎กให้เป็นตัวเลี้ยงไว้ที่บ้านแม้ตาจะห้ามแต่ยายก็ไม่ฟ๎ง
ข้อใดอธิบายการสร้างคําว่า “ราชดําเนิน” ได้ถูกต้อง
ก. ไม่เป็นคําสมาสเพราะคําว่า ดําเนิน เป็นภาษาเขมร
ข. เป็นคําสมาส เพราะแปลความหมายจากคําหลังไปคําหน้า
ค. ไม่เป็นคําสมาส เพราะคําว่า ดําเนิน แผลงมาจากคําว่าเดิน
ง. เป็นคําสมาสเพราะเกิดจากการผสมกันของคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต
แบบฝึกหัด
เรื่องการสร้างคาในภาษาไทย (คาสมาส)
ตัวอย่างคําสมาสยืม กตัญญู = กต + ํฺํู (บาลี) มัจจุราช = มจฺจุ + ราชา (บาลี)
วีรบุรุษ = วีร + ปุรุษ (สันสกฤต) ปรปักษ์ = ปร + ปกฺษ (สันสกฤต)
เทวรูป = เทว+ รูป (บ.+ส.) มหาโจร = มหา + โจร (บ.+ส.)
ตัวอย่างคําสมาสสร้าง คณิตศาสตร์ = คณิต + ศาสตร์ (สันสกฤต) จุฬาลงกรณ์ = จุฬา (บาลี)+ อลงกรณ์ (บ.+ส.)
โลกาภิวัตน์ = โลก (บ.+ส.) + อภิวัตน์ (บาลี)
ตัวอย่างคําสมาสซ้อน ประชาชน = ประชา (สันสกฤต) + ชน (บาลี)
ขัตติยกษัตริย์ = ขัตติย (บาลี) + กษัตริย์ (สันสกฤต)
กาลเวลา = กาล (บ. ส.) + เวลา (บ.ส.)
คาชี้แจง จงวิเคราะห์คําต่อไปนี้
คา ประเภทของคา คา ประเภทของคา คา ประเภทของคา
คุณธรรม สมาสแบบไม่มีสนธิ ประชาธิปไตย สมาสแบบมีสนธิ เทพเจ้า สมาสเทียม
จักรยาน ยุทธหัตถี มิตรสหาย
ทศนิยม โภชนาหาร โบราณคดี
ปฐมวัย ศาสตราวุธ นเรศวร
บรรณารักษ์ ชนบท ธันวาคม
ภัตตาคาร ขัตติยกุมาร บุคลากร
พลศึกษา ผลไม้ วิทยาลัย
ราชสํานัก ราชวัง กาฬสินธุ์
สามัญสํานึก พระธํามรงค์ ภูมลําเนา
ศักดินา ชีวเคมี อนุกาชาด
ภาษาไทยนาคาสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ ทั้งคาสมาสยืม คือคาสมาสของภาษาบาลีและสันสกฤตที่
ยืมเข้ามาใช้ในภาษาไทย คาสมาสสร้าง คือคาสมาสที่ไทยสร้างขึ้นเลียนแบบคาสมาสของภาษาบาลีและสันสกฤต
โดยนาคาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมารวมกัน คาสมาสซ้อน คือคาสมาสที่นาคายืมภาษาบาลีและ
สันสกฤตที่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมารวมกัน อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการ
กลมกลืนของเสียง ได้แก่ คาสมาสที่ไม่มีสนธิ กับ คาสมาสที่มีสนธิ
คาสมาสที่ไม่มีสนธิ คือ คําสมาสที่ไม่กลมกลืนเสียงของคํา เป็นการนํา
คําภาษาบาลีและสันสกฤตมาเรียงต่อเข้าเป็นคําเดียวกัน
คาสมาสที่มีสนธิ คือ คําสมาสที่มักใช้สระเสียงยาว /อา อู เอ โอ/ เป็นสระเชื่อมประสาน
ระหว่างคําภาษาบาลีและสันสกฤตที่มารวมกัน
สมาสที่ไม่มีสนธิ สมาสที่มีสนธิ สมาสเทียม (คาประสม)
คาสมาสเทียม คือ คําที่มีองค์ประกอบผิด
ไป จ า ก คํ า ส ม า ส ทั่ ว ไ ป เ พ ร า ะ มี
องค์ประกอบที่ไม่ใช่คํายืมภาษาบาลีและ
สันสกฤตปนอยู่ด้วย บางกรณีเป็นแค่คํา
ประสมไม่ใช่คําสมาส
แบบฝึกหัด
เรื่องการสร้างคาในภาษาไทย (คาสมาส)
สมาสแบบไม่มีสนธิ หรือ สมาสชนนําคํามาชนกัน
1) ตัดรูปสระอะของคําหน้า แล้วนําคําหลังมาชนทาย
2) ไม่ตัดรูปสระอื่นของคําหน้า แล้วนําคําหลังมาชนท้าย
3) ตัดทัณฑฆาตของคําหน้าแล้วนําคําหลังมาชนท้าย
สมาสแบบมีสนธิ หรือ สมาสเชื่อมโดยนําคํามาเชื่อมกัน
1) สระสนธิ
1.1) ตัดสระพยางค์ท้ายของคําหน้า แล้วไปใช้สระกับพยางค์หน้าของคําหลัง
1.2) ตัดสระที่พยางค์ท้ายของคําหน้า แล้วไปใช้สระที่พยางค์หน้าของคําหลังโดยแปลงสระ (สระอะเป็นอา อิเป็นอี
หรือเอ อุเป็นอูหรือโอ) ตัวอย่าง นร + อิศวร  นริศวร (เปลี่ยน อิ เป็น เอ)  นเรศวร
1.3) แปลงสระที่พยางค์ท้ายของคําหน้า อิ,อี เป็น ย อุ,อู เป็น ว แล้วไปใช้สระที่พยางค์หน้าของคําหลัง เช่น ธาตุ
+ อากร ธาตวากร
2) พยัญชนะสนธิ
2.1) คําหน้าลงท้ายด้วย น ให้ ลบ น ออก เช่น พรหมน + ชาติ พรหมชาติ
2.2) คําหน้าลงท้ายด้วย ส ให้เปลี่ยนเป็นสระโอ เช่น รหัส + ฐาน = รโหฐาน
2.3) เปลี่ยน ทุส เป็น ทุร เปลี่ยน นิส เป็น นิร เช่น ทุส + ชน
3) นิคหิตสนธิ
3.1) นิคหิตของคําหน้า สนธิกับสระ (ที่เป็นพยางค์หน้าของคําหลัง) ให้แปลงนิคหิตเป็น ม แล้วใช้สระกับคําหลัง สํ +อาคม =
สมาคม
3.2) นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ให้แปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคแล้วสนธิ เช่น สํ + ผัส = สัมผัส
3.3) นิคหิตสนธิกับพยัญชนะเศษวรรค ให้แปลงนิคหิตเป็น ง แล้วนํามาชนท้าย เช่น สํ + เวช =สังเวช สํ + หรณ = สังหรณ์
คาชี้แจง จากการวิเคราะห์ประเภทของคําสมาส จงเติมคําที่นํามาใช้ในภาษาไทยให้ถูกต้อง
คา ประเภทของ
คาสมาส
คา ประเภทของ
คาสมาส
คา ประเภทของ
คาสมาส
ทัณฑสถาน ทัณฑ + สถาน บูรณาการ ปูรณ + อาการ วิทยา + อาลัย
จักร + ยาน แสนยา + อานุภาพ เลขา + อนุการ
ทศ + นิยม โบราณ + คดี ศาสน + อุปถมฺภ
ปฐม + วย เภสัช + กรรม นิสฺ + คุณ
คุณ + ธรรม สวัสดิ + ภาพ ทุสฺ + พิษ
อักขร + อนุกรม สุข + อุทัย สมาคม สํ + อาคม
พล + ศึกษา ธนู + อาคม สํ + โอสร
บรรณ + อารักษ์ กรรม + อธิการ สํ + ญาณ
ภัตต + อาคาร นร + อิศวร สํ + ฐาน
ธรรม + อภิบาล ปุคคล + อากร สํ + ปูรณ
ประโยคในภาษาไทย
ประโยค หมายถึง คําหรือข้อความที่นํามาเรียบเรียงต่อเนื่องกันจนได้ใจความสมบูรณ์ สื่อความได้
อย่างชัดเจน ประกอบด้วย ภาคประธาน (ส่วนประกอบของประโยคที่มีคานามเป็นหลัก) กับภาคแสดง
(ส่วนประกอบของประโยคที่มีคากริยาเป็นหลัก) ประโยคบางลักษณะอาจมีแต่ภาคแสดงได้ แต่ประโยคจะมีแต่
ภาคประธานโดยไม่มีภาคแสดงไม่ได้ (อย่างน้อยที่สุดประโยคต้องประกอบด้วยกริยาวลี 1 กริยาวลีเสมอ)
ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว ประโยคซ้อนที่มีนามานุประโยค
(มีอนุประโยคที่ทําหน้าที่เหมือนนามวลี)
ประโยครวมจากประโยคสามัญและ
ประโยคสามัญ
ประโยคสามัญที่มีหลายกริยาวลี ประโยคซ้อนที่มีคุณานุประโยค
(มีอนุประโยคที่ทําหน้าที่ขยายนาม)
ประโยครวมจากประโยคสามัญและ
ประโยคซ้อน
ประโยคซ้อนที่มีวิเศษณานุประโยค
(มีอนุประโยคขยายกริยาวลี)
ประโยครวมจากประโยคซ้อนและ
ประโยคสามัญ
ประโยครวมจากประโยคซ้อนและ
ประโยคซ้อน
ประโยคสามัญ ประโยคที่ประกอบด้วยนามวลีทําหน้าที่ประธาน กับ กริยาวลีทําหน้าที่ภาคแสดง
ประโยคสามัญแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว หมายถึง ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเพียง 1 กริยาวลีในกริยาวลีมีคํากริยาเพียงคํา
เดียว เช่น
ลักขณาให้ของขวัญสุวรรณทุกปี เราปรารถนาความสุข
ทุกคนต้องรักษาสาธารณสมบัติของชาติ
ประโยคสามัญหลายกริยาวลี หมายถึง ประโยคสามัญที่มีโครงสร้างกริยาเรียง มีกริยาวลีหลายกริยาวลีทําหน้าที่เป็น
ภาคแสดงของประธานเดียวกันหรือต่างประธานกันก็ได้ แม้จะมีกริยาหลายวลีแค่ประโยคสามัญนี้ต้องไม่มีคําเชื่อม
สมชัยขับรถข้ามสะพาน คุณปู่ เดินไป ใส่บาตรหน้าบ้าน
ครูสอนพวกเราร้องเพลงพระราชนิพนธ์
ประโยค
นามวลี กริยาวลี
เด็ก
ไม่ชอบกินผัก
เด็กทุกคนในโรงเรียน
เด็กบางคน
เด็กนักเรียน
นักเรียน
ประโยคซ้อน ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลักกับอนุประโยค (อนุประโยคมักขึ้นต้นด้วยคําเชื่อม ที่ ว่า ให้
ที่ ซึ่ง อัน จนกระทั่ง ขณะที่)
ประโยคหลัก คือ ประโยคที่มีอีกประโยคหนึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประโยค ได้แก่ ประธาน เป็นหน่วยเติม
เต็ม หรือเป็นส่วนขยาย
อนุประโยค คือ ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคําเชื่อมอนุประโยค ทําหน้าที่ได้อย่างนามวลี คือ เป็นประธาน
กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค
ตัวอย่างประโยคซ้อน
ประโยคความซ้อน ประโยคหลักและประโยคย่อย คาเชื่อม
คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต คน…ย่อมมีความเจริญในชีวิต (ประโยคหลัก)
(คน) ประพฤติดี (ประโยคย่อย)
ที่
สมทรงดีใจที่สอบชิงทุนรัฐบาลได้ สมทรงดีใจ (ประโยคหลัก)
(สมทรง) สอบชิงทุนรัฐบาลได้
ที่
เราเห็นภูเขาซึ่งมีถ้าอยู่ข้างใต้ เราเห็นภูเขา (ประโยคหลัก)
(ภูเขา) มีถ้ําอยู่ข้างใต้ (ประโยคย่อย)
ซึ่ง
ที่คุณพูดไม่เป็นความจริง ไม่เป็นความจริง (ประโยคหลัก)
คุณพูด (ประโยคย่อย)
ที่
เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน เขานอนตัวสั่น (ประโยคหลัก)
(เขา) กลัวเสียงปืน (ประโยคย่อย)
เพราะ
คนเจ็บกินยาตามหมอสั่ง คนเจ็บกินยา (ประโยคหลัก)
หมอสั่ง (ประโยคย่อย)
ตาม
เขาทําท่าราวกับเขาเป็นเจ้าของบ้าน เขาทาท่า (ประโยคหลัก)
เขาเป็นเจ้าของบ้าน (ประโยคย่อย)
ราวกับ
ประโยครวม คือ ประโยคย่อยตั้งแต่สองประโยคขึ้นไปมารวมเข้าเป็นประโยคเดียว และต้องมีคําเชื่อมสมภาค
และ และก็ แต่ แต่ทว่า ทว่า หรือ
ตัวอย่าง เช่น ภรรยาผมตั้งครรภ์แต่แท้งเสียก่อน (ประโยครวมจากประโยคสามัญและประโยคสามัญ)
ภรรยาผมตั้งครรภ์ (ประโยคย่อยที่ 1)
ภรรยาผมแท้งเสียก่อน (ประโยคย่อยที่ 2) เชื่อมด้วยคําว่า แต่
เกษตรกรแถวนี้นิยมทํานาและเลี้ยงปลาที่กินวัชพืชไว้ในนา (ประโยครวมจากประโยคสามัญและประโยคซ้อน)
เกษตรกรแถวนี้นิยมทํานา (ประโยคย่อยที่ 1 เป็นประโยคสามัญ)
เกษตรกรแถวนี้นิยมเลี้ยงปลาที่กินวัชพืชไว้ในนา (ประโยคย่อยที่ 2 เป็นประโยคซ้อน)
เกษตรกรแถวนี้นิยมเลี้ยงปลา (เป็นประโยคหลัก)
ปลากินวัชพืชไว้ในนา (เป็นประโยคย่อย) เชื่อมด้วยคําว่า ที่
สุดารับประทานแต่อาหารที่มีประโยชน์ และ ดื่มแต่นาที่บริสุทธิ์ (ประโยครวมจากประโยคซ้อนและประโยคซ้อน)
สุดารับประทานแต่อาหารที่มีประโยชน์ (ประโยคย่อยที่ 1 เป็นประโยคซ้อน)
สุดารับประทานอาหาร (ประโยคหลัก) (อาหาร) มีประโยชน์ (ประโยคย่อย)
สุดาดื่มแต่นาที่บริสุทธิ์ (ประโยคย่อยที่ 2 เป็นประโยคซ้อน)
สุดาดื่มน้ํา (ประโยคหลัก) (น้ําดื่ม) บริสุทธิ์ (ประโยคย่อย)
ประโยคความรวมที่มีประธาน กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยเสริมความ เป็นคนหรือสิ่งเดียวกัน มัก ละประธาน กรรม
หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยเสริมความ เช่น
พรทิพย์ชอบลําไยแต่ไม่ชอบทุกเรียน
ผมชอบแมวแต่คุณไม่ชอบนี่
เขาเคยเป็นนักร้องหรือไม่เคยเป็นกันแน่
คุณจะนั่งรถ ลงเรือ หรือ จะขึ้นเครื่องบินไป
ตัวอย่างข้อสอบ ประโยคในข้อใดสื่อความได้ตรงกับ “...เสด็จให้มาถูกถามเสด็จว่าจะเสด็จหรือไม่เสด็จ ถ้าเสด็จจะเสด็จ เสด็จ
จะเสด็จด้วย...” มากที่สุด
ก. พ่อให้มาถามแม่ว่าแม่จะไปหรือไม่ไป ถ้าแม่ไปพ่อจะไปแทน
ข. เขาฝากฉันมาถามเธอว่าเธอจะไปหรือไม่ไป ถ้าเธอไปเขาจะได้ไม่ต้องไป
ค. ป้าให้มาถามปู่ว่าปู่จะไปกับหญ้าหรือเปล่า ถ้าปู่ไม่ไปจะได้ชวนคนอื่นไป
ง. น้องให้มาถามเธอว่าเธอจะไปหรือไม่ไป ถ้าเธอไปน้องจะตามไปด้วย
ตัวอย่างข้อสอบ ข้อใดเป็นประโยคต่างชนิดกัน
ก. เด็กนักเรียนกําลังเล่นกีฬากับครู / ครูกําลังเล่นกีฬากับนักเรียน
ข. กระเป๋าที่อยู่ตรงนั้น ฉันทําหายเมื่อวาน / ฉันทํากระเป๋าที่อยู่ตรงนั้นหายเมื่อวาน
ค. พี่กับน้องไปเที่ยวสวนสรุกตอนปิดเทอม / ตอนปิดเทอมพี่ไปเที่ยวสวนสนุกกับน้อง
ง. โตขึ้นเธออยากเป็นครูหรืออยากเป็นหมอ / โตขึ้นเธออยากเป็นหมอหรืออยากเป็นครู
ตัวอย่างข้อสอบ “ แม้ดูเหมือนเป็นเงา ที่ไม่มีตัวตน แต่ฉันก็มีหัวใจ ” ข้อใดอธิบายประโยคข้างต้นได้ถูกต้อง
ก. เป็นประโยคความเดียวซับซ้อนที่ภาคประธาน ค. เป็นประโยคความรวมที่มีประโยคย่อยเป็นความซ้อน
ข. เป็นประโยคความซ้อนที่มีประโยคย่อยเป็นความรวม ง. เป็นประโยคความซ้อนที่มีประโยคย่อยเป็นความซ้อน
จงวิเคราะห์ประโยคต่อไปนี้ว่าเป็นประโยคชนิดใด
ชนิดของประโยคตามโครงสร้าง โครงสร้างของประโยค คาเชื่อม
อ้อยทําสวนครัวและร้องเพลงเบาๆ
ตัวอย่าง……………ประโยครวม………………………….
อ้อยทาสวนครัว (ประโยคย่อย)
อ้อยร้องเพลงเบาๆ (ประโยคย่อย)
และ
เธอกับฉันต้องรับผิดชอบในเรื่องนี้
…………………………………………………………………….
ฉันกินข้าวบ้านป้าแล้วไปกินขนมบ้านยาย
…………………………………………………………………….
บุคคลใดที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต
……………ประโยคซ้อน………………………….
คนไทยทุกคนหวงแหนแผ่นดินไทยอันเป็นบ้านเกิด
เมืองนอน
…………………………………………………………………….
สมศักดิ์เป็นนักมวยแต่ทะนงศักดิ์เป็นนักร้อง
…………………………………………………………………….
พี่ตื่นเช้าแต่น้องตื่นสาย
…………………………………………………………………….
เด็กหญิงสุนันท์นั่งในห้องเรียน
.ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว..
