SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง... การสะกดคำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตราตัวสะกดที่ใช้ตัวสะกดตัวเดียวซึ่งจะเป็นตัวสะกดที่ตรงแม่มีอยู่ ๔ มาตรา   คือ ๑ . แม่กง ได้แก่คำที่มี ง  เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น โขยง ยุง ถึง จริง จูง ฯลฯ ตัวสะกด  หมายถึง  พยัญชนะที่ใช้ในการบังคับเสียง ทำหน้าที่บังคับเสียงท้ายคำให้มีเสียง มาตราตัวสะกด ตามต้องการ เราแบ่งตัวสะกดออกเป็นมาตราต่างๆ ได้ ๘  มาตรา ซึ่งมาตราตัวสะกดบางมาตรา ใช้พยัญชนะเพียงตัวเดียวในการบังคับเสียง แต่บางมาตราตัวสะกดก็มีพยัญชนะในการบังคับ เสียงหลายตัว ดังต่อไปนี้ ๒ . แม่กม ได้แก่คำที่มี ม  เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น ร่ม หอม แก้ม เชื่อม เกษม ฯลฯ ๓ . แม่เกย ได้แก่คำที่มี  ย  เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น สวย ขโมย ทนาย ปลาย เฉลย ฯลฯ ๔ . แม่เกอว ได้แก่คำที่มี ว  เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น แก้ว ผิว หนาว มะนาว ว่าว ฯลฯ
มาตราตัวสะกดที่มีตัวสะกดในมาตราเดียวกันหลายตัว เพราะออกเสียงเหมือน เป็นตัวสะกดเดียวกัน เรียกว่า ตัวสะกดไม่ตรงแม่ มีอยู่ ๔ มาตรา คือ ๕ . แม่กก ได้แก่คำทีมี ก เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน ก สะกด รวมมีอยู่ ๔ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ ก เป็นตัวสะกด เช่น นก เลือก รัก ฯลฯ ข เป็นตัวสะกด เช่น เลข สุข สุนัข ฯลฯ   ค เป็นตัวสะกด เช่น ภาค วรรค ฯลฯ ฆ เป็นตัวสะกด เช่น เมฆ มัฆวาน ฯลฯ
๖ . แม่กด ได้แก่คำที่ ด เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน ด สะกด รวมมีอยู่ ๑๖ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ ด เป็นตัวสะกด เช่น มด เผ็ด จัด ฯลฯ ช เป็นตัวสะกด เช่น บวช ราชการ คชสาร ฯลฯ ซ เป็นตัวสะกด เช่น ก๊าซ ฯลฯ ฎ เป็นตัวสะกด เช่น กฎหมาย ฯลฯ ฏ เป็นตัวสะกด เช่น ปรากฏ กบฏ นาฏศิลป์ ฯลฯ ฐ เป็นตัวสะกด เช่น อิฐ รัฐบาล ประเสริฐ ฯลฯ ฑ เป็นตัวสะกด เช่น ครุฑ ฯลฯ ฒ เป็นตัวสะกด เช่น วัฒนธรรม พัฒนา ฯลฯ ต เป็นตัวสะกด เช่น สุภาษิต อนาคต อาฆาต ฯลฯ
ถ เป็นตัวสะกด เช่น รถ สามารถ ปรารถนา ฯลฯ ท เป็นตัวสะกด เช่น บทบาท ฤทธิ์ ฯลฯ ธ เป็นตัวสะกด เช่น โกรธ พุธ อาวุธ ฯลฯ ศ เป็นตัวสะกด เช่น ทิศ เลิศ อากาศ ฯลฯ ษ เป็นตัวสะกด เช่น โทษ เศษผง กระดาษ ฯลฯ ส เป็นตัวสะกด เช่น โอกาส รส พัสดุ ฯลฯ ๗ . แม่กบ ได้แก่คำที่มี บ เป็นตัวสะกด หรือตัวที่ออกเสียงเหมือน บ สะกด รวมมีอยู่ ๕ ตัว ซึ่งได้   แก่พยัญชนะต่อไปนี้ บ เป็นตัวสะกด เช่น เกือบ รับ ทราบ ฯลฯ ป เป็นตัวสะกด เช่น ธูป บาป สาป ฯลฯ
พ เป็นตัวสะกด เช่น ภาพ ศพ  ภพ ฯลฯ ฟ เป็นตัวสะกด เช่น กราฟ ยีราฟ ฯลฯ ภ เป็นตัวสะกด เช่น ลาภ โลภ ปรารภ ฯลฯ ๘ . แม่กน ได้แก่คำที่มี น เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน น สะกด รวมมีอยู่ ๖ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ น เป็นตัวสะกด เช่น สอน เขียน เหมือน ฯลฯ  ญ เป็นตัวสะกด เช่น ชำนาญ กล้าหาญ บัญชี ฯลฯ ณ เป็นตัวสะกด เช่น บริเวณ วิญญาณ คุณ ฯลฯ ร เป็นตัวสะกด เช่น อักษร อวยพร เณร ฯลฯ  ล เป็นตัวสะกด เช่น จักรวาล พาล ผล กล ฯลฯ ฬ เป็นตัวสะกด เช่น ปลาวาฬ กาฬโรค ฯลฯ
