SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 1
การจำาแนกชนิดคำาในภาษาไทย
คำานาม คือ คำาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และ
ลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำานามแบ่งออก
เป็น 5 ชนิด คือ
1.สามานยนาม คือ คำานามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำาเรียกสิ่งต่างๆ
โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน , รถ , หนังสือ, กล้วย เป็นต้น สามานยนาม
บางคำามีคำาย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คน
ไทย , รถจักรายาน , หนังสือแบบเรียน , กล้วยหอม เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ดอกไ
ม้อยู่ในแจกัน แมวชอบกินปลา
2.วิสามานยนาม คือ คำานามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำา
เรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด เช่น ธรรมศาสตร์ , วัด
มหาธาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน อิเหนา
ได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร
3.ลักษณนาม คือ คำานามที่ทำาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ
ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น เช่น รูป , องค์ , กระบอก เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น คน 6 คน นั่งรถ 2 คน ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี
4.สมุหนาม คือ คำานามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่
รวมกันมากๆ เช่น ฝูงผึ้ง , โขลงช้าง , กองทหาร เป็นต้น ตัวอย่างเช่น กองยุว
กาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่ พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี
5.อาการนาม คือ คำาเรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีขนาด จะมีคำาว่า "การ" และ "ค
วาม" นำาหน้า เช่น การกิน , กรานอน , การเรียน , ความสวย , ความคิด , ความดี
เป็นต้น ตัวอย่างเช่น การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว การเรียนช่วยให้มี
ความรู้
ข้อสังเกต คำาว่า "การ" และ "ความ" ถ้านำาหน้าคำาชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำากริยา หรือ
วิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา , ความแพ่ง เป็นต้น
คำาเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม
หน้าที่ของคำานาม
1.ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น น้องร้องเพลง ครูชม
นักเรียน นกบิน
2.ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น แมวกินปลา ตำารวจจับผู้ร้าย
น้องทำาการบ้าน
3.ทำาหน้าที่เป็นส่วยขยายคำาอื่น เช่น สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า ตุ๊กตาหยก
ตัวนี้สวยมาก
นายสมควรยามรักษาการเป็นคนเคร่งครัดต่อหน้าที่มาก
4.ทำาหน้าที่ขยายคำากริยา เช่น แม่ไปตลาด น้องอยู่บ้าน เธออ่าน
หนังสือเวลาเช้า
5.ทำาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มของคำากริยาบางคำา เช่น เขาเหมือนพ่อ เ
ธอคล้ายพี่ วนิดาเป็นครู
เธอคือนางสาวไทย มานะสูงเท่ากับคุณพ่อ
6.ทำาหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น เขาเป็นคนเห็นแก่ตัว พ่อนอนบนเตียง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 2
ปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล
7.ทำาหน้าที่เป็นคำาเรียกขาน เช่น คุณครูคะหนูยังไม่เข้าใจเลขข้อนี้ค่ะ
คุณหมอลูกดิฉันจะหายป่วยไหม
นายช่างครับผมขอลากิจ 3 วัน
คำาสรรพนาม คือ คำาที่ใช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใช้คำาสรรพนาม
เพื่อไม่ต้องกล่าวคำานามซำ้าๆ
1) ชนิดของคำาสรรพนาม แบ่งเป็น 7 ประเภท ดังนี้
1.1) สรรพนามที่ใช้ในการพูด (บุรุษสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้ในการ
พูดจา สื่อสารกัน ระหว่างผู้ส่งสาร (ผู้พูด) ผู้รับสาร (ผู้ฟัง) และผู้ที่เรากล่าวถึง มี 3
ชนิด ดังนี้
(1) สรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนผู้ส่งสาร (ผู้พูด) เช่น ฉัน ดิฉัน ผม ข้าพเจ้า
เรา หนู เป็นต้น
(2) สรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้แทนผู้รับสาร (ผู้ที่พูดด้วย) เช่น ท่าน คุณ เธอ แก
ใต้เท้า เป็นต้น
(3) สรรพนามบุรุษที่ 3 ใช้แทนผู้ที่กล่าวถึง เช่น ท่าน เขา มัน เธอ แก เป็นต้น
1.2) สรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม)สรรพนามนี้ใช้
แทนนามหรือสรรพนามที่อยู่ข้างหน้าและต้องการจะกล่าวซำ้าอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้
ยังใช้เชื่อมประโยคสองประโยคเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น
บ้านที่ทาสีขาวเป็นบ้านของเธอ(ที่แทนบ้าน เชื่อมประโยคที่ 1 บ้านทาสีขาว กับ
ประโยคที่ 2 บ้านของเธอ)
1.3) สรรพนามบอกความชี้ซำ้า (วิภาคสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้แทน
นามที่อยู่ข้างหน้า เมื่อต้องการเอ่ยซำ้า โดยที่ไม่ต้องเอ่ยนามนั้นซำ้าอีก และเพื่อแสดง
ความหมายแยกออกเป็นส่วนๆ ได้แก่คำาว่า บ้าง ต่าง กัน ตัวอย่างเช่น
นักศึกษาต่างแสดงความคิดเห็น สตรีกลุ่มนั้นทักทายกัน นักกีฬาตัวน้อยบ้างก็
วิ่งบ้างก็กระโดดด้วยความสนุกสนาน
1.4) สรรพนามชี้เฉพาะ (นิยมสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้แทนคำานามที่
กล่าวถึงที่อยู่ เพื่อระบุให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่คำาว่า นี่ นั่น โน่น โน้น ตัวอย่างเช่น
นี่เป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปีนี้ นั่นรถจักรายานยนต์ของเธอ
1.5) สรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม) คือ สรรพนามที่