เขาเดินชมดอกไม้ในสวน
…………………………………………………………………….
แต๋ววิ่งไปเปิดประตูบ้าน
…………………………………………………………………….
สมชัยโบกมือลาพวกเรา
.....ประโยคสามัญหลายกริยาวลี.....
สมชัย (นามวลี)
โบกมือ(กริยาวลี) - ลาพวกเรา (กริยาวลี)
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
บัตรกิจกรรการเรียนรู้
ชนิดของประโยคตามโครงสร้าง โครงสร้างของประโยค คาเชื่อม
ท่านที่ตอบคําถามถูกต้องโปรดมารับรางวัล
…………………………………………………………………….
สาวโรงงานกลับไปเมื่อเลิกงานแล้ว
…………………………………………………………………….
เรายินดีช่วยเหลือเขา แต่ว่าเขาไม่ยอมรับ
…………………………………………………………………….
นายเที่ยงเป็นครูใหญ่โรงเรียนประจําจังหวัด
…………………………………………………………………….
เครื่องหมายที่พักริมทางตามถนนหลวงถูกลบเสีย
แล้ว
…………………………………………………………………….
เธอเลือกเล่นละครหรือเล่นกีฬา
…………………………………………………………………….
สมศักดิ์อ่านหนังสือพิมพ์ระหว่างที่นั่งรอสมคิด
…………………………………………………………………….
วันนี้พิกุลไม่มาโรงเรียนเนื่องจากเขาลาไปเยี่ยมญาติ
…………………………………………………………………….
แม้ว่าเขาจะไม่สบาย เขาก็พยายามทํางานจนเสร็จ
................................................................................
ชนิดของประโยคแบ่งตามาลา
มาลา เป็นการบ่งบอกว่าคํากริยาอยู่ในรูปเจตคติอย่างไรจากมุมมองผู้พูด แบ่งออกได้ 4 ชนิด
1. .................................. ประโยคที่มีเนื้อความบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ
2. ................................. ประโยคที่มีคําแสดงความถาม เช่น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทําไม อย่างไร
3. ..................................ประโยคที่ใช้สั่งหรือขอร้องให้ผู้ใดผู้หนึ่งทําอย่างใดอย่างหนึ่ง
4. .................................. ประโยคที่มีคําปฏิเสธอยู่ด้วย เช่น บอกปฏิเสธ คําสั่งปฏิเสธ คําถามปฏิเสธ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกหลักการอ่านเพื่อจับใจความสําคัญได้
2. อ่านจับใจความสําคัญจากแหล่งสารสนเทศที่ครูกําหนดให้ได้
ตัวอย่าง จงอ่านเพื่อค้นหาประโยคใจความสําคัญของข้อความต่อไปนี้
การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นสิ่งไม่ดี ทั้งเปลืองเงินเปลืองทอง และเป็นการทาลายชีวิตและสุขภาพ
การดื่มสุราเป็นสาเหตุทําให้เกิดโรคเรื้อรังมากกว่า 60 ชนิด การดื่มสุราเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของอุบัติเหตุ
จราจร ซึ่งร้อยละ 50 เกิดจากเมาแล้วขับ ส่วนการสูบบุหรี่เป็นการเร่งให้เสียชีวิตเร็วกว่าที่ควร ทําให้เกิดโรค
เรื้อรังทุกทรมาน เช่น มะเร็งปอด โรคถุงลมโป่งพอง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดในสมอง
1. อ่านเรื่องอย่างคร่าว ๆ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ โทษของการดื่มสุราและสูบบุหรี่
2. ใจความสําคัญของย่อหน้านี้ การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นสิ่งไม่ดี ทั้งเปลืองเงินเปลืองทอง และ
เป็นการทาลายชีวิตและสุขภาพ
3. สรุปใจความสําคัญโดยเรียบเรียงเป็นภาษาให้เข้าใจง่าย การดื่มสุราและสูบบุหรี่ทาให้สิ้นเปลือง
ทาลายชีวิตและสุขภาพ
การอ่านจับใจความสาคัญ
การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ เป็นการอ่านเพื่อค้นหาสาระสําคัญของเรื่อง โดยในย่อหน้าหนึ่งจะมี
ใจความสาคัญเพียงอย่างเดียว นอกนั้นจะเป็นพลความหรือส่วนขยาย
ใจความสาคัญ คือ ประโยคหรือ
ข้อความสําคัญของย่อหน้า ถ้าตัดออกจะเสีย
ความหรือความเปลี่ยนไป ทําให้อ่านไม่เข้าใจ
หรือเข้าใจเรื่องผิดได้
พลความ คือประโยคหรือข้อความ
ที่เป็นส่วนขยายความ ทําหน้าที่ขยายใจความ
ให้แจ่มชัดยิ่งขึ้น หากตัดส่วนประกอบส่วนนี้
ก็ยังเข้าใจเนื้อความสําคัญอยู่
หลักการอ่านจับใจความสาคัญ
1. อ่านเนื้อหาคร่าว ๆ พอให้เข้าใจว่าในแต่ละย่อหน้า
กล่าวถึงเรื่องใด รายละเอียดอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายให้
เนื้อความสมบูรณ์ ให้อ่านผ่าน ๆ เท่านั้น
2. จับใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า เมื่ออ่านจบแล้ว
ผู้อ่านต้องตอบคําถามให้ได้ว่า ใคร ทําอะไร ที่ไหน อย่างไร
3. สรุปใจความสาคัญ โดยผู้อ่านเรียบเรียงใจความสําคัญ
ด้วยสํานวนภาษาของตนเองตาม ความเข้าใจของผู้อ่าน
แบบฝึกหัด
คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหาประโยคใจความสําคัญของแต่ละย่อหน้าต่อไป แล้วสรุปใจความสําคัญด้วยสํานวน
ภาษาของตนเอง ตามความเข้าใจ
เมื่อเข้าใจแล้วว่า "การรู้" อาจเกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง (ตรัสรู้) แต่โดยทั่วไปแล้ว การรู้ของมนุษย์เรามีหลายขั้นตอน
หลายระดับ แต่ในระยะเวลาหนึ่ง การรู้ตัวความรู้ต่าง ๆ มาจากการสอน การแนะ การทําให้เห็น การมีประสบการณ์โดยตรง
โดยไม่มีการสอน ไม่มีการแนะ การดูแบบอย่างและเอาอย่าง ดังนั้นการสอน (Teaching) จึงเป็นวิธีการหนึ่งในหลาย ๆ วิธีการ
ที่มนุษย์เราใช้ในการรู้ เพื่อเข้าถึงตัวความรู้ การสอน (Teaching) จึงเป็นส่วนหนึ่งของการรู้ (Knowing)
(ศาสตราจารย์ ดร. ชัยอนันต์ สมุทวณิช "การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้" ใน ปฏิวัติการศึกษาไทย )
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มีด สันนิษฐานว่ามีต้นกําเนิดที่มาและพัฒนาการทางด้านรูปแบบมาจาก "เครื่องมือหินชนิดสับตัด" คนแต่ก่อน
ซึ่งมีชีวิตอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ได้เก็บเอาสะเก็ดหินซึ่งแตกออกเป็นกาบ มีส่วนคมอยู่บ้าง นํามาใช้เป็นเครื่องมือ สับ
หรือตัดแบ่งชิ้นเนื้อสัตว์ หรือผ่าเปลือกผลไม้กินเป็นอาหาร ในเวลาต่อมาคนรุ่นโน้นได้พากเพียรขัดเกลาสะเก็ดหินตาม
ธรรมชาติให้มีรูปร่างเหมาะแก่การจับและใช้งานก็เกิดเป็นเครื่องมือชนิดมีคมที่สะดวกแก่การใช้สอยอยู่สมัยหนึ่ง
(จุลทัศน์ พยาฆรานนท์ ร้อยคาร้อยความ)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้มีคุณค่าที่ดีงามไม่อาจทําได้ด้วยการสอนในห้องเรียน แต่ผู้เรียนรู้จะต้องมีการปฏิบัติเป็น
กิจวัตรประจําวัน โดยปกติเด็กแต่ละคนจะมีโอกาสเรียนรู้ด้วยประสบการณ์จริงด้านคุณค่าน้อยมาก เพราะแม้ระบบการเรียน
ในตัวของมันเองก็สอนให้เด็กแข่งขันและวัดความสามารถของเด็กเพียงด้านการสอบได้คะแนนสูง ๆ เป็นสําคัญ เด็กนักเรียน
ประจําจะมีโอกาสการเรียนรู้ทักษะการรู้ชีวิตซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการมีคุณค่าที่เหมาะสมกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดีกว่าเด็ก
นักเรียนไป-กลับ และระบบการศึกษาที่เห็นความสําคัญและส่งเสริมการใช้สมอง ( Head) หัวใจ (Heart) และมือ (Hands) จะ
ช่วยให้เด็กพัฒนาตนเองได้ดีกว่าระบบการศึกษาที่เน้นการใช้สมอง
(ชัยอนันต์ สมุทวาณิช "การปฎิรูปการเรียนรู้" ใน ปฏิวัติการศึกษาไทย)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
คนไทยเราแต่ในสมัยก่อนส่วนใหญ่คงจะมีพื้นฐานจิตใจติดอยู่กับความงามในธรรมชาติกันมาก ทั้งนี้สังเกตเห็นได้จาก
บทกวีหรือวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ อันเป็นหนังสือแต่งรุ่นเก่า มักพอใจพรรณนาบทชมป่าชมไม้อย่างวิจิตรพิสดารเป็นหลาย
กระบวน อ่านหรือฟ๎งได้ไม่รู้เบื่อ ที่ลางเรื่องไม่มีพรรณนาเกี่ยวกับป่าเขาลําเนาไม้ ก็จะต้องลําดับเรื่องหาเหตุวกเข้าไปให้
เกี่ยวข้องกับสวนไม้ดอกและไม้ใบเข้าจนได้ การแสดงออกในด้านวรรณคดีหรือบทกวีที่เกี่ยวกับความงามในธรรมชาติ
โดยเฉพาะความชื่นชมต่อไม้ดอกและไม้ใบเช่นนี้ ย่อมเป็นสิ่งแสดงให้รู้สึกเห็นพื้นแห่งจิตใจของคนไทยในรุ่นก่อนได้ว่า ท่านมี
จิตใจเป็นนักธรรมชาตินิยมโดยแท้ เหตุนี้จึงไม่น่าประหลาดแต่อย่างไรที่บรรดาศิลปะการตกแต่งประดับประดาอย่างไทยเรา
โดยจําเพาะลวดลายประจําชาติของไทยจึงมีรูปแบบและกระบวนการผูกวางเถาลายล้วนล้อเลียนและได้รับความบันดาลใจมา
แต่ดอกไม้ ใบไม้ และเครือลดาวัลย์ทั้งสิ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตัวอย่างข้อสอบ
เด็กไทยในปัจจุบันตกเป็นทาสของการเลนเกมคอมพิวเตอร์ วีดีโอเกม จนแทบไม่รู้จักการละเล่นของไทย เช่น
หมากเก็บ มอญซ่อนผ้า เป็นต้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ปัจจุบันบริเวณบ้านมีพื้นที่น้อย ไม่สะดวกให้เด็กวิ่งเล่น จึงหันไปเล่นเกม
ที่เล่น ได้สะดวกส่งผลให้เด็กมีนิสัยก้าวร้าวไม่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน
ผู้เขียนเขียนด้วยความรู้สึกอย่างไร
ก. เป็นทุกข์ ข. ห่วงใย
ค. โศกเศร้า ง. เห็นใจ
“...ฝ่ายโยคีมียศพจนารถ ให้โอวาทนางยักษ์ไม่หักหาญ
จงตัดบ่างห่วงใยอาลัยลาญ อย่าปองผลาญลูกผัวของตัวเลย
ทั้งเพราะเคราะห์กรรมทําให้วุ่น จึงสิ้นบุญวาสนาสีกาเอ๋ย
เห็นมิได้ไปอยู่เป็นคู่เชย ด้วยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น
อย่าควรคิดติดตามด้วยความโกรธ จะเป็นโทษกับสีกาเมื่ออาสัญ
จงยับยั้งฟ๎งคํารูปรําพรรณ ไปสวรรค์นฤพานสราญใจ...”
