SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
กลุ่ม LNG505
หนังสือโมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
54210410 นายภาสภณ กมล
54213011 นายบริพัตร จันทร์สมโภชน์
54213026 นางสาวผกามาศ สุขประเสริฐ
54213037 นางสาวอธิษฐาน ปลื้มมาลี
54210400 นายนฤนาท คล้ายบัณดิษฐ์
54218625 นางสาวนิติมา จารุธนกุล
54218651 นายศุภณัฐ ด่วนทวีสุข
54213039 นางสาวเมนิตา การุญ
54213698 นายเดชาวัจน์ ติรสุวรรณวาสี
โมโนโปลี
พลังงานไทยในเกมผูกขาด
สรุปสาระสาคัญ
ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ไ ด้ พ ย า ย า ม ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
แล ะก ล ไก ใน เชิ ง โค รง ส ร้าง ที่ ท าให้ ก ระบ ว น ก าร ผู ก ข าด ท รัพ ย า ก รพ ลัง ง า น
โด ย ข ย า ย ให้ เ ห็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ตั้ง แ ต่ ต้ น น้ า ก ล า ง น้ า แ ล ะ ป ล า ย น้ า
เพื่อทาความเข้าใจว่าการผูกขาดเกิดขึ้นที่ขั้นตอนใดหรือกระบวนการใด
การผูกขาดนั้นถือว่าเป็นตัวการสาคัญของการทาร้ายทาลายประสิทธิภาพในเชิงเศรษฐศาสตร์
จึงไม่ใช่สิ่งที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎกติกาของการแข่งขันแบบทุนนิยมเสรี และหากดูให้ดี
การผูกขาดมักจะเกิดขึ้นได้ในบริบทแวดล้อมที่มีการผูกขาดอานาจไว้กับคนบางกลุ่มบางพวกเท่านั้น
หาใช่เรื่องของฝีมือหรือความสามารถในการแข่งขันแต่อย่างใด
นอกจากนี้ การผูกขาดยังนาไปสู่ปัญหาเรื่องธรรมาภิบาลหรือผลประโยชน์ทับซ้อน
เรื่อย ไป จนถึง การกระจาย ผ ลป ระโย ช น์ และค ว ามเสี่ย ง จากน โย บ าย ซึ่งในที่ สุด
กลุ่มคนที่เสียเปรียบที่สุดในสังคมซึ่งเข้าไม่ถึงการมีส่วยร่ว มในการตัดสินใจเชิงนโยบาย
ก็ ย่ อ ม เ ข้ า ไ ม่ ถึ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ท รั พ ย า ก ร พ ลั ง ง า น เ ห ล่ า นี้
และยังมีแนวโน้มที่จะเป็นกลุ่มที่ต้องรับภาระความเสี่ยงจากมลพิษ และเทคโนโลยีมากที่สุดอีกด้วย
กระบวนการผูกขาดจึงเป็นเรื่องที่สังคมไทยควรใส่ใจ และสารวจตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ห า ค ว า ม ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ใ น เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ
นั้นไม่ ใช่ เรื่อง ข อง ค น ใดค น ห นึ่ งห รือข อง ค นก ลุ่มใดก ลุ่มห นึ่ง และในเบื้ องต้นนั้น
เ ร า ย่ อ ม ไม่ อ า จ เ รี ย ก ร้อ ง ให้ ใค ร มี ป ฏิ บั ติ ก า ร ส ร้า ง ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม ไ ด้
หากต้องเริ่มจากการถามตัวเองก่อนเป็ นอันดับแรก ว่าพวกเราแต่ละคน แต่ละองค์กร
จะกาหนดบทบาทและหน้าที่ของตนในแต่ละเรื่องอย่างไร
บทนา
บ ริ ษั ท ป ต ท . จ า กั ด ( ม ห า ช น )
เป็ น บ ริษั ท ที่ ด าเ นิ น ธุร กิ จ ด้า น พ ลัง ง าน ที่ มีข น าด ให ญ่ ที่ สุ ด ใน ป ร ะเ ท ศ ไท ย
และเป็นบริษัทมหาชนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์สูงสุดในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
น อ ก จ า ก นี้ บ ม จ . ป ต ท .