พยางค์ที่ออกเสียงสระ    ออ    ได้แก่       ( นิรันดร     จรลี    ทรชน    นรสิงห์   วรลักษณ์   หรดี   บริวาร )   พยางค์ที่ออกเสียง    อำ     ได้แก่     ( อมฤต    อำมฤต    อมหิต    อมรินทร์ )   พยางค์ที่ออกเสียง    ใอ   ( ไม้ม้วน )     นอกเหนือจาก    20   คำนี้ให้ใช้    สระไอ    ( ไม้มลาย )          1.  ใช้สระไอ    ไม้ม้วน    มี    20   คำ   คือ                 ( ใกล้    ใคร    ใคร่    ใจ    ใช่    ใช้    ใด    ใต้    ใน    ใบ    ใบ้    ใฝ่    สะใภ้   ใส    ใส่    ให้    ใหญ่    ใหม่    ใหล )
                                   คำที่มี    ญ    สะกด    มี    46   คำ    คือ                         ลำเค็ญครวญเข็ญใจ                       ควาญช้างไปหานงคราญ                เชิญขวัญเพ็ญสำราญ                               ผลาญรำคาญลาญระทม                         เผอิญเผชิญหาญ                            เหรียญรำบาญอัญขยม                รบราญสราญชม                                      ดอกอัญชันอัญเชิญเทอญ                             ประจญประจัญบาน                         ผจญการกิจบังเอิญ                 สำคัญหมั่นเจริญ                                     ถือกุญแจรัญจวนใจ                         รามัญมอญจำเริญ                           เขาสรรเสริญไม่จัญไร                 ชำนาญชาญเกรียงไกร                             เร่งผจัญตามบัญชา                         จรูญบำเพ็ญยิ่ง                               บำนาญสิ่งสะคราญตา                 ประมวญชวนกันมา                                  สูบกัญชาไม่ดีเลย .    
การเขียน    บัน    และ    บรร                 คำไทยที่ใช้    บัน    นำหน้า    คำไทยที่ปรากฏนอกจากกลอนนี้ให้ใช้    บรร                           บันดาลลงบันได                         บันทึกให้ดูจงดี                  รื่นเริงบันเทิงมี                                      เสียงบันลือสนั่นดัง                           บันโดย   บันโหยให้                       บันเหินไปจากรวงรัง                  บันทึงถึงความหลัง                                 บันเดินนั่งนอนบันดล                              บันกวดเอาลวดรัด                         บันจวบจัดตกแต่งตน                  คำ    บัน    นั้น   ฉงน                                    ระวังปน    กับ    ร   -  หัน .               
ตัว    ทร    ที่    ออกเสียง    ซ       มีใช้อยู่    17   คำ                                                    ทรวดทรงทราบทรามทราย              ทรุดโทรมหมายนกอินทรี                  มัทรี    อินทรีย์มี                                      เทริด    นนทรี    พุทราเพรา                           ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด                 โทรมนัสฉะเชิงเทรา                  ตัว    ทร    เหล่านี้เรา                                  ออกสำเนียงเป็นเสียง    ซ     คำไทยที่ใช้    จ    สะกด                            ตำรวจตรวจคนเท็จ                        เสร็จสำเร็จระเห็จไป                  สมเด็จเสด็จไหน                                    ตรวจตราไวดุจนายงาน                            อำนาจอาจบำเหน็จ                       จรวดระเห็จเผด็จการ                   ฉกาจรังเกียจวาน                                   คนเกียจคร้านไม่สู้ดี                            แก้วเก็จทำเก่งกาจ                        ประดุจชาติทรพี                   โสรจสรงลงวารี                                     กำเหน็จนี้ใช้ตัว    จ .