จากข้อมูลในคําประพันธ์ที่กําหนดให้ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. โยคีเป็นนักบวชในพุทธศาสนา เพราะอ้างถึงแนวคิดเรื่องนิพพาน
ข. เหตุผลที่พระอภัยมณีหนีจากนางผีเสื้อสมุทรเพราะทํากรรมร่วมกันมาเท่านี้
ค. โยคีใช้แนวคิดเดียวกับ “โกรธคือโง่ โมโหคือบ้า” ในการพูดสอนนางผีเสื้อสมุทร
ง. หากผีเสื้อสมุทรระงับความโกรธและความเอาฆาตแค้นได้ก็จะพบกับความสุข

More Related Content

What's hot

พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
Aunop Nop
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
Kroo R WaraSri
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
Ninnin Ja
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
Oommie Banthita
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
ssuser456899
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ssuser456899
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
kruying pornprasartwittaya
 

What's hot (20)

พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Similar to วิธีการสร้างคำในภาษาไทย

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
vanichar
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
sujira tapthong
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
Took Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
wisita42
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
Piyarerk Bunkoson
 

Similar to วิธีการสร้างคำในภาษาไทย (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
Kam
KamKam
Kam
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 

วิธีการสร้างคำในภาษาไทย

  • 1. วิธีการสร้างคา ตารางทางภาษาไทย ลักษณะเสียง (พยัญชนะ) อโฆษะ (ไม่ก้อง : Voiceless ) โฆษะ (ก้อง : Voiced) สิถิล ธนิต สิถิลมีลม ธนิต ไม่มีลม อนุนาสิก ฐานที่เกิด แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 3 แถวที่ 4 แถวที่ 5 วรรค กะ (กัณฐชะ) เกิดที่คอ ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ ง วรรค จะ (ตาลุชะ) เกิดที่เพดาน จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ วรรค ฏะ (มุทธชะ) เกิดที่ยอดเพดาน (ฎ) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรค ตะ (ทันตชะ) เกิดที่ฟ๎น (ด) ต ถ ท ธ น วรรค ปะ (โอฏฐชะ) เกิดที่ริมฝีปาก (บ) ป ผ (ฝ) พ (ฟ) ภ ม อวรรค/เศษวรรค อํ (ศ) (ฮ) ย ตารางนี้สามารถ 1. แยกไตรยางศ์ 2. บอกที่มาของอักษรคู่ อักษรเดี่ยว 3. บอกที่มาของอักษรนํา 4. บอกมาตราตัวสะกด 5. แยกคําเป็น คําตาย 6. บอกฐานที่เกิดของเสียงพยัญชนะ 7. บอกตัวสะกด ตัวตามในหลักบาลี 8. ผันคําพื้นเสียง 9. ผันคําที่มีรูปวรรณยุกต์ (ษ) ร ส ล ห ว พยัญชนะไทย มี 44 ตัว บาลี 33 ตัว สันสกฤต 35 ตัว ฬ อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่าคู่ อักษรต่าเดี่ยว กฎการผันคาพื้นเสียง 1) กลาง/เป็น/สามัญ 5) ต่ํา/เป็น/สามัญ 2) กลาง/ตาย/เอก 6) ต่ํา/ตาย/สั้น/ตรี 3) สูง/เป็น/จัตวา 7) ต่ํา/ตาย/ยาว/โท 4) สูง/ตาย/เอก บาลี-สันสกฤตในภาษาไทย สระจม-สระลอย บาลี สันสกฤต สระ ะ า ิ ี ุ ู เ โ ะ า ิ ี ุ ู เ โ ไ เ-า ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ พยัญชนะ 33 เสียง 35 เสียง (ศ, ษ) คาบาลี สันสกฤตในภาษาไทย ข้อสังเกต คําบาลี-สันสกฤตที่ใช้ในภาษาไทย ปาลี สันสกฤต ไทย ปาลี สันสกฤต ไทย กีฬา กรีฑา บาลีใช้ ฬ สันสกฤตใช้ ฑ ใช้ทั้งสองต่างความหมาย คัพภ์ ครรภ์ บาลีใช้ตัวละกดตัวตาม สันสกฤตใช้ รร (ร เรผะ) จุฬา จุฑา จริยา จรรยา จักกะ จักร บาลีใช้ตัวละกดตัวตาม สันสกฤตใช้ตัวควบ บัลลังก์ บรรยงก์ วัตถุ พัสตร์ ธัมมะ ธรรม ปัญญา ปรัชญา ภริยา ภรรยา ปริญญา ปรีชา วัฑฒนะ วรรธนะ ปิย ปรียา วัสสะ พรรษ สิริ ศรี สุวัณณะ สุวรรณ สัทธา ศรัทธา อัณณพ อรรณพ สัตตุ ศัตรู อัตถะ อรรถะ สระจม สระที่อยู่เดี่ยว ๆ ไม่ได้ ต้องมีพยัญชนะ ไปเกาะ สระลอย ลอยอยู่ด้วยตัวมันเองไม่ต้องมีพยัญชนะ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
  • 2. รวบรวมคาต่างประเทศในภาษาไทย ตัวอย่างข้อสอบ ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง ก. อีกข้อหนึ่งเมืองเราชาวมนุษย์ ข. ย่อมว่าพุทธกับไสยตามใจว่า ค. ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันไปมา ง. ทั้งเจรจารําคาญหูดูไม่งาม คําประพันธ์วรรคใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง “เพียงคําพูดกล่าวขานหวานสนิท จะกลับผิดให้ถูกได้อย่างไรนั่น กล่าววาจาแท้จริงสิ่งสําคัญ ความหวานนั้นเป็นแต่แค่มายา” ก. วรรคที่ 1 ข. วรรคที่ 2 ค. วรรคที่ 3 ง. วรรคที่ 4 ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกันทุกคํา ก. ซุ่มซ่าม ซวดเซ สอดส่อง ค. ทรามวัย สดใส สอดส่อง ข. ซุกซ่อน พากเพียร รุ่มร่าม ง. ส่งเสริม สุดสวาท สายสร้อย ข้อใดมีพยัญชนะต้นเสียงเดียวกันทุกคํา ก. ถอดถอน ทุบตี ท่าทาง ข. เพริศเพรา เพลิดเพลิน พักตร์พริ้ม ค. ผุดผ่อง ผลพวง ภาคพื้น ง. เผอเรอ ผ่องพรรณ แพรวพราว ข้อใดมีพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายเสียงเดียวกัน ก. มาร ข. ภาพ ค. เดช ง. เศษ ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด ก. เห็นแก้วแวววับที่จับจิต ข. ไยไม่คิดอาจเอื้อมให้เต็มที่ ค. เมื่อไม่เอื้อมจะได้อย่างไรมี ง. อันมณีฤๅจะโลดไปถึงมือ ขจร ขจี แข ควร ทรวง ไพร ตรัส ถวาย ทูล บรรทม สรง เสด็จ เสวย ดําเนิน ทราบ ขนง ดําริ ดํารัส เจริญ สรวล กระจก กระดาน กระโดง เชิง ตรวจ ตํารวจ กําจัด บัง ประกวด เพรง ระเบียง ระเบียบ แสวง ฉลอง เฉลย ประลอง อวย ตรง ดํารง บรรทุก เรียน สนอง ลําเนา เพลา เฉพาะ ผกา สดับ สงบ สงัด ขนุน ถนน แสวง กังวล ชุม ประชุม ติ ตําหนิ ทบ ทํานบ เกิด กําเนิด บังเกิด จอง จํานอง บําบัด กราบ กําลัง ขลัง บวช ผนวช เพลิง กาจ ดุจ เผด็จ เสร็จ ควร จาร บังอร ดล ถกล บันดาล เพ็ญ บําเพ็ญ ถวาย ผจัญ ลาญ ผลาญ ตรา ตํารา กราบ กําราบ ปราบ บําราบ กระดังงา ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด สาคู กะปะ กะพง โลมา อุรังอุตัง บุหรง บุหลัน โนรี กริช กํายาน สลัก กังสดาล อุบะ โกดัง มัสยิด อังกะลุง ยี่เก ตุนาหงัน กระพัน พันตู มะงุมมะงาหรา แบลา โจรสลัด บุหลัน เก๊ะ เก๋ง ตั๋ว โผ ตังเก เอี๊ยม ขาก๊วย เหาเหลา เฉาก๊วย โอเลี้ยง ซาลาเปา จันอับ หมี่ พะโล้ เต้าหู ก๋วยเตี๋ยว กวยจี๊ ก๋ง เจ๊ ซ้อ ตี๋ เตี่ย แป๊ะ ม่วย เฮีย เข่ง ห้าง ก๊วน กงเต๊ก เซียมซี งิ้ว โละ บู๊ ฮั้ว ซี้ซั้ว กงสุล กราฟ ก๊อก กัปตัน การ์ตูน คลินิก คอรัปชั่น เค้ก โค้ก คุกกี้ เชิ้ต ซอส ซิป เซ็น เต็นท์ แท็กซี่ แท็งก์ นอต โน้ต ไนต์คลับ บังกะโล วัคซีน วิตามิน อิเล็กทรอนิกส์ เบรก ฟรี ฟาร์ม ฟิล์ม กอล์ฟ แยม วิว เบนซิน โชว์ เกียร์ กาว เหยือก ออฟฟิศ เบียร์ ชอล์ก ก๊าช แก๊ส บรั่นดี โคม่า แกลลอน โบนัส เทนนิส เครดิต ไอศกรีม สตู คัตชู ริบบิ้น ซุป แป๊บ ศรีวิไล คาราโอเกะ กะลาสี ปิ่นโต
