SlideShare a Scribd company logo
กิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ SOCIAL MEDIA
เสริมสร้างคุณลักษณะโรงเรียนสุจริต 5 ประการ
นรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์ 2 ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชัน เรื่อง คู่อันดับ เวลา 1 ชั่วโมง
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ
คู่อันดับเป็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ 2 สิ่งหรือจานวน 2 จานวนภายใต้เงื่อนไขอย่างใด
อย่างหนึ่ง คู่อันดับประกอบด้วยสมาชิก 2 ตัวคือ สมาชิกตัวหน้ากับสมาชิกตัวหลัง โดยเขียนไว้
ในวงเล็บ ( ) สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมาย จุลภาค ( , )
2. สาระที่ 4 พีชคณิต
3. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
4. ตัวชี้วัด
ค 4.1 ม.4-6/3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เขียนแสดง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันในรูปต่างๆ เช่น ตาราง กราฟ และสมการ
5. จุดประสงค์การเรียนรู้นาทาง
ด้านความรู้
1. บอกความหมายของคู่อันดับได้
2. บอกได้ว่าคู่อันดับที่กาหนดให้เท่ากันหรือไม่
ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. การให้เหตุผล
2. ทักษะการแก้ปัญหา
3. การสื่อสาร
ด้านคุณลักษณะ
1. ความรับผิดชอบ
2. มีระเบียบวินัย
3. ทางานเป็นระบบรอบคอบ
6. สมรรถนะ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
คุณลักษณะโรงเรียนสุจริต
ซื่อสัตย์สุจริต  
มีวินัย  
ใฝ่เรียนรู้ 
อยู่อย่างพอเพียง  
มุ่งมั่นในการทางาน 
มีจิตสาธารณะ  
8. สาระการเรียนรู้
1. คู่อันดับ
คู่อันดับ ( Ordered Pairs ) คือ สัญลักษณ์ที่แสดงการจับคู่กันระหว่างสิ่ง 2 สิ่ง เช่น
ระยะทางกับเวลา ถ้าเราจะแสดงการจับคู่ระยะทาง (กิโลเมตร) กับเวลา (ชั่วโมง) เราจะเขียน
ระยะทางกับเวลาลงในวงเล็บเล็ก และคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น (200, 4) จะหมายถึง
ระยะทาง 200 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา 4 ชั่วโมง เป็นต้น
คู่อันดับ ประกอบด้วยสมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง หรือ
สมาชิกตัวที่หนึ่งและสมาชิกตัวที่สอง
ตัวอย่างของคู่อันดับ
(a, b) อ่านว่า คู่อันดับ เอบี
a เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (a, b)
b เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (a, b)
(3, 9) อ่านว่า คู่อันดับสามเก้า
3 เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (3, 9)
9 เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (3, 9)
การเขียนคู่อันดับจะสับเปลี่ยนสมาชิกไม่ได้เพราะจะทาให้ความหมายเปลี่ยนไป เช่น (a, b)
เป็น (b, a) จะทาให้ (a, b) ไม่เท่ากับ (b, a) ยกเว้น a = b
การเท่ากันของคู่อันดับ
บทนิยาม คู่อันดับ (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
เมื่อ a, b, c, d เป็นจานวนจริงใด ๆ
9. การบูรณาการ
9.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
1.1 นักเรียนมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความหมายของคู่อันดับได้ถูกต้อง
1.2 นักเรียนเข้าใจการนาสมบัติการเท่ากันของคู่อันดับไปใช้แก้ปัญหา
2. ความมีเหตุผล
2.1 รู้จักการเขียนสัญลักษณ์ของคู่อันดับ
2.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเท่ากันของคู่อันดับ
2.3 สามารถเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ได้
3. การมีภูมิคุ้มกัน
3.1 นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ เกี่ยวกับการนาสมบัติการเท่ากันของคู่อันดับไปใช้
แก้ปัญหา จนเกิดความชานาญ สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้
3.2 สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการคิดวิเคราะห์ ในการสอบ การประเมินผล
การสอบแข่งขันหรือการเรียนชั้นสูงต่อไป
4. เงื่อนไขความรู้
4.1 เข้าใจความหมายของคู่อันดับและการเท่ากันของคู่อันดับ
4.2 มีทักษะและรอบรู้เกี่ยวกับคู่อันดับและการเท่ากันของคู่อันดับ
5. เงื่อนไขคุณธรรม
5.1 การใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
5.2 ความรับผิดชอบ
5.3 ความมีระเบียบวินัย
9.2 การบูรณาการข้ามกลุ่มสาระ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจเห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐานท2.1ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารเขียนเรียงความย่อความและเขียน
เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
คู่อันดับ
คณิตศาสตร์ (ค 4.1 ม.4-
6/3)
- ความหมาย
- การเท่ากัน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง3.1)
- ใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การสืบค้นข้อมูล
- การเรียนรู้ การสื่อสาร
- การแก้ปัญหา การทางาน
ภาษาไทย (ท 2.1 ม.4-6/3)
- การเขียนสรุปความ
10. ภาระงาน
นักเรียนบอกความหมายของคู่อันดับและนาสมบัติการเท่ากันของคู่อันดับไปใช้แก้ปัญหา
11. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
1. ครูเรียกชื่อนักเรียนที่เข้าชั้นเรียน และแนะนาให้นักเรียนเข้าเรียนตรงเวลา สร้างความรับผิดชอบให้ตนเอง
2. ครูแจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
การมีวินัย
ความพอเพียง (ภูมิคุ้มกันที่ดี )
3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ 5 คน แต่ละกลุ่มมีชาย หญิง คละกันและคละความสามารถ ตั้งชื่อกลุ่ม มีหัวหน้า
กลุ่ม รองหัวหน้าและเลขานุการกลุ่ม ซึ่งแต่ละคนจะมีหน้าที่ในการทางานกลุ่มร่วมกันโดยสลับหน้าที่ภายในกลุ่ม
การมีจิตสาธารณะ
การมีวินัย
4. ครูถามคาถามผู้เรียนถึงความหมายของคาว่า คู่อันดับ แล้วขออาสาสมัครให้นักเรียนตอบคาถาม 2 – 3 คน บันทึก
คาตอบไว้บนกระดาน
การมีจิตสาธารณะ
การมีวินัย
ความพอเพียง (พอประมาณ)
5. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2 และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก http://krunarinchoti.wordpress.com/ความสัมพันธ์-
relation/คู่อันดับ-order/ แล้วร่วมกันอภิปรายกลุ่มย่อยเกี่ยวกับในหัวข้อคู่อันดับ แล้วสรุปในแบบสรุปความรู้ที่ 2 ใน
ประเด็นต่อไปนี้พร้อมค้นหาคาตอบ
4.1 สมาชิกตัวหน้ากับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับสลับที่กันได้หรือไม่
4.2 สัญลักษณ์แทนคู่อันดับใช้วงเล็บ { }, [ ] ได้หรือไม่
โดยครูเดินดูและตอบปัญหาของนักเรียนอย่างใกล้ชิด
ความพอเพียง (ภูมิคุ้มกันที่ดี ในการ
ทางาน, เงื่อนไขคุณธรรม,
พอประมาณ, เงื่อนไขความรู้)
การมีจิตสาธารณะ
การมีวินัย
การคิดรวบยอด/การคิดสรุปความ
กิจกรรมการเรียนรู้
เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
5. ครูขออาสาสมัครนักเรียน ตัวแทนนักเรียน 2 กลุ่มนาเสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของ
คาว่า คู่อันดับและเปรียบเทียบกับที่บันทึกบนกระดาน
ความพอเพียง (ภูมิคุ้มกันที่ดี ในการ
ทางาน, เงื่อนไขคุณธรรม,
พอประมาณ, เงื่อนไขความรู้)
การมีจิตสาธารณะ
ความซื่อสัตย์
6. นักเรียนจดบันทึกลงในแบบสรุปความรู้ที่ 2 ที่ครูแจกให้ นักเรียนเก็บเข้าแฟ้มผลงานตนเอง การคิดรวบยอด/การคิดสรุปความ
7. นักเรียนในกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 2 ส่งแล้วครูให้นักเรียนแลกเปลี่ยนกันตรวจ ตามเฉลยใบงานที่ 2 ครูจดบันทึก
คะแนนที่ได้ไว้
ความพอเพียง (เงื่อนไขความรู้,
เงื่อนไขคุณธรรม)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดแก้ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
8. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างโจทย์ที่เกี่ยวข้องกับคู่อันดับใน Blog : http://krunarinchoti.wordpress.com/ความสัมพันธ์-
relation/คู่อันดับ-order/
สมรรถนะการใช้เทคโนโลยี
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดแก้ปัญหา
ความพอเพียง (พร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลง)
9. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบย่อยที่ 2 จานวน 5 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
10. ครูตรวจแบบทดสอบย่อยที่ 2 แจ้งผลคะแนนกับนักเรียนในวันต่อไป
11. ครูให้นักเรียนนาเสนอโจทย์ปัญหาผ่านเครื่องมือ social media โดยใช้ facebook โดยให้นักเรียนที่มีทักษะ
คอยช่วยเหลือกัน และส่งให้ตรงกรอบกาหนดเวลา ใน facebook กลุ่ม CPR4/11
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดแก้ปัญหา
ความพอเพียง (พอประมาณ,เงื่อนไข
ความรู้)
12. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
1. ใบความรู้ที่ 2
2. แบบสรุปความรู้ที่ 2
3. ใบงานที่ 2
4. เฉลยใบงานที่ 2
5. แบบประเมินด้านทักษะและเกณฑ์การวัด
6. แบบประเมินด้านคุณลักษณะและเกณฑ์การวัด
7. แบบทดสอบย่อยที่ 2
8. เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 2
9. เกณฑ์การตรวจข้อสอบแบบเลือกตอบ
11. แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. ห้องสมุดโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
3. ห้องคอมพิวเตอร์
14. การวัดและประเมินผล
1. สิ่งที่ต้องการวัด
1.1 ด้านความรู้
1.2 ด้านทักษะ
1.3 ด้านคุณลักษณะ
2. เครื่องมือที่ใช้วัด
2.1 แบบประเมินความรู้
2.2 แบบประเมินทักษะ
2.3 แบบประเมินคุณลักษณะ
3. วิธีวัด
3.1 ตรวจผลงาน
3.2 สังเกตพฤติกรรมและตรวจผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรม
4. เกณฑ์การประเมิน
4.1 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75
4.2 นักเรียนมีทักษะทางคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75
4.3 นักเรียนมีคุณลักษณะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75
15. หลักฐานการเรียนรู้
1. ใบความรู้ที่ 2
2. แบบสรุปความรู้ที่ 2
3. ใบงานที่ 2
4. เฉลยใบงานที่ 2
5. แบบประเมินด้านทักษะและเกณฑ์การวัด
6. แบบประเมินด้านคุณลักษณะและเกณฑ์การวัด
7. แบบทดสอบย่อยที่ 2
8. เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 2
9. เกณฑ์การตรวจข้อสอบแบบเลือกตอบ
แหล่งความรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
หน้าหลัก http://krunarinchoti.wordpress.com/
เอกสารประกอบการเรียนรู้ คู่อันดับ
ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
คู่อันดับ ( Ordered Pairs ) คือ สัญลักษณ์ที่แสดงการจับคู่กันระหว่างสิ่ง 2 สิ่ง เช่น
ระยะทางกับเวลา ถ้าเราจะแสดงการจับคู่ระยะทาง (กิโลเมตร) กับเวลา (ชั่วโมง) เราจะเขียน