คำที่ใช้    ช    สะกด    มีอยู่คำเดียว    คือ    กริช คำที่ใช้    ร    สะกด                       กำธร      จรรโจษ    จรรโลง    สรรเสริญ    อรชร    พรรลาย    พรรเอิญ    ควร    ประยูร    ระเมียร    ละคร    พรรดึก คำไทยที่ใช้    ตัว    ล    สะกด    เช่น                               ตำบลยุบลสรวล              ยลสำรวลนวลกำนัล                      บันดาลในบันดล                       ค่ากำนลของกำนัล                               ระบิลกบิลแบบ                กลทางแคบเข้าเคียมคัล                       ดลใจให้รางวัล                        ปีขาลบันเดินเมิลมอง .        คำไทยที่ใช้    ส    สะกด      เช่น        จรัส    จรส    จำรัส    ดำรัส    ตรัส    ตรัสรู้       คำไทยที่ใช้    ง    สะกด   ต่อไปนี้ไม่ต้องมี    ค    การันต์      ( คำพวกนี้มักเขียนผิดเสมอ )                         จำนง     ชงโค     ดำรง    ธำรง    ประมง    ประโมง    พะทำมะรง    พะอง    สะอาง   สำอาง  
ข้อสังเกต ๑ . ถ้าคำใดไม่มีตัวสะกด จัดอยู่ในมาตราแม่ ก . กา ทั้งหมดรวมทั้งตัว อ ด้วย เช่น พ่อ เสือ ฯลฯ ๒ . พยัญชนะที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดในภาษาไทยปัจจุบันมีอยู่ ๘ ตัว คือ ต ฑ ฉ ฌ ผ ฝ ห ฮ ๓ . ตัว ซ และ ฟ มักใช้สะกดคำในภาษาอื่น เช่น ก๊าซ กราฟ ยีราฟ ฯลฯ แนวคิด ตัวสะกด เป็นพยัญชนะที่ใช้บังคับเสียงท้ายคำทำให้มีเสียงตามที่ต้องการ มาตราตัวสะกดบางมาตราใช้ตัวสะกดตรงแม่ บางมาตราใช้ตัวสะกดไม่ตรงแม่ ตัวสะกด ทำให้เกิดเสียงต่างๆขึ้น เพื่อใช้เป็นพื้นฐานสำคัญในการอ่านและเขียนให้ตรงตามเสียงที่ต้องการ
ข้อสังเกตในการใช้พยัญชนะ การใช้พยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัวให้ถูกต้อง เราควรมีความรู้ในการแบ่งพยัญชนะออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้  ๑ . พยัญชนะกลาง คือ พยัญชนะที่ใช้ทั่วไป ทั้งคำไทยแท้ คำที่มาจากภาบาลี สันสกฤต และภาษาอื่นๆ มี ๒๑ ตัว คือ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห  ๒ . พยัญชนะเดิม คือ พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาลีสันสกฤตและคำไทยบางคำ มี ๑๓ ตัว คือ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ ๓ . พยัญชนะเติม คือ พยัญชนะที่ใช้เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่ และคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ  ( เฉพาะตัว ฎ ด บ อ )  และคำที่มาจากภาษาอื่น มี ๑๐ ตัว คือ ข . ขวด ค . คน  ( เลิกใช้แล้ว )  ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ
การใช้พยัญชนะต้น ๑ . คำไทยแท้ ปกติจะใช้พยัญชนะกลางและพยัญชนะเติม ที่ใช้พยัญชนะเดิมมีเพียงไม่กี่คำ เช่น ฆ่า เฆี่ยน ฆ้อง ระฆัง ธง เสภา เศร้า ศึก ๒ . คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่บาลีสันสกฤต มักใช้พยัญชนะกลางและพยัญชนะเติม เช่น ตำรวจ คอมพิวเตอร์ เซนติเมตร ไฮโดรเจน ๓ . คำที่มาจากภาษาลีสันสกฤต อาจใช้พยัญชนะกลาง พยัญชนะเดิม และพยัญชนะเติม แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ ไม่มีที่ใช้