  • 3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์น้อยที่สุด ก. เชิญเจ้ารําเถิดนะนางฟ้า ข. ให้สิ้นท่าที่นางจําได้ ค. ตัวพี่จะรําตามไป ง. มิให้ผิดเพลงนางเทวี ข้อใดใช้พยัญชนะต้นของคําเป็นอักษรต่ําคู่ (เสียงพยัญชนะต้น) ก. งูใหญ่ในรั้ววัดโมลี ข. ฉันฝากถุงข้าวสวยให้ผ่อง ค. การจัดเด็กต้องบอกป้าอบ ง. คนแซ่เฮงชอบแฟนพันธุ์แท้ ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดต่างจากข้ออื่น (เสียงพยัญชนะท้าย) ก. ข้าว ข. ตัว ค. เกี่ยว ง. ผิว .ข้อความต่อไปนี้มีคําประสมกี่คํา (การสร้างคํา) “การหยุดไข้เลือดออกไม่ให้ระบาดในชุมชน ต้องระวังไม่ให้ถูกยุงกัด เช่น ทายากันยุง นอนในมุ้ง หรือติดมุ้งลวด ฯลฯ” ก. 4 คํา ข. 5 คํา ค. 6 คํา ง. 7 คํา ข้อใดไม่เป็นคามูล ก. เผอเรอ ข. มาลา ค. แจกัน ง. ค่าตัว คําในข้อใดมีวิธีสร้างคําต่างจากคําอื่น 1. ปวดร้าว ปวดเมื่อย ข. บอกบท บอกใบ้ 3. เศร้าโศก เศร้าหมอง ง. คลาดเคลื่อน คลาดแคล้ว คําที่ขีดเส้นใต้ ในข้อใดมีลักษณะการสร้างคําเหมือนกัน ก. เมื่อถึงจุดแตกหัก ทุกคนต่างแยกย้ายไปเหมือนผึ้งแตกรัง ข. หากเราสมัครสมานสามัคคีกันโดยสมัครใจ งานใดใดย่อมสําเร็จได้ด้วยดี ค. ประเทศชาติเจริญ ถ้าเรายอมรับฟ๎งความคิดเห็นที่แตกต่าง แต่ไม่คิดแตกแยกกัน ง. การทํางานให้ก้าวหน้านั้น แต่ละคนจะต้องตั้งใจทําหน้าที่ของตนและไม่ก้าวก่ายงานของคนอื่น ข้อใดแสดงให้เห็นว่า คําบาลี-สันสกฤตที่เป็นคําเดียวกัน อาจใช้ต่างรูปและต่างความหมายกันในภาษาไทย ก. บุษบา บุปผา ข. มัจฉา มัสยา ค. ทิฐิ ทฤษฎี ง. สัจ สัตย์ ข้อใดเกิดจากคําที่เป็นภาษาบาลี – สันสกฤตทั้งหมด ก. คริสต์มาส ข. เคมีภัณฑ์ ค. ศิลปกรรม ง. อนุกาชาด ข้อใดเกิดจากคําที่เป็นภาษาบาลีทุกคํา ก. ศีรษะ ป๎ญญา ข. ขันติ อิจฉา ค. วงกต พรรษา ง. พุทธิ ศรัทธา ข้อใดไม่ใช่วิธีสังเกตคํายืมภาษาเขมรในภาษาไทย (ประเภทของคําตามที่มา) ก. ใช้คําควบกล้ํา ข. ใช้อักษรนํา ค. ใช้ตัว จ เป็นตัวสะกด ง. ใช้ตัวสะกดตัวตาม ข้อใดไม่มีคําที่มาจากภาษาต่างประเทศ ก. มีตายายสามีภรรยาคูหนึ่งอยู่กันมานานจนล่วงเข้าวัยชราแต่ไม่มีบุตร ข. วันหนึ่งตายายลอยเรือหาปลา ไปตามริมแม่น้ําใหญ่ที่มีอาณาบริเวณถึง 10 ไร่เศษ ค. ขณะที่ยายคัดท้ายเรือเข้าหาฝ๎่ง เห็นไข่จระเข้ฟองหนึ่งอยู่บนกอพงจึงเก็บมา ง. ตั้งใจว่าจะเอาไปฟ๎กให้เป็นตัวเลี้ยงไว้ที่บ้านแม้ตาจะห้ามแต่ยายก็ไม่ฟ๎ง ข้อใดอธิบายการสร้างคําว่า “ราชดําเนิน” ได้ถูกต้อง ก. ไม่เป็นคําสมาสเพราะคําว่า ดําเนิน เป็นภาษาเขมร ข. เป็นคําสมาส เพราะแปลความหมายจากคําหลังไปคําหน้า ค. ไม่เป็นคําสมาส เพราะคําว่า ดําเนิน แผลงมาจากคําว่าเดิน ง. เป็นคําสมาสเพราะเกิดจากการผสมกันของคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต
  • 4. แบบฝึกหัด เรื่องการสร้างคาในภาษาไทย (คาสมาส) ตัวอย่างคําสมาสยืม กตัญญู = กต + ํฺํู (บาลี) มัจจุราช = มจฺจุ + ราชา (บาลี) วีรบุรุษ = วีร + ปุรุษ (สันสกฤต) ปรปักษ์ = ปร + ปกฺษ (สันสกฤต) เทวรูป = เทว+ รูป (บ.+ส.) มหาโจร = มหา + โจร (บ.+ส.) ตัวอย่างคําสมาสสร้าง คณิตศาสตร์ = คณิต + ศาสตร์ (สันสกฤต) จุฬาลงกรณ์ = จุฬา (บาลี)+ อลงกรณ์ (บ.+ส.) โลกาภิวัตน์ = โลก (บ.+ส.) + อภิวัตน์ (บาลี) ตัวอย่างคําสมาสซ้อน ประชาชน = ประชา (สันสกฤต) + ชน (บาลี) ขัตติยกษัตริย์ = ขัตติย (บาลี) + กษัตริย์ (สันสกฤต) กาลเวลา = กาล (บ. ส.) + เวลา (บ.ส.) คาชี้แจง จงวิเคราะห์คําต่อไปนี้ คา ประเภทของคา คา ประเภทของคา คา ประเภทของคา คุณธรรม สมาสแบบไม่มีสนธิ ประชาธิปไตย สมาสแบบมีสนธิ เทพเจ้า สมาสเทียม จักรยาน ยุทธหัตถี มิตรสหาย ทศนิยม โภชนาหาร โบราณคดี ปฐมวัย ศาสตราวุธ นเรศวร บรรณารักษ์ ชนบท ธันวาคม ภัตตาคาร ขัตติยกุมาร บุคลากร พลศึกษา ผลไม้ วิทยาลัย ราชสํานัก ราชวัง กาฬสินธุ์ สามัญสํานึก พระธํามรงค์ ภูมลําเนา ศักดินา ชีวเคมี อนุกาชาด ภาษาไทยนาคาสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ ทั้งคาสมาสยืม คือคาสมาสของภาษาบาลีและสันสกฤตที่ ยืมเข้ามาใช้ในภาษาไทย คาสมาสสร้าง คือคาสมาสที่ไทยสร้างขึ้นเลียนแบบคาสมาสของภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนาคาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมารวมกัน คาสมาสซ้อน คือคาสมาสที่นาคายืมภาษาบาลีและ สันสกฤตที่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมารวมกัน อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการ กลมกลืนของเสียง ได้แก่ คาสมาสที่ไม่มีสนธิ กับ คาสมาสที่มีสนธิ คาสมาสที่ไม่มีสนธิ คือ คําสมาสที่ไม่กลมกลืนเสียงของคํา เป็นการนํา คําภาษาบาลีและสันสกฤตมาเรียงต่อเข้าเป็นคําเดียวกัน คาสมาสที่มีสนธิ คือ คําสมาสที่มักใช้สระเสียงยาว /อา อู เอ โอ/ เป็นสระเชื่อมประสาน ระหว่างคําภาษาบาลีและสันสกฤตที่มารวมกัน สมาสที่ไม่มีสนธิ สมาสที่มีสนธิ สมาสเทียม (คาประสม) คาสมาสเทียม คือ คําที่มีองค์ประกอบผิด ไป จ า ก คํ า ส ม า ส ทั่ ว ไ ป เ พ ร า ะ มี องค์ประกอบที่ไม่ใช่คํายืมภาษาบาลีและ สันสกฤตปนอยู่ด้วย บางกรณีเป็นแค่คํา ประสมไม่ใช่คําสมาส