ระยะทางกับเวลาลงในวงเล็บเล็ก และคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น (200, 4) จะหมายถึง
ระยะทาง 200 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา 4 ชั่วโมง เป็นต้น
คู่อันดับ ประกอบด้วยสมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง หรือสมาชิก
ตัวที่หนึ่งและสมาชิกตัวที่สอง
ตัวอย่างของคู่อันดับ
(a, b) อ่านว่า คู่อันดับ เอบี
a เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (a, b)
b เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (a, b)
(3, 9) อ่านว่า คู่อันดับสามเก้า
3 เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (3, 9)
9 เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (3, 9)
การเขียนคู่อันดับจะสับเปลี่ยนสมาชิกไม่ได้เพราะจะทาให้ความหมายเปลี่ยนไป เช่น (a, b)
เป็น (b, a) จะทาให้ (a, b) ไม่เท่ากับ (b, a) ยกเว้น a = b
การเท่ากันของคู่อันดับ
บทนิยาม คู่อันดับ (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
เมื่อ a, b, c, d เป็นจานวนจริงใด ๆ
ตัวอย่างที่ 1 จากการเท่ากันของคู่อันดับต่อไปนี้จงหาค่าตัวแปร
1.1 )9,()9,5( a a = 5
1.2 )3,7(),49( a a = -3
1.3 )1,8()1,2( a a = 6
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า x และ y ที่ทาให้ (x + 2, y + 10) = (6, 12)
วิธีทา จากความหมายการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า
x + 2 = 6 และ y + 10 = 12
 x = 4 และ y = 2
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ x และ y ที่ทาให้ (2x + y, 24) = (6, 3x – y)
วิธีทา จากความหมายการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า
2x + y = 6 ……………………….. (1)
3x – y = 24 ……………………….. (2)
(1) + (2) ; 5x = 30
x = 6
แทนค่า x ใน (1) จะได้
y = -6
แบบสรุปความรู้ที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาตามใบความรู้ที่ 2 ในข้อต่อไปนี้
1.คู่อันดับ คือ ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2. (6, 8) อ่านว่า …………………………………………………………………………………..
3. (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ ………………………………………………………………………
เมื่อ a, b, c, d เป็นจานวนจริงใด
ชื่อกลุ่ม .......................................................................................
1. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
2. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
3. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
4. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
5. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
ใบงานที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์
ข้อที่ คาถาม คาตอบ
1. คู่อันดับสามแปด เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ใด
2. (10, 6) อ่านว่าอย่างไร มีสมาชิกตัวหน้าคือจานวนใด
3. คู่อันดับ (2, 3) และ ( 4 , 3) เท่ากันหรือไม่
4. จงหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อต่อไปนี้
4.1 (x, y) = (6, 9)
4.2 (x – 2, 4) = (8, y + 2)
4.3 (-3, a) = (b – 4, 6)
4.4 (x + y, x – y) = (6, 4)
4.5 (2x
, y) = (16, 2)
4.1 ………………………….
4.2 ………………………….
4.3 ………………………….
4.4 ………………………….
4.5 ………………………….
ชื่อกลุ่ม .......................................................................................
1. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
2. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
3. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
4. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
5. ชื่อนักเรียน..................................................................ชั้น.........................เลขที่...........................
คะแนนที่ได้...................................คะแนน
เฉลยใบงานที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
1) (3, 8)
2) คู่อันดับหกแปด, 10
3) เท่ากัน
4) 4.1 x = 6, y = 9
4.2 x = 10, y = 2
4.3 a = 6, b = 1
4.4 x = 4, y = 2
แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
ที่ ชื่อสกุล
รายการประเมิน รวม
(12 คะแนน)
ระดับ
คุณภาพการแก้ปัญหา
(4 คะแนน)
การให้
เหตุผล
(4 คะแนน)
การสื่อสาร
(4 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การแก้ปัญหา
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผลในการใช้
วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน
3 ดี ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็จ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดังกล่าว
ได้ดีกว่านี้
2 พอใช้ มียุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหา สาเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการ
ดังกล่าวได้บางส่วน
1 ต้อง
ปรับปรุง
มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหาบางส่วน เริ่มคิดว่าทาไมจึงต้องใช้วิธีการนั้นแล้วหยุด
อธิบายต่อไม่ได้แก้ปัญหาไม่สาเร็จ
0 ไม่
พยายาม
ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ข้างต้นหรือไม่มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหา
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การให้เหตุผล
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล
3 ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
2 พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ
1 ต้อง
ปรับปรุง
มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
0 ไม่
พยายาม
ไม่มีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตาราง
แสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน เป็นระบบ กระชับ ชัดเจน มีรายละเอียดสมบูรณ์
3 ดี ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตารางแสดง
ข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน ได้ถูกต้อง ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ์
2 พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ พยายามนาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตาราง
แสดงข้อมูลประกอบชัดเจนบางส่วน
1 ต้อง
ปรับปรุง
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ไม่ได้ใช้กราฟ แผนภูมิหรือตารางเลย
การนาเสนอไม่ชัดเจน
0 ไม่
พยายาม
ไม่นาเสนอ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 9-12 หรือร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
คะแนน 6-8 หรือร้อยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 3-5 หรือร้อยละ 60 – 69 ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-2 หรือร้อยละ 50 ลงมา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
แบบประเมินด้านคุณลักษณะ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
ที่ ชื่อสกุล
รายการประเมิน รวม
(12
คะแนน)
ระดับ
คุณภาพมีความรับผิดชอบ
(4 คะแนน)
มีระเบียบวินัย
(4 คะแนน)
ทางานเป็นระบบ
(4 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ: มีความรับผิดชอบ
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเป็นนิสัย เป็นระบบ
และแนะนาชักชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติ
2 ดี
 ส่งงานช้ากว่ากาหนด แต่ไม่มีการติดต่อชี้แจงครูผู้สอน มีเหตุผลรับฟังได้
 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติเองจนเป็นนิสัย
1 พอใช้
 ส่งงานช้ากว่ากาหนด
 ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลังใจ
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ: มีระเบียบวินัย
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 สมุดงาน ชิ้นงาน สะอาดเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันทุกครั้ง
2 ดี
 สมุดงาน ชิ้นงาน ส่วนใหญ่สะอาดเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่
1 พอใช้
 สมุดงาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็นบางครั้ง ต้องอาศัยการแนะนา
เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะ: ทางานเป็นระบบ รอบคอบ
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 มีการวางแผนการดาเนินงานเป็นระบบ
 การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตัดขั้นตอนที่ไม่สาคัญออก
 จัดเรียงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ถูกต้องครบถ้วน
2 ดี
 มีการวางแผนการดาเนินงาน
 การทางานไม่ครบทุกขั้นตอน และผิดพลาดบ้าง
 จัดเรียงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ได้เป็นส่วนใหญ่
1 พอใช้
 ไม่มีการวางแผนการดาเนินงาน
 การทางานไม่มีขั้นตอน มีความผิดพลาดต้องแก้ไข
 ไม่จัดเรียงลาดับความสาคัญ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 9-12 หรือร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
คะแนน 6-8 หรือร้อยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 3-5 หรือร้อยละ 60 – 69 ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-2 หรือร้อยละ 50 ลงมา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
แบบทดสอบย่อยที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
................................................................................................................................................................
คาชี้แจง 1. ข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 5 ข้อ
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อละ 1 คาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
................................................................................................................................................................
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นคู่อันดับ
ก. [2, 5] ข. (-1, 8) ค. {0, 3} ง. [7, 4)
2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
ก. (6, 6)  (2, 2) ค. ถ้า (x-3, 7) = (2, 7) แล้ว x = -1
ข. (8, 3)  (3, 8) ง. ถ้า (-5, 9 ) = (-5, x) แล้ว x = 3
3. ถ้า (x, 7) = (3, y-x) แล้ว 2x-y มีค่าเท่าใด
ก. -4 ข. -16 ค. 4 ง. 16
4. ถ้า  2,
1
,
1
2
2
y
x
x
x
x 