More Related Content

What's hot

แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
Goy Saranghae
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
Itt Bandhudhara
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อzomyoop
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
ปรัชญา ขมิ้นเขียว
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
kruthai40
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
Aunop Nop
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกchompouou
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
chatchaisukhum1
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดmontanan
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
krupanida sornkheang
 

What's hot (20)

แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อ
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กก
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 

Similar to Kam

Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
sujira tapthong
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒Boom Beautymagic
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
Piyarerk Bunkoson
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Wataustin Austin
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80Rose Banioki
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Tongsamut vorasan
 

Similar to Kam (20)

Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 

More from sa

Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programmingsa
 
Network
NetworkNetwork
Networksa
 
Logic
LogicLogic
Logicsa
 
Internet
InternetInternet
Internetsa
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
Database
DatabaseDatabase
Databasesa
 
Base
BaseBase
Basesa
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 

More from sa (10)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Base
BaseBase
Base
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 

Kam

  • 1.
  • 2. มาตราตัวสะกดที่ใช้ตัวสะกดตัวเดียวซึ่งจะเป็นตัวสะกดที่ตรงแม่มีอยู่ ๔ มาตรา คือ ๑ . แม่กง ได้แก่คำที่มี ง เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น โขยง ยุง ถึง จริง จูง ฯลฯ ตัวสะกด หมายถึง พยัญชนะที่ใช้ในการบังคับเสียง ทำหน้าที่บังคับเสียงท้ายคำให้มีเสียง มาตราตัวสะกด ตามต้องการ เราแบ่งตัวสะกดออกเป็นมาตราต่างๆ ได้ ๘ มาตรา ซึ่งมาตราตัวสะกดบางมาตรา ใช้พยัญชนะเพียงตัวเดียวในการบังคับเสียง แต่บางมาตราตัวสะกดก็มีพยัญชนะในการบังคับ เสียงหลายตัว ดังต่อไปนี้ ๒ . แม่กม ได้แก่คำที่มี ม เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น ร่ม หอม แก้ม เชื่อม เกษม ฯลฯ ๓ . แม่เกย ได้แก่คำที่มี ย เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น สวย ขโมย ทนาย ปลาย เฉลย ฯลฯ ๔ . แม่เกอว ได้แก่คำที่มี ว เป็นตัวสะกด ตัวอย่างเช่น แก้ว ผิว หนาว มะนาว ว่าว ฯลฯ