ใช้แทนนามที่กล่าวถึงโดยไม่ต้องการคำาตอบ
ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ได้แก่คำาว่า ใคร อะไร ที่ไหน ผู้ใด สิ่งใด ใครๆ อะไรๆๆ ใดๆ
ตัวอย่างเช่น ใครๆก็พูดเช่นนั้น
ใครก็ได้ช่วยชงกาแฟให้หน่อย ใดๆในโลกล้วนอนิจจัง ไม่มีอะไรที่เราทำาไม่
ได้
1.6) สรรพนามที่เป็นคำาถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทน
นามเป็นการถามที่ต้องการคำาตอบ ได้แก่คำาว่า ใคร อะไร ไหน ผู้ใด ตัวอย่างเช่น
ใครหยิบหนังสือบนโต๊ะไป อะไรวางอยู่บนเก้าอี้ ไหนปากกาของฉัน
ผู้ใดเป็นคนรับโทรศัพท์
1.7) สรรพนามที่เน้นตามความรู้สึกของผู้พูด สรรพนามชนิดนี้ใช้หลักคำา
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 3
นามเพื่อบอกความรู้สึกของผู้พูดที่มีต่อบุคคล
ที่กล่าวถึง ตัวอย่างเช่น คุณพ่อท่านเป็นคนอารมณ์ดี (บอกความรู้สึกยกย่อง)
คุณจิตติมาเธอเป็นคนอย่างงี้แหละ (บอกความรู้สึกธรรมดา)
2) หน้าที่ของคำาสรรพนาม
2.1) ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น ใครมา แกมาจากไหน นั่นของ
ฉันนะ เป็นต้น
2.2) ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น เธอดูนี่สิ สวยไหม เป็นต้น
2.3) ทำาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น เสื้อของฉันคือนี่ สีฟ้าใสเห็นไหม เป็นต้น
2.4) ทำาหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น เธอเรียนที่ไหน เป็นต้น
คำากริยา คือ คำาที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำาของคำานาม และคำา
สรรพนามในประโยค คำากริยาบางคำาอาจมี
ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำาต้องมีคำาอื่นมาประกอบ และบางคำาต้องไป
ประกอบคำาอื่นเพื่อขยายความ
1) ชนิดของคำากริยา คำากริยาแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี้
1.1) กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ (อกรรมกริยา) เป็นกริยาที่มีความหมาย
สมบูรณ์ ชัดเจนในตัวเอง เช่น
ครูยืน น้องนั่งบนเก้าอี้ ฝนตกหนัก เด็กๆหัวเราะ คุณลุงกำาลังนอน
1.2) กริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ (สกรรมกริยา) เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมมา
รับจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ เช่น แม่ค้าขายผลไม้ น้องตัดกระดาษ ฉันเห็น
งูเห่า พ่อซื้อของเล่นมาให้น้อง
1.3) กริยาที่ต้องมีคำามารับ คำาที่มารับไม่ใช่กรรมแต่เป็นส่วนเติมเต็ม (วิก
ตรรถกริยา) คือ คำากริยานั้นต้องมี
คำานามหรือสรรพนามมาช่วยขยายความหมายให้สมบูรณ์ เช่นคำาว่า เป็น เหมือน
คล้าย เท่าคือ เสมือน ดุจ เช่น พี่ชายของฉันเป็นตำารวจ เธอคือนักแสดงที่ยิ่ง
ใหญ่ ลูกดุจแก้วตาของพ่อแม่ แมวคล้ายเสือ
1.4) กริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นคำาที่เติมหน้าคำากริยาหลักในประโยค
เพื่อช่วยขยายความหมายของคำากริยาสำาคัญ
ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นคำาว่า กำาลัง จะ ได้ แล้ว ต้อง อย่า จง โปรด ช่วย ควร คงจะ
อาจจะ เป็นต้น เช่น เขาไปแล้ว
โปรดฟังทางนี้ เธออาจจะถูกตำาหนิ ลูกควรเตรียมตัวให้พร้อม เขาคงจะมา จง
แก้ไขงานให้เรียบร้อย
ข้อสังเกต กริยาคำาว่า ถูก ตามปกติจะใช้กับกริยาที่มีความหมายไปในทางไม่ดี
เช่น ถูกตี ถูกดุ ถูกตำาหนิ ถ้าความหมายในทางดีอาจใช้คำาว่า ได้รับ เช่น ได้รับคำา
ชมเชย ได้รับเชิญ เป็นต้น
1.5) กริยาที่ทำาหน้าที่คล้ายนาม (กริยาสภาวมาลา) เป็นคำากริยาที่ทำาหน้าที่
คล้ายกับคำานาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือบทขยายของประโยคก็ได้ เช่น
เขาชอบออกกำาลังกาย (ออกกำาลังกายเป็นคำากริยาที่ทำาหน้าที่คล้ายนาม เป็นกรรม
ของประโยค) กินมากทำาให้อ้วน (กินมากเป็นกริยาที่ทำาหน้าที่เป็นประธานของ
ประโยค)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 4
นอนเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอนเป็นกริยาทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค)
2) หน้าที่ของคำากริยา มีดังนี้
2.1) ทำาหน้าที่เป็นกริยาสำาคัญของประโยค เช่น คนกินข้าว นกบินมาเป็นฝูง
เป็นต้น
2.2) ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น กินมากทำาให้อ้วน เป็นต้น
2.3) ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ฉันชอบเต้นแอร์โรบิกตอนเช้า
เป็นต้น
2.4) ทำาหน้าที่ช่วยขยายกริยาสำาคัญให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น พี่
คงจะกลับบ้านเย็นนี้ เป็นต้น
2.5) ทำาหน้าที่ช่วยขยายคำานามให้เข้าใจเด่นชัดขึ้น เช่น ฉันชอบกิน
ก๋วยเตี๋ยวผัด น้องชายชอบบะหมี่แห้ง เป็นต้น
วิเศษณ์ คือ คำาที่ใช้ขยายคำาอื่น ได้แก่ คำานาม คำาสรรพนาม คำากริยา หรือ
คำาวิเศษณ์ ให้มีความหมายชัดเจนขึ้น
คำาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น 9 ชนิด คือ
1. สักษณวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะ ชนิด ขนาด สี เสียง กลิ่น รส
อาการ เป็นต้น เช่น
ดอกจำาปีมีกลิ่นหอม เจี๊ยบมีรถยนต์คันใหม่ น้อยหน่ามีดอกไม้สีแดง แมวตัวนี้มีขน
นุ่ม ในสังคมมีทั้งคนดีและคนชั่ว แจ๊คชอบทานอาหารเผ็ด
2. กาลวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต เช้า สาย บ่าย
คำ่า เป็นต้น เช่น เงาะจะดูละครบ่ายนี้
ครั้นเวลาคำ่าลมก็พัดแรง คนโบราณชอบดูหนังตะลุง วันสอบนักเรียนมักจะมาเช้า
3. สถานวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกสถานที่หรือระยะทาง ได้แก่คำาว่า ใกล้
ไกล เหนือ ใต้ ขวา ซ้าย หน้า บน หลัง เป็นต้น เช่น โรงเรียนอยู่ไกล เขาอาศัยอยู่
ชั้นล่าง บอยเดินไปทางทิศเหนือ ไก่เป็นสัตว์บก
4. ประมาณวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกจำานวนหรือปริมาณ ได้แก่คำาว่า มาก