  • 5. แบบฝึกหัด เรื่องการสร้างคาในภาษาไทย (คาสมาส) สมาสแบบไม่มีสนธิ หรือ สมาสชนนําคํามาชนกัน 1) ตัดรูปสระอะของคําหน้า แล้วนําคําหลังมาชนทาย 2) ไม่ตัดรูปสระอื่นของคําหน้า แล้วนําคําหลังมาชนท้าย 3) ตัดทัณฑฆาตของคําหน้าแล้วนําคําหลังมาชนท้าย สมาสแบบมีสนธิ หรือ สมาสเชื่อมโดยนําคํามาเชื่อมกัน 1) สระสนธิ 1.1) ตัดสระพยางค์ท้ายของคําหน้า แล้วไปใช้สระกับพยางค์หน้าของคําหลัง 1.2) ตัดสระที่พยางค์ท้ายของคําหน้า แล้วไปใช้สระที่พยางค์หน้าของคําหลังโดยแปลงสระ (สระอะเป็นอา อิเป็นอี หรือเอ อุเป็นอูหรือโอ) ตัวอย่าง นร + อิศวร  นริศวร (เปลี่ยน อิ เป็น เอ)  นเรศวร 1.3) แปลงสระที่พยางค์ท้ายของคําหน้า อิ,อี เป็น ย อุ,อู เป็น ว แล้วไปใช้สระที่พยางค์หน้าของคําหลัง เช่น ธาตุ + อากร ธาตวากร 2) พยัญชนะสนธิ 2.1) คําหน้าลงท้ายด้วย น ให้ ลบ น ออก เช่น พรหมน + ชาติ พรหมชาติ 2.2) คําหน้าลงท้ายด้วย ส ให้เปลี่ยนเป็นสระโอ เช่น รหัส + ฐาน = รโหฐาน 2.3) เปลี่ยน ทุส เป็น ทุร เปลี่ยน นิส เป็น นิร เช่น ทุส + ชน 3) นิคหิตสนธิ 3.1) นิคหิตของคําหน้า สนธิกับสระ (ที่เป็นพยางค์หน้าของคําหลัง) ให้แปลงนิคหิตเป็น ม แล้วใช้สระกับคําหลัง สํ +อาคม = สมาคม 3.2) นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ให้แปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคแล้วสนธิ เช่น สํ + ผัส = สัมผัส 3.3) นิคหิตสนธิกับพยัญชนะเศษวรรค ให้แปลงนิคหิตเป็น ง แล้วนํามาชนท้าย เช่น สํ + เวช =สังเวช สํ + หรณ = สังหรณ์ คาชี้แจง จากการวิเคราะห์ประเภทของคําสมาส จงเติมคําที่นํามาใช้ในภาษาไทยให้ถูกต้อง คา ประเภทของ คาสมาส คา ประเภทของ คาสมาส คา ประเภทของ คาสมาส ทัณฑสถาน ทัณฑ + สถาน บูรณาการ ปูรณ + อาการ วิทยา + อาลัย จักร + ยาน แสนยา + อานุภาพ เลขา + อนุการ ทศ + นิยม โบราณ + คดี ศาสน + อุปถมฺภ ปฐม + วย เภสัช + กรรม นิสฺ + คุณ คุณ + ธรรม สวัสดิ + ภาพ ทุสฺ + พิษ อักขร + อนุกรม สุข + อุทัย สมาคม สํ + อาคม พล + ศึกษา ธนู + อาคม สํ + โอสร บรรณ + อารักษ์ กรรม + อธิการ สํ + ญาณ ภัตต + อาคาร นร + อิศวร สํ + ฐาน ธรรม + อภิบาล ปุคคล + อากร สํ + ปูรณ
  • 6. ประโยคในภาษาไทย ประโยค หมายถึง คําหรือข้อความที่นํามาเรียบเรียงต่อเนื่องกันจนได้ใจความสมบูรณ์ สื่อความได้ อย่างชัดเจน ประกอบด้วย ภาคประธาน (ส่วนประกอบของประโยคที่มีคานามเป็นหลัก) กับภาคแสดง (ส่วนประกอบของประโยคที่มีคากริยาเป็นหลัก) ประโยคบางลักษณะอาจมีแต่ภาคแสดงได้ แต่ประโยคจะมีแต่ ภาคประธานโดยไม่มีภาคแสดงไม่ได้ (อย่างน้อยที่สุดประโยคต้องประกอบด้วยกริยาวลี 1 กริยาวลีเสมอ) ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว ประโยคซ้อนที่มีนามานุประโยค (มีอนุประโยคที่ทําหน้าที่เหมือนนามวลี) ประโยครวมจากประโยคสามัญและ ประโยคสามัญ ประโยคสามัญที่มีหลายกริยาวลี ประโยคซ้อนที่มีคุณานุประโยค (มีอนุประโยคที่ทําหน้าที่ขยายนาม) ประโยครวมจากประโยคสามัญและ ประโยคซ้อน ประโยคซ้อนที่มีวิเศษณานุประโยค (มีอนุประโยคขยายกริยาวลี) ประโยครวมจากประโยคซ้อนและ ประโยคสามัญ ประโยครวมจากประโยคซ้อนและ ประโยคซ้อน ประโยคสามัญ ประโยคที่ประกอบด้วยนามวลีทําหน้าที่ประธาน กับ กริยาวลีทําหน้าที่ภาคแสดง ประโยคสามัญแบ่งได้ 2 ชนิด คือ ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว หมายถึง ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเพียง 1 กริยาวลีในกริยาวลีมีคํากริยาเพียงคํา เดียว เช่น ลักขณาให้ของขวัญสุวรรณทุกปี เราปรารถนาความสุข ทุกคนต้องรักษาสาธารณสมบัติของชาติ ประโยคสามัญหลายกริยาวลี หมายถึง ประโยคสามัญที่มีโครงสร้างกริยาเรียง มีกริยาวลีหลายกริยาวลีทําหน้าที่เป็น ภาคแสดงของประธานเดียวกันหรือต่างประธานกันก็ได้ แม้จะมีกริยาหลายวลีแค่ประโยคสามัญนี้ต้องไม่มีคําเชื่อม สมชัยขับรถข้ามสะพาน คุณปู่ เดินไป ใส่บาตรหน้าบ้าน ครูสอนพวกเราร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ประโยค นามวลี กริยาวลี เด็ก ไม่ชอบกินผัก เด็กทุกคนในโรงเรียน เด็กบางคน เด็กนักเรียน นักเรียน
  • 7. ประโยคซ้อน ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลักกับอนุประโยค (อนุประโยคมักขึ้นต้นด้วยคําเชื่อม ที่ ว่า ให้ ที่ ซึ่ง อัน จนกระทั่ง ขณะที่) ประโยคหลัก คือ ประโยคที่มีอีกประโยคหนึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประโยค ได้แก่ ประธาน เป็นหน่วยเติม เต็ม หรือเป็นส่วนขยาย อนุประโยค คือ ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคําเชื่อมอนุประโยค ทําหน้าที่ได้อย่างนามวลี คือ เป็นประธาน กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค ตัวอย่างประโยคซ้อน ประโยคความซ้อน ประโยคหลักและประโยคย่อย คาเชื่อม คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต คน…ย่อมมีความเจริญในชีวิต (ประโยคหลัก) (คน) ประพฤติดี (ประโยคย่อย) ที่ สมทรงดีใจที่สอบชิงทุนรัฐบาลได้ สมทรงดีใจ (ประโยคหลัก) (สมทรง) สอบชิงทุนรัฐบาลได้ ที่ เราเห็นภูเขาซึ่งมีถ้าอยู่ข้างใต้ เราเห็นภูเขา (ประโยคหลัก) (ภูเขา) มีถ้ําอยู่ข้างใต้ (ประโยคย่อย) ซึ่ง ที่คุณพูดไม่เป็นความจริง ไม่เป็นความจริง (ประโยคหลัก) คุณพูด (ประโยคย่อย) ที่ เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน เขานอนตัวสั่น (ประโยคหลัก) (เขา) กลัวเสียงปืน (ประโยคย่อย) เพราะ คนเจ็บกินยาตามหมอสั่ง คนเจ็บกินยา (ประโยคหลัก) หมอสั่ง (ประโยคย่อย) ตาม เขาทําท่าราวกับเขาเป็นเจ้าของบ้าน เขาทาท่า (ประโยคหลัก) เขาเป็นเจ้าของบ้าน (ประโยคย่อย) ราวกับ ประโยครวม คือ ประโยคย่อยตั้งแต่สองประโยคขึ้นไปมารวมเข้าเป็นประโยคเดียว และต้องมีคําเชื่อมสมภาค และ และก็ แต่ แต่ทว่า ทว่า หรือ ตัวอย่าง เช่น ภรรยาผมตั้งครรภ์แต่แท้งเสียก่อน (ประโยครวมจากประโยคสามัญและประโยคสามัญ) ภรรยาผมตั้งครรภ์ (ประโยคย่อยที่ 1) ภรรยาผมแท้งเสียก่อน (ประโยคย่อยที่ 2) เชื่อมด้วยคําว่า แต่ เกษตรกรแถวนี้นิยมทํานาและเลี้ยงปลาที่กินวัชพืชไว้ในนา (ประโยครวมจากประโยคสามัญและประโยคซ้อน) เกษตรกรแถวนี้นิยมทํานา (ประโยคย่อยที่ 1 เป็นประโยคสามัญ) เกษตรกรแถวนี้นิยมเลี้ยงปลาที่กินวัชพืชไว้ในนา (ประโยคย่อยที่ 2 เป็นประโยคซ้อน) เกษตรกรแถวนี้นิยมเลี้ยงปลา (เป็นประโยคหลัก) ปลากินวัชพืชไว้ในนา (เป็นประโยคย่อย) เชื่อมด้วยคําว่า ที่