  • 3. มาตราตัวสะกดที่มีตัวสะกดในมาตราเดียวกันหลายตัว เพราะออกเสียงเหมือน เป็นตัวสะกดเดียวกัน เรียกว่า ตัวสะกดไม่ตรงแม่ มีอยู่ ๔ มาตรา คือ ๕ . แม่กก ได้แก่คำทีมี ก เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน ก สะกด รวมมีอยู่ ๔ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ ก เป็นตัวสะกด เช่น นก เลือก รัก ฯลฯ ข เป็นตัวสะกด เช่น เลข สุข สุนัข ฯลฯ ค เป็นตัวสะกด เช่น ภาค วรรค ฯลฯ ฆ เป็นตัวสะกด เช่น เมฆ มัฆวาน ฯลฯ
  • 4. ๖ . แม่กด ได้แก่คำที่ ด เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน ด สะกด รวมมีอยู่ ๑๖ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ ด เป็นตัวสะกด เช่น มด เผ็ด จัด ฯลฯ ช เป็นตัวสะกด เช่น บวช ราชการ คชสาร ฯลฯ ซ เป็นตัวสะกด เช่น ก๊าซ ฯลฯ ฎ เป็นตัวสะกด เช่น กฎหมาย ฯลฯ ฏ เป็นตัวสะกด เช่น ปรากฏ กบฏ นาฏศิลป์ ฯลฯ ฐ เป็นตัวสะกด เช่น อิฐ รัฐบาล ประเสริฐ ฯลฯ ฑ เป็นตัวสะกด เช่น ครุฑ ฯลฯ ฒ เป็นตัวสะกด เช่น วัฒนธรรม พัฒนา ฯลฯ ต เป็นตัวสะกด เช่น สุภาษิต อนาคต อาฆาต ฯลฯ
  • 5. ถ เป็นตัวสะกด เช่น รถ สามารถ ปรารถนา ฯลฯ ท เป็นตัวสะกด เช่น บทบาท ฤทธิ์ ฯลฯ ธ เป็นตัวสะกด เช่น โกรธ พุธ อาวุธ ฯลฯ ศ เป็นตัวสะกด เช่น ทิศ เลิศ อากาศ ฯลฯ ษ เป็นตัวสะกด เช่น โทษ เศษผง กระดาษ ฯลฯ ส เป็นตัวสะกด เช่น โอกาส รส พัสดุ ฯลฯ ๗ . แม่กบ ได้แก่คำที่มี บ เป็นตัวสะกด หรือตัวที่ออกเสียงเหมือน บ สะกด รวมมีอยู่ ๕ ตัว ซึ่งได้ แก่พยัญชนะต่อไปนี้ บ เป็นตัวสะกด เช่น เกือบ รับ ทราบ ฯลฯ ป เป็นตัวสะกด เช่น ธูป บาป สาป ฯลฯ
  • 6. พ เป็นตัวสะกด เช่น ภาพ ศพ ภพ ฯลฯ ฟ เป็นตัวสะกด เช่น กราฟ ยีราฟ ฯลฯ ภ เป็นตัวสะกด เช่น ลาภ โลภ ปรารภ ฯลฯ ๘ . แม่กน ได้แก่คำที่มี น เป็นตัวสะกด หรือตัวอื่นที่ออกเสียงเหมือน น สะกด รวมมีอยู่ ๖ ตัว ซึ่งได้แก่พยัญชนะต่อไปนี้ น เป็นตัวสะกด เช่น สอน เขียน เหมือน ฯลฯ ญ เป็นตัวสะกด เช่น ชำนาญ กล้าหาญ บัญชี ฯลฯ ณ เป็นตัวสะกด เช่น บริเวณ วิญญาณ คุณ ฯลฯ ร เป็นตัวสะกด เช่น อักษร อวยพร เณร ฯลฯ ล เป็นตัวสะกด เช่น จักรวาล พาล ผล กล ฯลฯ ฬ เป็นตัวสะกด เช่น ปลาวาฬ กาฬโรค ฯลฯ
  • 7. พยางค์ที่ออกเสียงสระ   ออ   ได้แก่      ( นิรันดร    จรลี   ทรชน   นรสิงห์ วรลักษณ์ หรดี บริวาร ) พยางค์ที่ออกเสียง   อำ    ได้แก่     ( อมฤต   อำมฤต   อมหิต   อมรินทร์ ) พยางค์ที่ออกเสียง   ใอ ( ไม้ม้วน )    นอกเหนือจาก   20  คำนี้ให้ใช้   สระไอ   ( ไม้มลาย )          1. ใช้สระไอ   ไม้ม้วน   มี   20  คำ คือ              ( ใกล้   ใคร   ใคร่   ใจ   ใช่   ใช้   ใด   ใต้   ใน   ใบ   ใบ้   ใฝ่   สะใภ้ ใส   ใส่   ให้   ใหญ่   ใหม่   ใหล )