 โดยที่ 0x แล้ว y มีค่าเท่าใด
ก. 0 ข. 2 ค. 4 ง. 6
5. กาหนดให้    2,43,  xyx แล้ว yx 2 มีค่าเท่าใด
ก. 1 ข. 3 ค. 18 ง. 25
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 2
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
1. ข 2. ค 3. ก 4. ง 5. ข
แบบที่ 1 เกณฑ์การตรวจข้อสอบแบบเลือกตอบ
แบบที่ 1 ใช้ตรวจข้อสอบแบบเลือกตอบ เกณฑ์ดังนี้
ตอบถูก ให้ 1 คะแนน
ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
แบบบันทึกความพึงพอใจ
เรื่อง คู่อันดับ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
นักเรียน
ระดับความพึงพอใจ
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จานวน
ร้อยละ
ความเห็นและข้อเสนอแนะ
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
(นางสาคร สียางนอก)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................
(นายจรรโลง ธนกัญญา)
รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................
(นางสาวเบญจวรรษ เชิงสะอาด)
ผู้อานวยการโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
บันทึกผลหลังการสอน
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................ผู้สอน
(นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ)
........./............/.........
บันทึกการนิเทศ
หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผู้นิเทศ
(นางสาวเบญจวรรษ เชิงสะอาด)
ผู้อานวยการโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก

More Related Content

Viewers also liked

ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
narinchoti
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
Aon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
Aon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
Aon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 

Viewers also liked (8)

ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 

Similar to Plan2

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
Toongneung SP
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
คน ผ่านทาง
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
คน ผ่านทาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
dump0507
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
an510140238
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
Nattarinthon Soysuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
chaimate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 

Similar to Plan2 (20)

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
111111
111111111111
111111
 
B math2
B math2B math2
B math2
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Plan2