  • 8. สุดารับประทานแต่อาหารที่มีประโยชน์ และ ดื่มแต่นาที่บริสุทธิ์ (ประโยครวมจากประโยคซ้อนและประโยคซ้อน) สุดารับประทานแต่อาหารที่มีประโยชน์ (ประโยคย่อยที่ 1 เป็นประโยคซ้อน) สุดารับประทานอาหาร (ประโยคหลัก) (อาหาร) มีประโยชน์ (ประโยคย่อย) สุดาดื่มแต่นาที่บริสุทธิ์ (ประโยคย่อยที่ 2 เป็นประโยคซ้อน) สุดาดื่มน้ํา (ประโยคหลัก) (น้ําดื่ม) บริสุทธิ์ (ประโยคย่อย) ประโยคความรวมที่มีประธาน กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยเสริมความ เป็นคนหรือสิ่งเดียวกัน มัก ละประธาน กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยเสริมความ เช่น พรทิพย์ชอบลําไยแต่ไม่ชอบทุกเรียน ผมชอบแมวแต่คุณไม่ชอบนี่ เขาเคยเป็นนักร้องหรือไม่เคยเป็นกันแน่ คุณจะนั่งรถ ลงเรือ หรือ จะขึ้นเครื่องบินไป ตัวอย่างข้อสอบ ประโยคในข้อใดสื่อความได้ตรงกับ “...เสด็จให้มาถูกถามเสด็จว่าจะเสด็จหรือไม่เสด็จ ถ้าเสด็จจะเสด็จ เสด็จ จะเสด็จด้วย...” มากที่สุด ก. พ่อให้มาถามแม่ว่าแม่จะไปหรือไม่ไป ถ้าแม่ไปพ่อจะไปแทน ข. เขาฝากฉันมาถามเธอว่าเธอจะไปหรือไม่ไป ถ้าเธอไปเขาจะได้ไม่ต้องไป ค. ป้าให้มาถามปู่ว่าปู่จะไปกับหญ้าหรือเปล่า ถ้าปู่ไม่ไปจะได้ชวนคนอื่นไป ง. น้องให้มาถามเธอว่าเธอจะไปหรือไม่ไป ถ้าเธอไปน้องจะตามไปด้วย ตัวอย่างข้อสอบ ข้อใดเป็นประโยคต่างชนิดกัน ก. เด็กนักเรียนกําลังเล่นกีฬากับครู / ครูกําลังเล่นกีฬากับนักเรียน ข. กระเป๋าที่อยู่ตรงนั้น ฉันทําหายเมื่อวาน / ฉันทํากระเป๋าที่อยู่ตรงนั้นหายเมื่อวาน ค. พี่กับน้องไปเที่ยวสวนสรุกตอนปิดเทอม / ตอนปิดเทอมพี่ไปเที่ยวสวนสนุกกับน้อง ง. โตขึ้นเธออยากเป็นครูหรืออยากเป็นหมอ / โตขึ้นเธออยากเป็นหมอหรืออยากเป็นครู ตัวอย่างข้อสอบ “ แม้ดูเหมือนเป็นเงา ที่ไม่มีตัวตน แต่ฉันก็มีหัวใจ ” ข้อใดอธิบายประโยคข้างต้นได้ถูกต้อง ก. เป็นประโยคความเดียวซับซ้อนที่ภาคประธาน ค. เป็นประโยคความรวมที่มีประโยคย่อยเป็นความซ้อน ข. เป็นประโยคความซ้อนที่มีประโยคย่อยเป็นความรวม ง. เป็นประโยคความซ้อนที่มีประโยคย่อยเป็นความซ้อน
  • 9. จงวิเคราะห์ประโยคต่อไปนี้ว่าเป็นประโยคชนิดใด ชนิดของประโยคตามโครงสร้าง โครงสร้างของประโยค คาเชื่อม อ้อยทําสวนครัวและร้องเพลงเบาๆ ตัวอย่าง……………ประโยครวม…………………………. อ้อยทาสวนครัว (ประโยคย่อย) อ้อยร้องเพลงเบาๆ (ประโยคย่อย) และ เธอกับฉันต้องรับผิดชอบในเรื่องนี้ ……………………………………………………………………. ฉันกินข้าวบ้านป้าแล้วไปกินขนมบ้านยาย ……………………………………………………………………. บุคคลใดที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต ……………ประโยคซ้อน…………………………. คนไทยทุกคนหวงแหนแผ่นดินไทยอันเป็นบ้านเกิด เมืองนอน ……………………………………………………………………. สมศักดิ์เป็นนักมวยแต่ทะนงศักดิ์เป็นนักร้อง ……………………………………………………………………. พี่ตื่นเช้าแต่น้องตื่นสาย ……………………………………………………………………. เด็กหญิงสุนันท์นั่งในห้องเรียน .ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว.. เขาเดินชมดอกไม้ในสวน ……………………………………………………………………. แต๋ววิ่งไปเปิดประตูบ้าน ……………………………………………………………………. สมชัยโบกมือลาพวกเรา .....ประโยคสามัญหลายกริยาวลี..... สมชัย (นามวลี) โบกมือ(กริยาวลี) - ลาพวกเรา (กริยาวลี) ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม บัตรกิจกรรการเรียนรู้
  • 10. ชนิดของประโยคตามโครงสร้าง โครงสร้างของประโยค คาเชื่อม ท่านที่ตอบคําถามถูกต้องโปรดมารับรางวัล ……………………………………………………………………. สาวโรงงานกลับไปเมื่อเลิกงานแล้ว ……………………………………………………………………. เรายินดีช่วยเหลือเขา แต่ว่าเขาไม่ยอมรับ ……………………………………………………………………. นายเที่ยงเป็นครูใหญ่โรงเรียนประจําจังหวัด ……………………………………………………………………. เครื่องหมายที่พักริมทางตามถนนหลวงถูกลบเสีย แล้ว ……………………………………………………………………. เธอเลือกเล่นละครหรือเล่นกีฬา ……………………………………………………………………. สมศักดิ์อ่านหนังสือพิมพ์ระหว่างที่นั่งรอสมคิด ……………………………………………………………………. วันนี้พิกุลไม่มาโรงเรียนเนื่องจากเขาลาไปเยี่ยมญาติ ……………………………………………………………………. แม้ว่าเขาจะไม่สบาย เขาก็พยายามทํางานจนเสร็จ ................................................................................ ชนิดของประโยคแบ่งตามาลา มาลา เป็นการบ่งบอกว่าคํากริยาอยู่ในรูปเจตคติอย่างไรจากมุมมองผู้พูด แบ่งออกได้ 4 ชนิด 1. .................................. ประโยคที่มีเนื้อความบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ 2. ................................. ประโยคที่มีคําแสดงความถาม เช่น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทําไม อย่างไร 3. ..................................ประโยคที่ใช้สั่งหรือขอร้องให้ผู้ใดผู้หนึ่งทําอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. .................................. ประโยคที่มีคําปฏิเสธอยู่ด้วย เช่น บอกปฏิเสธ คําสั่งปฏิเสธ คําถามปฏิเสธ
  • 11. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักการอ่านเพื่อจับใจความสําคัญได้ 2. อ่านจับใจความสําคัญจากแหล่งสารสนเทศที่ครูกําหนดให้ได้ ตัวอย่าง จงอ่านเพื่อค้นหาประโยคใจความสําคัญของข้อความต่อไปนี้ การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นสิ่งไม่ดี ทั้งเปลืองเงินเปลืองทอง และเป็นการทาลายชีวิตและสุขภาพ การดื่มสุราเป็นสาเหตุทําให้เกิดโรคเรื้อรังมากกว่า 60 ชนิด การดื่มสุราเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของอุบัติเหตุ จราจร ซึ่งร้อยละ 50 เกิดจากเมาแล้วขับ ส่วนการสูบบุหรี่เป็นการเร่งให้เสียชีวิตเร็วกว่าที่ควร ทําให้เกิดโรค เรื้อรังทุกทรมาน เช่น มะเร็งปอด โรคถุงลมโป่งพอง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดในสมอง 1. อ่านเรื่องอย่างคร่าว ๆ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ โทษของการดื่มสุราและสูบบุหรี่ 2. ใจความสําคัญของย่อหน้านี้ การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นสิ่งไม่ดี ทั้งเปลืองเงินเปลืองทอง และ เป็นการทาลายชีวิตและสุขภาพ 3. สรุปใจความสําคัญโดยเรียบเรียงเป็นภาษาให้เข้าใจง่าย การดื่มสุราและสูบบุหรี่ทาให้สิ้นเปลือง ทาลายชีวิตและสุขภาพ การอ่านจับใจความสาคัญ การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ เป็นการอ่านเพื่อค้นหาสาระสําคัญของเรื่อง โดยในย่อหน้าหนึ่งจะมี ใจความสาคัญเพียงอย่างเดียว นอกนั้นจะเป็นพลความหรือส่วนขยาย ใจความสาคัญ คือ ประโยคหรือ ข้อความสําคัญของย่อหน้า ถ้าตัดออกจะเสีย ความหรือความเปลี่ยนไป ทําให้อ่านไม่เข้าใจ หรือเข้าใจเรื่องผิดได้ พลความ คือประโยคหรือข้อความ ที่เป็นส่วนขยายความ ทําหน้าที่ขยายใจความ ให้แจ่มชัดยิ่งขึ้น หากตัดส่วนประกอบส่วนนี้ ก็ยังเข้าใจเนื้อความสําคัญอยู่ หลักการอ่านจับใจความสาคัญ 1. อ่านเนื้อหาคร่าว ๆ พอให้เข้าใจว่าในแต่ละย่อหน้า กล่าวถึงเรื่องใด รายละเอียดอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายให้ เนื้อความสมบูรณ์ ให้อ่านผ่าน ๆ เท่านั้น 2. จับใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า เมื่ออ่านจบแล้ว ผู้อ่านต้องตอบคําถามให้ได้ว่า ใคร ทําอะไร ที่ไหน อย่างไร 3. สรุปใจความสาคัญ โดยผู้อ่านเรียบเรียงใจความสําคัญ ด้วยสํานวนภาษาของตนเองตาม ความเข้าใจของผู้อ่าน
  • 12. แบบฝึกหัด คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหาประโยคใจความสําคัญของแต่ละย่อหน้าต่อไป แล้วสรุปใจความสําคัญด้วยสํานวน ภาษาของตนเอง ตามความเข้าใจ เมื่อเข้าใจแล้วว่า "การรู้" อาจเกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง (ตรัสรู้) แต่โดยทั่วไปแล้ว การรู้ของมนุษย์เรามีหลายขั้นตอน หลายระดับ แต่ในระยะเวลาหนึ่ง การรู้ตัวความรู้ต่าง ๆ มาจากการสอน การแนะ การทําให้เห็น การมีประสบการณ์โดยตรง โดยไม่มีการสอน ไม่มีการแนะ การดูแบบอย่างและเอาอย่าง ดังนั้นการสอน (Teaching) จึงเป็นวิธีการหนึ่งในหลาย ๆ วิธีการ ที่มนุษย์เราใช้ในการรู้ เพื่อเข้าถึงตัวความรู้ การสอน (Teaching) จึงเป็นส่วนหนึ่งของการรู้ (Knowing) (ศาสตราจารย์ ดร. ชัยอนันต์ สมุทวณิช "การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้" ใน ปฏิวัติการศึกษาไทย ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… มีด สันนิษฐานว่ามีต้นกําเนิดที่มาและพัฒนาการทางด้านรูปแบบมาจาก "เครื่องมือหินชนิดสับตัด" คนแต่ก่อน ซึ่งมีชีวิตอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ได้เก็บเอาสะเก็ดหินซึ่งแตกออกเป็นกาบ มีส่วนคมอยู่บ้าง นํามาใช้เป็นเครื่องมือ สับ หรือตัดแบ่งชิ้นเนื้อสัตว์ หรือผ่าเปลือกผลไม้กินเป็นอาหาร ในเวลาต่อมาคนรุ่นโน้นได้พากเพียรขัดเกลาสะเก็ดหินตาม ธรรมชาติให้มีรูปร่างเหมาะแก่การจับและใช้งานก็เกิดเป็นเครื่องมือชนิดมีคมที่สะดวกแก่การใช้สอยอยู่สมัยหนึ่ง (จุลทัศน์ พยาฆรานนท์ ร้อยคาร้อยความ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. การส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้มีคุณค่าที่ดีงามไม่อาจทําได้ด้วยการสอนในห้องเรียน แต่ผู้เรียนรู้จะต้องมีการปฏิบัติเป็น กิจวัตรประจําวัน โดยปกติเด็กแต่ละคนจะมีโอกาสเรียนรู้ด้วยประสบการณ์จริงด้านคุณค่าน้อยมาก เพราะแม้ระบบการเรียน ในตัวของมันเองก็สอนให้เด็กแข่งขันและวัดความสามารถของเด็กเพียงด้านการสอบได้คะแนนสูง ๆ เป็นสําคัญ เด็กนักเรียน ประจําจะมีโอกาสการเรียนรู้ทักษะการรู้ชีวิตซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการมีคุณค่าที่เหมาะสมกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดีกว่าเด็ก นักเรียนไป-กลับ และระบบการศึกษาที่เห็นความสําคัญและส่งเสริมการใช้สมอง ( Head) หัวใจ (Heart) และมือ (Hands) จะ ช่วยให้เด็กพัฒนาตนเองได้ดีกว่าระบบการศึกษาที่เน้นการใช้สมอง (ชัยอนันต์ สมุทวาณิช "การปฎิรูปการเรียนรู้" ใน ปฏิวัติการศึกษาไทย) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
  • 13. คนไทยเราแต่ในสมัยก่อนส่วนใหญ่คงจะมีพื้นฐานจิตใจติดอยู่กับความงามในธรรมชาติกันมาก ทั้งนี้สังเกตเห็นได้จาก บทกวีหรือวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ อันเป็นหนังสือแต่งรุ่นเก่า มักพอใจพรรณนาบทชมป่าชมไม้อย่างวิจิตรพิสดารเป็นหลาย กระบวน อ่านหรือฟ๎งได้ไม่รู้เบื่อ ที่ลางเรื่องไม่มีพรรณนาเกี่ยวกับป่าเขาลําเนาไม้ ก็จะต้องลําดับเรื่องหาเหตุวกเข้าไปให้ เกี่ยวข้องกับสวนไม้ดอกและไม้ใบเข้าจนได้ การแสดงออกในด้านวรรณคดีหรือบทกวีที่เกี่ยวกับความงามในธรรมชาติ โดยเฉพาะความชื่นชมต่อไม้ดอกและไม้ใบเช่นนี้ ย่อมเป็นสิ่งแสดงให้รู้สึกเห็นพื้นแห่งจิตใจของคนไทยในรุ่นก่อนได้ว่า ท่านมี จิตใจเป็นนักธรรมชาตินิยมโดยแท้ เหตุนี้จึงไม่น่าประหลาดแต่อย่างไรที่บรรดาศิลปะการตกแต่งประดับประดาอย่างไทยเรา โดยจําเพาะลวดลายประจําชาติของไทยจึงมีรูปแบบและกระบวนการผูกวางเถาลายล้วนล้อเลียนและได้รับความบันดาลใจมา แต่ดอกไม้ ใบไม้ และเครือลดาวัลย์ทั้งสิ้น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตัวอย่างข้อสอบ เด็กไทยในปัจจุบันตกเป็นทาสของการเลนเกมคอมพิวเตอร์ วีดีโอเกม จนแทบไม่รู้จักการละเล่นของไทย เช่น หมากเก็บ มอญซ่อนผ้า เป็นต้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ปัจจุบันบริเวณบ้านมีพื้นที่น้อย ไม่สะดวกให้เด็กวิ่งเล่น จึงหันไปเล่นเกม ที่เล่น ได้สะดวกส่งผลให้เด็กมีนิสัยก้าวร้าวไม่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ผู้เขียนเขียนด้วยความรู้สึกอย่างไร ก. เป็นทุกข์ ข. ห่วงใย ค. โศกเศร้า ง. เห็นใจ “...ฝ่ายโยคีมียศพจนารถ ให้โอวาทนางยักษ์ไม่หักหาญ จงตัดบ่างห่วงใยอาลัยลาญ อย่าปองผลาญลูกผัวของตัวเลย ทั้งเพราะเคราะห์กรรมทําให้วุ่น จึงสิ้นบุญวาสนาสีกาเอ๋ย เห็นมิได้ไปอยู่เป็นคู่เชย ด้วยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น อย่าควรคิดติดตามด้วยความโกรธ จะเป็นโทษกับสีกาเมื่ออาสัญ จงยับยั้งฟ๎งคํารูปรําพรรณ ไปสวรรค์นฤพานสราญใจ...” จากข้อมูลในคําประพันธ์ที่กําหนดให้ ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. โยคีเป็นนักบวชในพุทธศาสนา เพราะอ้างถึงแนวคิดเรื่องนิพพาน ข. เหตุผลที่พระอภัยมณีหนีจากนางผีเสื้อสมุทรเพราะทํากรรมร่วมกันมาเท่านี้ ค. โยคีใช้แนวคิดเดียวกับ “โกรธคือโง่ โมโหคือบ้า” ในการพูดสอนนางผีเสื้อสมุทร ง. หากผีเสื้อสมุทรระงับความโกรธและความเอาฆาตแค้นได้ก็จะพบกับความสุข