  • 8.                                   คำที่มี   ญ   สะกด   มี   46  คำ   คือ                        ลำเค็ญครวญเข็ญใจ                      ควาญช้างไปหานงคราญ               เชิญขวัญเพ็ญสำราญ                              ผลาญรำคาญลาญระทม                        เผอิญเผชิญหาญ                           เหรียญรำบาญอัญขยม               รบราญสราญชม                                     ดอกอัญชันอัญเชิญเทอญ                           ประจญประจัญบาน                        ผจญการกิจบังเอิญ                สำคัญหมั่นเจริญ                                    ถือกุญแจรัญจวนใจ                        รามัญมอญจำเริญ                          เขาสรรเสริญไม่จัญไร                ชำนาญชาญเกรียงไกร                            เร่งผจัญตามบัญชา                        จรูญบำเพ็ญยิ่ง                              บำนาญสิ่งสะคราญตา                ประมวญชวนกันมา                                 สูบกัญชาไม่ดีเลย .    
  • 9. การเขียน   บัน   และ   บรร                คำไทยที่ใช้   บัน   นำหน้า   คำไทยที่ปรากฏนอกจากกลอนนี้ให้ใช้   บรร                          บันดาลลงบันได                        บันทึกให้ดูจงดี                 รื่นเริงบันเทิงมี                                     เสียงบันลือสนั่นดัง                          บันโดย บันโหยให้                      บันเหินไปจากรวงรัง                 บันทึงถึงความหลัง                                บันเดินนั่งนอนบันดล                            บันกวดเอาลวดรัด                        บันจวบจัดตกแต่งตน                 คำ   บัน   นั้น ฉงน                                   ระวังปน   กับ   ร - หัน .               
  • 10. ตัว   ทร   ที่   ออกเสียง   ซ      มีใช้อยู่   17  คำ                                                  ทรวดทรงทราบทรามทราย             ทรุดโทรมหมายนกอินทรี                 มัทรี   อินทรีย์มี                                     เทริด   นนทรี   พุทราเพรา                          ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด                โทรมนัสฉะเชิงเทรา                 ตัว   ทร   เหล่านี้เรา                                 ออกสำเนียงเป็นเสียง   ซ    คำไทยที่ใช้   จ   สะกด                           ตำรวจตรวจคนเท็จ                       เสร็จสำเร็จระเห็จไป                 สมเด็จเสด็จไหน                                   ตรวจตราไวดุจนายงาน                           อำนาจอาจบำเหน็จ                      จรวดระเห็จเผด็จการ                  ฉกาจรังเกียจวาน                                  คนเกียจคร้านไม่สู้ดี                           แก้วเก็จทำเก่งกาจ                       ประดุจชาติทรพี                  โสรจสรงลงวารี                                    กำเหน็จนี้ใช้ตัว   จ .