ยังมีสถานะของรัฐวิสาหกิจจากการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นของบริษัทจานวนร้อยละ 51.11 นอกจาก
บ ม จ .ป ต ท . จ ะ มี บ ท บ า ท ใน ก า ร แ ส ว ง ห า ก าไ รสู ง สุ ด ใน ฐ า น ะเ อ ก ช น แ ล้ ว
ยังมีบทบาทในการดาเนินตามนโยบายพลังงานของรัฐบาลในฐานะรัฐวิสาหกิจ
บมจ.ปตท. มีบทบาทในการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับพลังงานในรูปแบบปิโตรเลีย ม
แ ล ะ พ ลั ง ง า น ท า ง เ ลื อ ก ม า ก ม า ย
ทั้ง ในรูป แ บ บ ข อง ก ารด าเนิ นก ารเอง ห รือ การตั้ง บ ริษัท ย่ อย ขึ้น ม าดาเนิ น ก าร
การประกอบกิจการด้านพลังงานนั้นครอบคลุมตั้งแต่ขั้นการจัดการหาวัตถุดิบ แปรรูป และขนส่ง
จนไปถึงการกระจายสินค้าให้แก่ผู้บริโภค และด้วยผลประกอบการที่สูงส่งผลให้ บมจ.ปต ท
เป็นรัฐวิสาหกิจที่ส่งเงินเข้ารัฐสูงเป็นอันดับหนึ่งโดยตลอด
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี ก า ไ ร สู ง ขึ้ น ทุ ก ปี นั้ น
ถูกตั้งข้อสงสัยว่าอาจเป็นผลมาจากนโยบายที่เอื้อประโยชน์หรือสิทธิพิเศษที่ภาครัฐมอบไว้แก่
บ ม จ . ป ต ท . แ ต่ เ พี ย ง ผู้ เ ดี ย ว ก็ เ ป็ น ไ ด้
เช่นการมอบโครงข่ายท่อก๊าซและสิทธิประโยชน์จากการใช้โครงข่ายท่อก๊าซให้แก่ บมจ.ปตท.
แ ต่ เ พี ย ง ผู้ เ ดี ย ว ห รื อ อื่ น ๆ ซึ่ ง ส ถ า น ะ ที่ บ ม จ . ป ต ท .
เป็นผู้ประกอบรายให ญ่ห รือผู้ประกอบเพียงรายเดียวในตลาดย่อมส่งผลให้ บมจ.ปตท .
มีอานาจผูกขาดในการกาหนดราคาหรือปริมาณสินค้าในตลาดเพื่อแสวงหากาไรสูงสุดได้
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ได้มีสมมติฐานหนึ่งว่าอานาจผูกขาดที่เกิดขึ้นมักจะทาให้ผู้ประกอบการที่มี
อานาจนั้นมีพฤติกรรมการแสวงหากาไรในระดับที่สูงเกินกว่าที่ควรจะเป็น หรือที่เรียกกันว่า
ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก อ า น า จ ผู ก ข า ด (Monopoly
rent)ซึ่ ง ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ นี้
มักจะทาให้ปริมาณสินค้าน้อยและราคาสินค้าสูงกว่าที่ควรจะเป็นจนกระทั่งผู้บริโภคเดือดร้อน
จึ ง เ ป็ น ที่ น่ า ส น ใ จ ที่ จ ะ ศึ ก ษ า
ภาย ใต้การป ระกอบ กิจการที่มีภาย ในตลาดอุตสาห กรรมพลังงานข อง บ มจ.ป ตท .
โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมหลังงานในรูปแบบปิโตรเลียมซึ่งเป็นพลังงานส่วยใหญ่ที่มีการบริโภคในไ
ท ย มีกิจการใดบ้ างได้มีพฤติกรรมการแสว งห ากาไรเกินป กติเกิดขึ้นในลักษ ณ ะใด
และผลลัทธ์ของพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติสามารถส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างไร
ทฤษฎีสาหรับวิเคราะห์การผูกขาดและการแสวงหากาไรเกินปกติในตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลี
ยม
การผูกขาด (Monopoly) โดยมากแล้วหมายถึง สถานะหรือพฤติกรรมที่ตรงกันข้ามกับ
การแข่งขัน (Competition) กล่าวคือในขณะที่ระดับการผูกขาดเพิ่มสูงขึ้นการแข่งขันก็จะลดลง
แนวคิดดังกล่าวนี้ปรากฏใน ดัชนีเลอเนอร์ ซึ่งเป็นมาตรวัดระดับการผูกขาด แต่ไม่ใช่ทุก ๆ
ระดับการผูกขาดที่จะก่อให้เกิดปัญ ห า โดยการผูกขาดที่มักจะให้เกิดปัญ หานั้น ได้แก่
การผูกขาดสมบูรณ์ และการผูกขาดในลักษณะที่มีอานาจครอบงาเหนือตลาด
ปัญหาของการผูกขาดโดยทั่วไปนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายประการ
1.ประการแรก การผูกขาดก่อให้เกิดแรงจูงใจที่น้อยลงในการพัฒนาคุณภาพสินค้า
2.ประการที่สอง การผูกขาดมักเป็นต้นตอของการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