น้อย หมด หนึ่ง สอง หลาย ทั้งหมด จุ เป็นต้น เช่น สุนัขที่เลี้ยงไว้กินจุทั้งสิ้น มาโน
ชมีเรือหลายลำา เขาไม่มีโรงเรียนหลายวัน คุณดื่มเบียร์มากไปไม่ดีนะ
5. นิยมวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะแน่นอน ได้แก่คำาว่า นี่ โน่น
นั่น นี้ นั้น โน้น แน่ เอง ทั้งนี้ ทั้งนั้น อย่างนี้ เป็นต้น เช่น กระเป๋านี้ฉันทำาเอง พริก
เองเป็นคนเล่าให้เพื่อนฟัง แก้วนี้ต้องทำาความสะอาดอย่างนี้ ตึกนี้มีคนขายแล้ว
6. อนิยมวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะ ไม่แน่นอน ได้แก่คำาว่า
อันใด อื่น ใด ไย ไหน อะไร เช่นไร เป็นต้น เช่น คนไหนอาบนำ้าก่อนก็ได้ ซื้อขนม
อะไรมาโฟกัสกินได้ทั้งสิน ตี่จะหัวเราะทำาไมก็ช่างเขาเถอะ คนอื่นๆกลับบ้านไปหมด
แล้ว
7. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกเนื้อความเป็นคำาถามหรือความสงสัย
ได้แก่คำาว่า ใด อะไร ไหน ทำาไม เป็นต้น เช่น ผลไม้อะไรที่แน็คซื้อมาให้ฉัน สุนัข
ใครน่ารักจัง นักร้องคนไหนไม่ชอบร้องเพลง การเล่นฟุตบอลมีกติกาอย่างไร
8. ประติชญาวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจา
โต้ตอบกัน ได้แก่คำาว่า จ๋า ค่ะ ครับ ขอรับ ขา วะ จ๊ะ เป็นต้น เช่น หนูจ๊ะรถทัวร์จะ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 5
ออกเดี๋ยวนี้แล้ว คุณตัดเสื้อเองหรือค่ะ คุณแม่ขาหนูทำาจานแตกค่ะ ผมจะไปพบท่าน
ขอรับ
9. ประติวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความปฏิเสธไม่ยอมรับ ได้แก่คำาว่า ไม่
ไม่ได้ หามิได้ บ่ เป็นต้น เช่น
เขาตามหาหล่อนแต่ไม่พบ พี่ไม่ได้แกล้งน้องนะ ความรู้มิใช่ของหาง่ายนะเธอ เธอ
ไม่ปลูกต้นไม้เลย
หน้าที่ของคำาวิเศษณ์ มักจะทำาหน้าที่เป็นส่วยขยายในประโยค
1. ขยายนาม เช่น เด็กดีมีวาจาไพเราะ ห้องเก่าทาสีใหม่ เป็นต้น
2. ขยายคำาสรรพนาน เช่น ท่านทั้งหลายกรุณาพร้อมใจไปเลือกตั้ง เป็นต้น
3. ขยายคำากริยา เช่น อ๊อฟกินอาหารมากเกินไป โอเล่พูดเพราะมาก เป็นต้น
4. ขยายคำาวิเศษณ์ เช่น เขาทำางานหนักมาก ฉันทำาเองจริงๆ เป็นต้น
5. เป็นคำาอกรรมกริยา หรือกริยาที่ไม่ต้องการกรรมได้ด้วย เช่น น้อยหน่าสวยแต่
โฟกัสฉลาด เด็กคนนั้นผอมจัง เป็นต้น
คำาบุพบท คือ คำาที่เชื่อมคำาหรือกลุ่มคำาให้สัมพันธ์กันและเมื่อเชื่อมแล้วทำาให้
ทราบว่า คำา หรือกลุ่มคำาที่เชื่อมกันนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ได้แก่ ใน แก่ จน
ของ ด้วย โดย ฯลฯ
หน้าที่ในการแสดงความสัมพันธ์ของคำาบุพบท
1. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่ เช่น คนในเมือง
2. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเวลา เช่น เขาเปิดไฟจนสว่าง
3. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของ เช่น แหวนวงนี้เป็นของฉัน
4. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเจตนาหรือสิ่งที่มุ่งหวัง เช่น เขาทำาเพื่อลูก
5. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับอาการ เช่น เราเดินไปตามถนน
หลักการใช้คำาบุพบทบางคำา
" กับ" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อาการกำากับกัน อาการเทียบกัน และ
แสดงระดับ เช่น ฉันเห็นกับตา
"แก่" ใช้นำาหน้าคำาที่เป็นฝ่ายรับอาการ เช่น ครูให้รางวัลแก่นักเรียน
"แด่" ใช้แทนตำาว่า "แก่" ในที่เคารพ เช่น นักเรียนมอบพวงมาลัยแด่อาจารย์
"แต่" ใช้ในความหมายว่า จาก ตั้งแต่ เฉพาะ เช่น เขามาแต่บ้าน
"ต่อ" ใช้นำาหน้าแสดงความเกี่ยวข้องกัน ติดต่อกัน เฉพาะหน้าถัดไป เทียบจำานวน
เป็นต้น เช่น เขายื่นคำาร้องต่อศาล
คำาบุพบท เป็นคำาที่ใช้หน้าคำานาม คำาสรรพนาม หรือคำากริยาสภาวมาลา
เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของคำา และประโยคที่อยู่หลังคำาบุพบทว่ามีความเกี่ยวข้อง
กับคำาหรือประโยคที่อยู่ข้างหน้าอย่างไร เช่น ลูกชายของนายแดงเรียนหนังสือไม่
เก่ง แต่ลูกสาวของนายดำาเรียนเก่ง ครูทำางานเพื่อนักเรียน เขาเลี้ยงนกเขา
สำาหรับฟังเสียงขัน
ชนิดของคำาบุพบท
คำาบุพบทแบ่งเป็น 2 ชนิด
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 6
1.คำาบุพบทที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำาต่อคำา เช่น ความสัมพันธ์
ระหว่างคำานามกับคำานาม คำานามกับคำาสรรพนาม คำานามกับคำากริยา คำาสรรพนาม
กับคำาสรรพนาม คำาสรรพนามกับคำากริยาคำากริยากับคำานาม คำากริยากับคำา
สรรพนาม คำากริยากับคำากริยา เพื่อบอกสถานการณ์ให้ชัดเจนดังต่อไปนี้
- บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ ฉันซื้อสวนของนายฉลอง ( นามกับนาม )
บ้านของเขาใหญ่โตแท้ๆ ( นามกับสรรพนาม ) อะไรของเธออยู่ในถุงนี้ ( สรรพ
นามกับสรรพนาม )
- บอกความเกี่ยวข้อง
เธอต้องการมะม่วงในจาน ( นามกับนาม ) พ่อเห็นแก่แม่ ( กริยากับนาม ) ฉัน
ไปกับเขา ( กริยากับสรรพนาม )
- บอกการให้และบอกความประสงค์ แกงหม้อนี้เป็นของสำาหรับใส่บาตร ( นา
มกับกริยา )
พ่อให้รางวัลแก่ฉัน ( นามกับสรรพนาม )
- บอกเวลา เขามาตั้งแต่เช้า ( กริยากับนาม ) เขาอยู่เมืองนอกเมื่อปีที่แล้ว ( น
ามกับนาม )
- บอกสถานที่ เธอมาจากหัวเมือง ( กริยากับนาม )
- บอกความเปรียบเทียบ เขาหนักกว่าฉัน ( กริยากับนาม ) เขาสูงกว่าพ่อ ( ก
ริยากับนาม )
2. คำาบุพบทที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคำาอื่น ส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้
เป็นการทักทาย มักใช้ในคำาประพันธ์ เช่น
ดูกร ดูก้อน ดูราช้าแต่ คำาเหล่านี้ใช้นำาหน้าคำานามหรือสรรพนาม
ดูกร ท่านพราหมณ์ ท่าจงสาธยายมนต์บูชาพระผู้เป็นเจ้าด้วย
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย การเจริญวิปัสสนาเป็นการปฏิบัติธรรมของท่าน
ดูรา สหายเอ๋ย ท่านจงทำาตามคำาที่เราบอกท่านเถิด