  • 11. คำที่ใช้   ช   สะกด   มีอยู่คำเดียว   คือ   กริช คำที่ใช้   ร   สะกด                      กำธร     จรรโจษ   จรรโลง   สรรเสริญ   อรชร   พรรลาย   พรรเอิญ   ควร   ประยูร   ระเมียร   ละคร   พรรดึก คำไทยที่ใช้   ตัว   ล   สะกด   เช่น                              ตำบลยุบลสรวล             ยลสำรวลนวลกำนัล                     บันดาลในบันดล                      ค่ากำนลของกำนัล                              ระบิลกบิลแบบ               กลทางแคบเข้าเคียมคัล                      ดลใจให้รางวัล                       ปีขาลบันเดินเมิลมอง .       คำไทยที่ใช้   ส   สะกด     เช่น       จรัส   จรส   จำรัส   ดำรัส   ตรัส   ตรัสรู้      คำไทยที่ใช้   ง   สะกด ต่อไปนี้ไม่ต้องมี   ค   การันต์     ( คำพวกนี้มักเขียนผิดเสมอ )                        จำนง    ชงโค    ดำรง   ธำรง   ประมง   ประโมง   พะทำมะรง   พะอง   สะอาง สำอาง  
  • 12. ข้อสังเกต ๑ . ถ้าคำใดไม่มีตัวสะกด จัดอยู่ในมาตราแม่ ก . กา ทั้งหมดรวมทั้งตัว อ ด้วย เช่น พ่อ เสือ ฯลฯ ๒ . พยัญชนะที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดในภาษาไทยปัจจุบันมีอยู่ ๘ ตัว คือ ต ฑ ฉ ฌ ผ ฝ ห ฮ ๓ . ตัว ซ และ ฟ มักใช้สะกดคำในภาษาอื่น เช่น ก๊าซ กราฟ ยีราฟ ฯลฯ แนวคิด ตัวสะกด เป็นพยัญชนะที่ใช้บังคับเสียงท้ายคำทำให้มีเสียงตามที่ต้องการ มาตราตัวสะกดบางมาตราใช้ตัวสะกดตรงแม่ บางมาตราใช้ตัวสะกดไม่ตรงแม่ ตัวสะกด ทำให้เกิดเสียงต่างๆขึ้น เพื่อใช้เป็นพื้นฐานสำคัญในการอ่านและเขียนให้ตรงตามเสียงที่ต้องการ
  • 13. ข้อสังเกตในการใช้พยัญชนะ การใช้พยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัวให้ถูกต้อง เราควรมีความรู้ในการแบ่งพยัญชนะออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ ๑ . พยัญชนะกลาง คือ พยัญชนะที่ใช้ทั่วไป ทั้งคำไทยแท้ คำที่มาจากภาบาลี สันสกฤต และภาษาอื่นๆ มี ๒๑ ตัว คือ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห ๒ . พยัญชนะเดิม คือ พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาลีสันสกฤตและคำไทยบางคำ มี ๑๓ ตัว คือ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ ๓ . พยัญชนะเติม คือ พยัญชนะที่ใช้เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่ และคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ ( เฉพาะตัว ฎ ด บ อ ) และคำที่มาจากภาษาอื่น มี ๑๐ ตัว คือ ข . ขวด ค . คน ( เลิกใช้แล้ว ) ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ
  • 14. การใช้พยัญชนะต้น ๑ . คำไทยแท้ ปกติจะใช้พยัญชนะกลางและพยัญชนะเติม ที่ใช้พยัญชนะเดิมมีเพียงไม่กี่คำ เช่น ฆ่า เฆี่ยน ฆ้อง ระฆัง ธง เสภา เศร้า ศึก ๒ . คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่บาลีสันสกฤต มักใช้พยัญชนะกลางและพยัญชนะเติม เช่น ตำรวจ คอมพิวเตอร์ เซนติเมตร ไฮโดรเจน ๓ . คำที่มาจากภาษาลีสันสกฤต อาจใช้พยัญชนะกลาง พยัญชนะเดิม และพยัญชนะเติม แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ ไม่มีที่ใช้