ช้าแต่ ท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้ายินดีมากที่ท่านมาร่วมงานในวันนี้
ข้อสังเกตการใช้คำาบุพบท
1. คำาบุพบทต้องนำาหน้าคำานาม คำาสรรพนาม หรือคำากริยาสภาวมาลา
เช่น เขามุ่งหน้าสู่เรือน ป้ากินข้าวด้วยมือ
ทุกคนควรซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
2. คำาบุพบทสามารถละได้และความหมายยังคงเดิมเช่น เขาเป็นลูกฉัน (เขา
เป็นลูกของฉัน) แม่ให้เงินลูก (แม่ให้เงินแก่ลูก )
ครูคนนี้เชี่ยวชาญภาษาไทยมาก ( ครูคนนี้เชี่ยวชาญทางภาษาไทยมาก )
3. ถ้าไม่มีคำานาม หรือคำาสรรพนามตามหลัง คำานั้นจะเป็นคำาวิเศษณ์
เช่น เธออยู่ใน พ่อยืนอยู่ริม เขานั่งหน้า ใครมาก่อน
ฉันอยู่ใกล้แค่นี้เอง
แหน่งของคำาบุพบท
ตำาแหน่งของคำาบุพบท เป็นคำาที่ใช้นำาหน้าคำาอื่นหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคำา
หรือประโยคที่อยู่หลังคำาบุพบท มีความสัมพันธ์กับคำาหรือประโยคข้างหน้า ดังนั้นคำา
บุพบทจะอยู่หน้าคำาต่างๆ ดังนี้
1. นำาหน้าคำานาม เขาเขียนจดหมายด้วยปากกา เขาอยู่ที่บ้านของฉัน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 7
2. นำาหน้าคำาสรรพนาม เขาอยู่กับฉันตลอดเวลา เขาพูดกับท่านเมื่อคืนนี้แล้ว
3. นำาหน้าคำากริยา เขาเห็นแก่กิน โต๊ะตัวนี้จัดสำาหรับอภิปรายคืนนี้
4. นำาหน้าคำาวิเศษณ์ เขาวิ่งมาโดยเร็ว เธอกล่าวโดยซื่อ
สันธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำากับคำา เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อม
ข้อความกับข้อความ หรือข้อความให้สละสลวยคำาสันธานมี 4 ชนิด คือ
1.เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน ได้แก่คำาว่า กับ และ , ทั้ง…และ , ทั้ง…ก็ ,
ครั้น…ก็ , ครั้น…จึง , พอ…ก็
ตัวอย่างเช่น พออ่านหนังสือเสร็จก็เข้านอน พ่อและแม่ทำางานเพื่อลูก ฉันชอบ
ทั้งทะเลและนำ้าตก
ครั้นได้เวลาเธอจึงไปขึ้นเครื่องบิน
2.เชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คำาว่า แต่ , แต่ว่า , ถึง…ก็ , กว่า…ก็
ตัวอย่างเช่น กว่าตำารวจจะมาคนร้ายก็หนีไปแล้ว
เขาอยากมีเงินแต่ไม่ทำางาน ถึงเขาจะโกรธแต่ฉันก็ไม่กลัว เธอไม่สวยแต่ว่า
นิสัยดี
3.เชื่อมใจความเป็นเหตุเป็นผลกัน ได้แก่คำาว่า จึง , เพราะ…จึง , เพราะ
ฉะนั้น…จึงตัวอย่างเช่น
เขาวิ่งเร็วจึงหกล้ม ฉันกลัวรถติดเพราะฉะนั้นฉันจึงออกจากบ้านแต่เช้า
เพราะเธอเรียนดีครูจึงรัก เขาไว้ใจเราให้ทำางานนี้เพราะฉะนั้นเราจะเหลวไหลไม่
ได้
4.เชื่อมใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คำาว่า หรือ หรือไม่ก็ , ไม่
เช่นนั้น ,มิฉะนั้น ตัวอย่างเช่น
เธอต้องทำางานมิฉะนั้นเธอจะถูกไล่ออก ไม่เธอก็ฉันต้องกวาดบ้าน นักเรียนจะ
ทำาการบ้านหรือไม่ก็อ่านหนังสือ
คุณจะทานข้าวหรือก๋วยเตี๋ยว
น้าที่ของคำาสันธาน
1.เชื่อมคำากับคำา เช่น ฉันเลี้ยงแมวและสุนัข นิดกับหน่อยไปโรงเรียน
2.เชื่อมข้อความ เช่น คนเราต้องการปัจจัย 4 ด้วยเหตุนี้ เราจึงต้องประกอบ
อาชีพเพื่อให้ได้เงินมาซื้อ
3.เชื่อมประโยคกับประโยค เช่น พี่สาวสวยแต่น้องฉลาด เพราะเขาขยันจึง
สอบได้
4.เชื่อมความให้สละสลวย เช่น เขาก็เป็นคนดีคนหนึ่งเหมือนกัน คนเราก็มีเจ็บ
ป่วยบ้างเป็นธรรมดา
คำาอุทาน คือ คำาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มัก
จะเป็นคำาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึกและอารมณ์ของผู้พูด เสียนงที่เปล่ง
ออกมาเป็นคำาอุทานนี้ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ
1. เป็นคำา เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น
2. เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย ตายละว้า เป็นต้น
3. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 8
คำาอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. อุทานบอกอาการ ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่างๆของผู้พูด
เช่น
- ร้องเรียก หรือบอกเพื่อให้รู้สึกตัว เช่น แน่น เฮ้ โว้ย เป็นต้น - โกรธเคือง เช่น ชิ
ชะ ดูดู๋ เป็นต้น
- ตกใจ เช่น ตายจริง ว้าย เป็นต้น สงสาร เช่น อนิจจา โถ เป็นต้น โล่งใจ
เช่น เฮ้อ เฮอ เป็นต้น
- ขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน เป็นต้น - ทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เป็นต้น - เยาะเย้ย เช่น
หนอย ชะ เป็นต้น
- ประหม่า เช่น เอ้อ อ้า เป็นต้น - ชักชวน เช่น นะ น่า เป็นต้น
2. อุทานเสริมบท คือ คำาพูดเสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำา หลัง
คำาหรือแทรกกลางคำา เพื่อเน้นความหมาย
ของคำาที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เช่น อาบนำ้าอาบท่า ลืมหูลืมตา กินนำ้ากินท่า ถ้าเนื้อ
ความมีความหมายในทางเดียวกัน เช่น ไม่ดูไม่แล ร้องรำาทำาเพลง เราเรียกคำาเหล่า
นี้ว่า คำาซ้อน

More Related Content

What's hot

Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speechKwan Jai
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..Moo Moo
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speechkrupeatie
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษnaaikawaii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึกpmthan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 

What's hot (18)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Grammar m1
Grammar m1Grammar m1
Grammar m1
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 

Similar to การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย

หน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามหน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามDewry Ys
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าbiew687
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าPoopaNg Suparida
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องThanaporn choochart
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 

Similar to การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย (20)

หน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามหน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนาม
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้า
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้า
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้อง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์นาฏย ศัพท์
นาฏย ศัพท์
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 

การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 1 การจำาแนกชนิดคำาในภาษาไทย คำานาม คือ คำาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และ ลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำานามแบ่งออก เป็น 5 ชนิด คือ 1.สามานยนาม คือ คำานามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำาเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน , รถ , หนังสือ, กล้วย เป็นต้น สามานยนาม บางคำามีคำาย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คน ไทย , รถจักรายาน , หนังสือแบบเรียน , กล้วยหอม เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ดอกไ ม้อยู่ในแจกัน แมวชอบกินปลา 2.วิสามานยนาม คือ คำานามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำา เรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด เช่น ธรรมศาสตร์ , วัด มหาธาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน อิเหนา ได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร 3.ลักษณนาม คือ คำานามที่ทำาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น เช่น รูป , องค์ , กระบอก เป็นต้น ตัวอย่างเช่น คน 6 คน นั่งรถ 2 คน ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี 4.สมุหนาม คือ คำานามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่ รวมกันมากๆ เช่น ฝูงผึ้ง , โขลงช้าง , กองทหาร เป็นต้น ตัวอย่างเช่น กองยุว กาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่ พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี 5.อาการนาม คือ คำาเรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีขนาด จะมีคำาว่า "การ" และ "ค วาม" นำาหน้า เช่น การกิน , กรานอน , การเรียน , ความสวย , ความคิด , ความดี เป็นต้น ตัวอย่างเช่น การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว การเรียนช่วยให้มี ความรู้ ข้อสังเกต คำาว่า "การ" และ "ความ" ถ้านำาหน้าคำาชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำากริยา หรือ วิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา , ความแพ่ง เป็นต้น คำาเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม หน้าที่ของคำานาม 1.ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น น้องร้องเพลง ครูชม นักเรียน นกบิน 2.ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น แมวกินปลา ตำารวจจับผู้ร้าย น้องทำาการบ้าน 3.ทำาหน้าที่เป็นส่วยขยายคำาอื่น เช่น สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า ตุ๊กตาหยก ตัวนี้สวยมาก นายสมควรยามรักษาการเป็นคนเคร่งครัดต่อหน้าที่มาก 4.ทำาหน้าที่ขยายคำากริยา เช่น แม่ไปตลาด น้องอยู่บ้าน เธออ่าน หนังสือเวลาเช้า 5.ทำาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มของคำากริยาบางคำา เช่น เขาเหมือนพ่อ เ ธอคล้ายพี่ วนิดาเป็นครู เธอคือนางสาวไทย มานะสูงเท่ากับคุณพ่อ 6.ทำาหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น เขาเป็นคนเห็นแก่ตัว พ่อนอนบนเตียง
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 2 ปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล 7.ทำาหน้าที่เป็นคำาเรียกขาน เช่น คุณครูคะหนูยังไม่เข้าใจเลขข้อนี้ค่ะ คุณหมอลูกดิฉันจะหายป่วยไหม นายช่างครับผมขอลากิจ 3 วัน คำาสรรพนาม คือ คำาที่ใช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใช้คำาสรรพนาม เพื่อไม่ต้องกล่าวคำานามซำ้าๆ 1) ชนิดของคำาสรรพนาม แบ่งเป็น 7 ประเภท ดังนี้ 1.1) สรรพนามที่ใช้ในการพูด (บุรุษสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้ในการ พูดจา สื่อสารกัน ระหว่างผู้ส่งสาร (ผู้พูด) ผู้รับสาร (ผู้ฟัง) และผู้ที่เรากล่าวถึง มี 3 ชนิด ดังนี้ (1) สรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนผู้ส่งสาร (ผู้พูด) เช่น ฉัน ดิฉัน ผม ข้าพเจ้า เรา หนู เป็นต้น (2) สรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้แทนผู้รับสาร (ผู้ที่พูดด้วย) เช่น ท่าน คุณ เธอ แก ใต้เท้า เป็นต้น (3) สรรพนามบุรุษที่ 3 ใช้แทนผู้ที่กล่าวถึง เช่น ท่าน เขา มัน เธอ แก เป็นต้น 1.2) สรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม)สรรพนามนี้ใช้ แทนนามหรือสรรพนามที่อยู่ข้างหน้าและต้องการจะกล่าวซำ้าอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ ยังใช้เชื่อมประโยคสองประโยคเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น บ้านที่ทาสีขาวเป็นบ้านของเธอ(ที่แทนบ้าน เชื่อมประโยคที่ 1 บ้านทาสีขาว กับ ประโยคที่ 2 บ้านของเธอ) 1.3) สรรพนามบอกความชี้ซำ้า (วิภาคสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้แทน นามที่อยู่ข้างหน้า เมื่อต้องการเอ่ยซำ้า โดยที่ไม่ต้องเอ่ยนามนั้นซำ้าอีก และเพื่อแสดง ความหมายแยกออกเป็นส่วนๆ ได้แก่คำาว่า บ้าง ต่าง กัน ตัวอย่างเช่น นักศึกษาต่างแสดงความคิดเห็น สตรีกลุ่มนั้นทักทายกัน นักกีฬาตัวน้อยบ้างก็ วิ่งบ้างก็กระโดดด้วยความสนุกสนาน 1.4) สรรพนามชี้เฉพาะ (นิยมสรรพนาม) เป็นสรรพนามที่ใช้แทนคำานามที่ กล่าวถึงที่อยู่ เพื่อระบุให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่คำาว่า นี่ นั่น โน่น โน้น ตัวอย่างเช่น นี่เป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปีนี้ นั่นรถจักรายานยนต์ของเธอ 1.5) สรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ ใช้แทนนามที่กล่าวถึงโดยไม่ต้องการคำาตอบ ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ได้แก่คำาว่า ใคร อะไร ที่ไหน ผู้ใด สิ่งใด ใครๆ อะไรๆๆ ใดๆ ตัวอย่างเช่น ใครๆก็พูดเช่นนั้น ใครก็ได้ช่วยชงกาแฟให้หน่อย ใดๆในโลกล้วนอนิจจัง ไม่มีอะไรที่เราทำาไม่ ได้ 1.6) สรรพนามที่เป็นคำาถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทน นามเป็นการถามที่ต้องการคำาตอบ ได้แก่คำาว่า ใคร อะไร ไหน ผู้ใด ตัวอย่างเช่น ใครหยิบหนังสือบนโต๊ะไป อะไรวางอยู่บนเก้าอี้ ไหนปากกาของฉัน ผู้ใดเป็นคนรับโทรศัพท์ 1.7) สรรพนามที่เน้นตามความรู้สึกของผู้พูด สรรพนามชนิดนี้ใช้หลักคำา
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 3 นามเพื่อบอกความรู้สึกของผู้พูดที่มีต่อบุคคล ที่กล่าวถึง ตัวอย่างเช่น คุณพ่อท่านเป็นคนอารมณ์ดี (บอกความรู้สึกยกย่อง) คุณจิตติมาเธอเป็นคนอย่างงี้แหละ (บอกความรู้สึกธรรมดา) 2) หน้าที่ของคำาสรรพนาม 2.1) ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น ใครมา แกมาจากไหน นั่นของ ฉันนะ เป็นต้น 2.2) ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น เธอดูนี่สิ สวยไหม เป็นต้น 2.3) ทำาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น เสื้อของฉันคือนี่ สีฟ้าใสเห็นไหม เป็นต้น 2.4) ทำาหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น เธอเรียนที่ไหน เป็นต้น คำากริยา คือ คำาที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำาของคำานาม และคำา สรรพนามในประโยค คำากริยาบางคำาอาจมี ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำาต้องมีคำาอื่นมาประกอบ และบางคำาต้องไป ประกอบคำาอื่นเพื่อขยายความ 1) ชนิดของคำากริยา คำากริยาแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี้ 1.1) กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ (อกรรมกริยา) เป็นกริยาที่มีความหมาย สมบูรณ์ ชัดเจนในตัวเอง เช่น ครูยืน น้องนั่งบนเก้าอี้ ฝนตกหนัก เด็กๆหัวเราะ คุณลุงกำาลังนอน 1.2) กริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ (สกรรมกริยา) เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมมา รับจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ เช่น แม่ค้าขายผลไม้ น้องตัดกระดาษ ฉันเห็น งูเห่า พ่อซื้อของเล่นมาให้น้อง 1.3) กริยาที่ต้องมีคำามารับ คำาที่มารับไม่ใช่กรรมแต่เป็นส่วนเติมเต็ม (วิก ตรรถกริยา) คือ คำากริยานั้นต้องมี คำานามหรือสรรพนามมาช่วยขยายความหมายให้สมบูรณ์ เช่นคำาว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่าคือ เสมือน ดุจ เช่น พี่ชายของฉันเป็นตำารวจ เธอคือนักแสดงที่ยิ่ง ใหญ่ ลูกดุจแก้วตาของพ่อแม่ แมวคล้ายเสือ 1.4) กริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นคำาที่เติมหน้าคำากริยาหลักในประโยค เพื่อช่วยขยายความหมายของคำากริยาสำาคัญ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นคำาว่า กำาลัง จะ ได้ แล้ว ต้อง อย่า จง โปรด ช่วย ควร คงจะ อาจจะ เป็นต้น เช่น เขาไปแล้ว โปรดฟังทางนี้ เธออาจจะถูกตำาหนิ ลูกควรเตรียมตัวให้พร้อม เขาคงจะมา จง แก้ไขงานให้เรียบร้อย ข้อสังเกต กริยาคำาว่า ถูก ตามปกติจะใช้กับกริยาที่มีความหมายไปในทางไม่ดี เช่น ถูกตี ถูกดุ ถูกตำาหนิ ถ้าความหมายในทางดีอาจใช้คำาว่า ได้รับ เช่น ได้รับคำา ชมเชย ได้รับเชิญ เป็นต้น 1.5) กริยาที่ทำาหน้าที่คล้ายนาม (กริยาสภาวมาลา) เป็นคำากริยาที่ทำาหน้าที่ คล้ายกับคำานาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือบทขยายของประโยคก็ได้ เช่น เขาชอบออกกำาลังกาย (ออกกำาลังกายเป็นคำากริยาที่ทำาหน้าที่คล้ายนาม เป็นกรรม ของประโยค) กินมากทำาให้อ้วน (กินมากเป็นกริยาที่ทำาหน้าที่เป็นประธานของ ประโยค)
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 4 นอนเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอนเป็นกริยาทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค) 2) หน้าที่ของคำากริยา มีดังนี้ 2.1) ทำาหน้าที่เป็นกริยาสำาคัญของประโยค เช่น คนกินข้าว นกบินมาเป็นฝูง เป็นต้น 2.2) ทำาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น กินมากทำาให้อ้วน เป็นต้น 2.3) ทำาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ฉันชอบเต้นแอร์โรบิกตอนเช้า เป็นต้น 2.4) ทำาหน้าที่ช่วยขยายกริยาสำาคัญให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น พี่ คงจะกลับบ้านเย็นนี้ เป็นต้น 2.5) ทำาหน้าที่ช่วยขยายคำานามให้เข้าใจเด่นชัดขึ้น เช่น ฉันชอบกิน ก๋วยเตี๋ยวผัด น้องชายชอบบะหมี่แห้ง เป็นต้น วิเศษณ์ คือ คำาที่ใช้ขยายคำาอื่น ได้แก่ คำานาม คำาสรรพนาม คำากริยา หรือ คำาวิเศษณ์ ให้มีความหมายชัดเจนขึ้น คำาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น 9 ชนิด คือ 1. สักษณวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะ ชนิด ขนาด สี เสียง กลิ่น รส อาการ เป็นต้น เช่น ดอกจำาปีมีกลิ่นหอม เจี๊ยบมีรถยนต์คันใหม่ น้อยหน่ามีดอกไม้สีแดง แมวตัวนี้มีขน นุ่ม ในสังคมมีทั้งคนดีและคนชั่ว แจ๊คชอบทานอาหารเผ็ด 2. กาลวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต เช้า สาย บ่าย คำ่า เป็นต้น เช่น เงาะจะดูละครบ่ายนี้ ครั้นเวลาคำ่าลมก็พัดแรง คนโบราณชอบดูหนังตะลุง วันสอบนักเรียนมักจะมาเช้า 3. สถานวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกสถานที่หรือระยะทาง ได้แก่คำาว่า ใกล้ ไกล เหนือ ใต้ ขวา ซ้าย หน้า บน หลัง เป็นต้น เช่น โรงเรียนอยู่ไกล เขาอาศัยอยู่ ชั้นล่าง บอยเดินไปทางทิศเหนือ ไก่เป็นสัตว์บก 4. ประมาณวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกจำานวนหรือปริมาณ ได้แก่คำาว่า มาก น้อย หมด หนึ่ง สอง หลาย ทั้งหมด จุ เป็นต้น เช่น สุนัขที่เลี้ยงไว้กินจุทั้งสิ้น มาโน ชมีเรือหลายลำา เขาไม่มีโรงเรียนหลายวัน คุณดื่มเบียร์มากไปไม่ดีนะ 5. นิยมวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะแน่นอน ได้แก่คำาว่า นี่ โน่น นั่น นี้ นั้น โน้น แน่ เอง ทั้งนี้ ทั้งนั้น อย่างนี้ เป็นต้น เช่น กระเป๋านี้ฉันทำาเอง พริก เองเป็นคนเล่าให้เพื่อนฟัง แก้วนี้ต้องทำาความสะอาดอย่างนี้ ตึกนี้มีคนขายแล้ว 6. อนิยมวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะ ไม่แน่นอน ได้แก่คำาว่า อันใด อื่น ใด ไย ไหน อะไร เช่นไร เป็นต้น เช่น คนไหนอาบนำ้าก่อนก็ได้ ซื้อขนม อะไรมาโฟกัสกินได้ทั้งสิน ตี่จะหัวเราะทำาไมก็ช่างเขาเถอะ คนอื่นๆกลับบ้านไปหมด แล้ว 7. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกเนื้อความเป็นคำาถามหรือความสงสัย ได้แก่คำาว่า ใด อะไร ไหน ทำาไม เป็นต้น เช่น ผลไม้อะไรที่แน็คซื้อมาให้ฉัน สุนัข ใครน่ารักจัง นักร้องคนไหนไม่ชอบร้องเพลง การเล่นฟุตบอลมีกติกาอย่างไร 8. ประติชญาวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจา โต้ตอบกัน ได้แก่คำาว่า จ๋า ค่ะ ครับ ขอรับ ขา วะ จ๊ะ เป็นต้น เช่น หนูจ๊ะรถทัวร์จะ
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 5 ออกเดี๋ยวนี้แล้ว คุณตัดเสื้อเองหรือค่ะ คุณแม่ขาหนูทำาจานแตกค่ะ ผมจะไปพบท่าน ขอรับ 9. ประติวิเศษณ์ คือ คำาวิเศษณ์ที่บอกความปฏิเสธไม่ยอมรับ ได้แก่คำาว่า ไม่ ไม่ได้ หามิได้ บ่ เป็นต้น เช่น เขาตามหาหล่อนแต่ไม่พบ พี่ไม่ได้แกล้งน้องนะ ความรู้มิใช่ของหาง่ายนะเธอ เธอ ไม่ปลูกต้นไม้เลย หน้าที่ของคำาวิเศษณ์ มักจะทำาหน้าที่เป็นส่วยขยายในประโยค 1. ขยายนาม เช่น เด็กดีมีวาจาไพเราะ ห้องเก่าทาสีใหม่ เป็นต้น 2. ขยายคำาสรรพนาน เช่น ท่านทั้งหลายกรุณาพร้อมใจไปเลือกตั้ง เป็นต้น 3. ขยายคำากริยา เช่น อ๊อฟกินอาหารมากเกินไป โอเล่พูดเพราะมาก เป็นต้น 4. ขยายคำาวิเศษณ์ เช่น เขาทำางานหนักมาก ฉันทำาเองจริงๆ เป็นต้น 5. เป็นคำาอกรรมกริยา หรือกริยาที่ไม่ต้องการกรรมได้ด้วย เช่น น้อยหน่าสวยแต่ โฟกัสฉลาด เด็กคนนั้นผอมจัง เป็นต้น คำาบุพบท คือ คำาที่เชื่อมคำาหรือกลุ่มคำาให้สัมพันธ์กันและเมื่อเชื่อมแล้วทำาให้ ทราบว่า คำา หรือกลุ่มคำาที่เชื่อมกันนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ได้แก่ ใน แก่ จน ของ ด้วย โดย ฯลฯ หน้าที่ในการแสดงความสัมพันธ์ของคำาบุพบท 1. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่ เช่น คนในเมือง 2. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเวลา เช่น เขาเปิดไฟจนสว่าง 3. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของ เช่น แหวนวงนี้เป็นของฉัน 4. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเจตนาหรือสิ่งที่มุ่งหวัง เช่น เขาทำาเพื่อลูก 5. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับอาการ เช่น เราเดินไปตามถนน หลักการใช้คำาบุพบทบางคำา " กับ" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อาการกำากับกัน อาการเทียบกัน และ แสดงระดับ เช่น ฉันเห็นกับตา "แก่" ใช้นำาหน้าคำาที่เป็นฝ่ายรับอาการ เช่น ครูให้รางวัลแก่นักเรียน "แด่" ใช้แทนตำาว่า "แก่" ในที่เคารพ เช่น นักเรียนมอบพวงมาลัยแด่อาจารย์ "แต่" ใช้ในความหมายว่า จาก ตั้งแต่ เฉพาะ เช่น เขามาแต่บ้าน "ต่อ" ใช้นำาหน้าแสดงความเกี่ยวข้องกัน ติดต่อกัน เฉพาะหน้าถัดไป เทียบจำานวน เป็นต้น เช่น เขายื่นคำาร้องต่อศาล คำาบุพบท เป็นคำาที่ใช้หน้าคำานาม คำาสรรพนาม หรือคำากริยาสภาวมาลา เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของคำา และประโยคที่อยู่หลังคำาบุพบทว่ามีความเกี่ยวข้อง กับคำาหรือประโยคที่อยู่ข้างหน้าอย่างไร เช่น ลูกชายของนายแดงเรียนหนังสือไม่ เก่ง แต่ลูกสาวของนายดำาเรียนเก่ง ครูทำางานเพื่อนักเรียน เขาเลี้ยงนกเขา สำาหรับฟังเสียงขัน ชนิดของคำาบุพบท คำาบุพบทแบ่งเป็น 2 ชนิด
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 6 1.คำาบุพบทที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำาต่อคำา เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างคำานามกับคำานาม คำานามกับคำาสรรพนาม คำานามกับคำากริยา คำาสรรพนาม กับคำาสรรพนาม คำาสรรพนามกับคำากริยาคำากริยากับคำานาม คำากริยากับคำา สรรพนาม คำากริยากับคำากริยา เพื่อบอกสถานการณ์ให้ชัดเจนดังต่อไปนี้ - บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ ฉันซื้อสวนของนายฉลอง ( นามกับนาม ) บ้านของเขาใหญ่โตแท้ๆ ( นามกับสรรพนาม ) อะไรของเธออยู่ในถุงนี้ ( สรรพ นามกับสรรพนาม ) - บอกความเกี่ยวข้อง เธอต้องการมะม่วงในจาน ( นามกับนาม ) พ่อเห็นแก่แม่ ( กริยากับนาม ) ฉัน ไปกับเขา ( กริยากับสรรพนาม ) - บอกการให้และบอกความประสงค์ แกงหม้อนี้เป็นของสำาหรับใส่บาตร ( นา มกับกริยา ) พ่อให้รางวัลแก่ฉัน ( นามกับสรรพนาม ) - บอกเวลา เขามาตั้งแต่เช้า ( กริยากับนาม ) เขาอยู่เมืองนอกเมื่อปีที่แล้ว ( น ามกับนาม ) - บอกสถานที่ เธอมาจากหัวเมือง ( กริยากับนาม ) - บอกความเปรียบเทียบ เขาหนักกว่าฉัน ( กริยากับนาม ) เขาสูงกว่าพ่อ ( ก ริยากับนาม ) 2. คำาบุพบทที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคำาอื่น ส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้ เป็นการทักทาย มักใช้ในคำาประพันธ์ เช่น ดูกร ดูก้อน ดูราช้าแต่ คำาเหล่านี้ใช้นำาหน้าคำานามหรือสรรพนาม ดูกร ท่านพราหมณ์ ท่าจงสาธยายมนต์บูชาพระผู้เป็นเจ้าด้วย ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย การเจริญวิปัสสนาเป็นการปฏิบัติธรรมของท่าน ดูรา สหายเอ๋ย ท่านจงทำาตามคำาที่เราบอกท่านเถิด ช้าแต่ ท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้ายินดีมากที่ท่านมาร่วมงานในวันนี้ ข้อสังเกตการใช้คำาบุพบท 1. คำาบุพบทต้องนำาหน้าคำานาม คำาสรรพนาม หรือคำากริยาสภาวมาลา เช่น เขามุ่งหน้าสู่เรือน ป้ากินข้าวด้วยมือ ทุกคนควรซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ 2. คำาบุพบทสามารถละได้และความหมายยังคงเดิมเช่น เขาเป็นลูกฉัน (เขา เป็นลูกของฉัน) แม่ให้เงินลูก (แม่ให้เงินแก่ลูก ) ครูคนนี้เชี่ยวชาญภาษาไทยมาก ( ครูคนนี้เชี่ยวชาญทางภาษาไทยมาก ) 3. ถ้าไม่มีคำานาม หรือคำาสรรพนามตามหลัง คำานั้นจะเป็นคำาวิเศษณ์ เช่น เธออยู่ใน พ่อยืนอยู่ริม เขานั่งหน้า ใครมาก่อน ฉันอยู่ใกล้แค่นี้เอง แหน่งของคำาบุพบท ตำาแหน่งของคำาบุพบท เป็นคำาที่ใช้นำาหน้าคำาอื่นหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคำา หรือประโยคที่อยู่หลังคำาบุพบท มีความสัมพันธ์กับคำาหรือประโยคข้างหน้า ดังนั้นคำา บุพบทจะอยู่หน้าคำาต่างๆ ดังนี้ 1. นำาหน้าคำานาม เขาเขียนจดหมายด้วยปากกา เขาอยู่ที่บ้านของฉัน
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 7 2. นำาหน้าคำาสรรพนาม เขาอยู่กับฉันตลอดเวลา เขาพูดกับท่านเมื่อคืนนี้แล้ว 3. นำาหน้าคำากริยา เขาเห็นแก่กิน โต๊ะตัวนี้จัดสำาหรับอภิปรายคืนนี้ 4. นำาหน้าคำาวิเศษณ์ เขาวิ่งมาโดยเร็ว เธอกล่าวโดยซื่อ สันธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำากับคำา เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อม ข้อความกับข้อความ หรือข้อความให้สละสลวยคำาสันธานมี 4 ชนิด คือ 1.เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน ได้แก่คำาว่า กับ และ , ทั้ง…และ , ทั้ง…ก็ , ครั้น…ก็ , ครั้น…จึง , พอ…ก็ ตัวอย่างเช่น พออ่านหนังสือเสร็จก็เข้านอน พ่อและแม่ทำางานเพื่อลูก ฉันชอบ ทั้งทะเลและนำ้าตก ครั้นได้เวลาเธอจึงไปขึ้นเครื่องบิน 2.เชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คำาว่า แต่ , แต่ว่า , ถึง…ก็ , กว่า…ก็ ตัวอย่างเช่น กว่าตำารวจจะมาคนร้ายก็หนีไปแล้ว เขาอยากมีเงินแต่ไม่ทำางาน ถึงเขาจะโกรธแต่ฉันก็ไม่กลัว เธอไม่สวยแต่ว่า นิสัยดี 3.เชื่อมใจความเป็นเหตุเป็นผลกัน ได้แก่คำาว่า จึง , เพราะ…จึง , เพราะ ฉะนั้น…จึงตัวอย่างเช่น เขาวิ่งเร็วจึงหกล้ม ฉันกลัวรถติดเพราะฉะนั้นฉันจึงออกจากบ้านแต่เช้า เพราะเธอเรียนดีครูจึงรัก เขาไว้ใจเราให้ทำางานนี้เพราะฉะนั้นเราจะเหลวไหลไม่ ได้ 4.เชื่อมใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คำาว่า หรือ หรือไม่ก็ , ไม่ เช่นนั้น ,มิฉะนั้น ตัวอย่างเช่น เธอต้องทำางานมิฉะนั้นเธอจะถูกไล่ออก ไม่เธอก็ฉันต้องกวาดบ้าน นักเรียนจะ ทำาการบ้านหรือไม่ก็อ่านหนังสือ คุณจะทานข้าวหรือก๋วยเตี๋ยว น้าที่ของคำาสันธาน 1.เชื่อมคำากับคำา เช่น ฉันเลี้ยงแมวและสุนัข นิดกับหน่อยไปโรงเรียน 2.เชื่อมข้อความ เช่น คนเราต้องการปัจจัย 4 ด้วยเหตุนี้ เราจึงต้องประกอบ อาชีพเพื่อให้ได้เงินมาซื้อ 3.เชื่อมประโยคกับประโยค เช่น พี่สาวสวยแต่น้องฉลาด เพราะเขาขยันจึง สอบได้ 4.เชื่อมความให้สละสลวย เช่น เขาก็เป็นคนดีคนหนึ่งเหมือนกัน คนเราก็มีเจ็บ ป่วยบ้างเป็นธรรมดา คำาอุทาน คือ คำาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มัก จะเป็นคำาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึกและอารมณ์ของผู้พูด เสียนงที่เปล่ง ออกมาเป็นคำาอุทานนี้ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 1. เป็นคำา เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น 2. เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย ตายละว้า เป็นต้น 3. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ชนิดคำาในภาษาไทย หน้า 8 คำาอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. อุทานบอกอาการ ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่างๆของผู้พูด เช่น - ร้องเรียก หรือบอกเพื่อให้รู้สึกตัว เช่น แน่น เฮ้ โว้ย เป็นต้น - โกรธเคือง เช่น ชิ ชะ ดูดู๋ เป็นต้น - ตกใจ เช่น ตายจริง ว้าย เป็นต้น สงสาร เช่น อนิจจา โถ เป็นต้น โล่งใจ เช่น เฮ้อ เฮอ เป็นต้น - ขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน เป็นต้น - ทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เป็นต้น - เยาะเย้ย เช่น หนอย ชะ เป็นต้น - ประหม่า เช่น เอ้อ อ้า เป็นต้น - ชักชวน เช่น นะ น่า เป็นต้น 2. อุทานเสริมบท คือ คำาพูดเสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำา หลัง คำาหรือแทรกกลางคำา เพื่อเน้นความหมาย ของคำาที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เช่น อาบนำ้าอาบท่า ลืมหูลืมตา กินนำ้ากินท่า ถ้าเนื้อ ความมีความหมายในทางเดียวกัน เช่น ไม่ดูไม่แล ร้องรำาทำาเพลง เราเรียกคำาเหล่า นี้ว่า คำาซ้อน