3.ประการที่สาม การคอรัปชันเพื่อให้เอกชนสามารถผูกขาดหรือลดการแข่งขัน
สาหรับการผูกขาดโดยสมบูรณ์นั้น ก็หมายถึงสภาวะที่ตลาดมีผู้ขายเพียงรายเดียว
กฎหมายการแข่งขันทางการค้าในฐานะเกณฑ์ชี้วัด โครงสร้าง และพฤติกรรม การผูกขาด
โดนสรุปสาระสาคัญของ พรบ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 ได้แก่ การกาหนดโครงสร้าง
และพฤติกรรม ของการใช้อานาจเหนือตลาดให้เป็นความผิด โดยแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะสาคัญ ได้แก่
1 . ป ร ะ ก า ร แ ร ก ( ม า ต ร า 2 5 )
ก ล่า ว ถึง พ ฤ ติ ก รรม ใช้ อา น าจ เห นื อต ลา ด ข อ ง ผู้ป ร ะก อ บ ก ารราย ให ญ่
เพื่อกีดกันหรือจากัดการแข่งขัน
2 .ป ระการที่ ส อง (ม าต รา 2 6 ) กล่ าว ถึง พ ฤ ติก รรม ก ารรว มธุ รกิ จ
จนกระทั่งมีอานาจเหนือตลาดและสร้างความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน
3.ประการที่สาม (มาตรา 27) กล่าวถึงการร่วมมือกันระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อผูกขาด
ลด หรือจากัดการแข่งขัน
4.ประการสุดท้าย (มาตรา 29) กล่าวถึงกี่ดาเนินการค้าไม่เป็นธรรมด้านอื่น ๆ
เพื่อขัดขวาง กีดกัน หรือจากัดการแข่งขันทางการค้า
ทฤษฎีกาไรเกินปกติ (ค่าเช่า) และการแสวงหากาไรเกินปกติ
การมีพฤติกรรมตามองค์กรป ระกอบ ความผิดของมาตราที่ 25 – 29 ใน พรบ .
ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ก า ร ค้ า พ . ศ . 2 5 4 2 นั้ น
นอกจากจะทาลายคู้แข่งทางการค้าทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือที่จะมีในอนาคตแล้ว ในอีกด้านหนึ่ง
ผ ล ลั พ ธ์ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ศั ก ย ภ า พ ใน ก า รท าก า ไรที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น เ กิ น ก ว่ า ป ก ติ
ซึ่งทฤษฎีที่กล่าวถึงความเชื่อโยงนี้ได้แก่ ทฤษฎีค่าเช่าทางเศรษฐกิจ
ท ฤษ ฎี ค่าเช่ าท าง เศ รษ ฐกิจ อธิบ าย ว่ า ค่ าเช่ าท าง เศ รษ ฐกิ จ ห ม าย ถึง
มลค่าของกาไรที่เกินจ่ากระดับกาไรขั้นต่าที่สุดที่ผู้ผลิตสามารถยองรับได้
แ ล ะ ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ค่ า เ ช่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห ม า ย ถึ ง
สิ่งที่ผู้บริโภคจาต้องจ่ายไปสูงกว่าที่ควรจะเป็นเพื่อให้ได้มาเพื่อสิ่งที่ตนต้องการ โดยจะใช้คาว่า
กาไรเกินปกติ แทนคาว่า ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ
รูปแบบของกาไรเกินปกติ และผลกระทบ
กาไรเกินป กติจากการผูก ข าด กาไรป ระเภ ท นี้มีแห ล่ง ที่มาจากการผูกข าด
ในท างเศ รษฐศ าสตร์แล้ว เมื่อผู้ข ายบ างรายสามารถผูกขาดการข ายสินค้าในตลาด
ก็จะส่งผลให้ผู้ผลิตดังกล่าวสามารถกาหนดปริมาณการผลิต และระดับราคาของตลาดได้
กาไรเกินป กติจากท รัพย ากรธรรมช าติ แกเร็ตฮ าร์ดิน ได้กล่าวสิ่งที่เรีย กว่ า
โศกนาฏกรรมของทรัพยากร ซึ่งหมายถึง ทรัพยากรร่วม ซึ่งมีคุณสมบัติ 2 ประการ คือ
1.ประการที่หนึ่ง กีดกันคนอื่นไม่ให้ใช้งานได้
2.ประการที่สอง ใช้แล้วหมดไปจึงต้องแข่งกันใช้
กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอน หมายถึง กาไรเกินปกติที่เกิดจากกลไกทางการเมือง
โดยชี้ให้เห็นว่า ในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลาย รายได้จากการผลิตของเอกชนจานวนมากเกิดมาจาก
กระบวนการอุดหนุน หรือ แปลงทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของเอกชน
กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอน หมายถึง กาไรเกินปกติที่เกิดจากกลไกทางการเมือง
โดยชี้ให้เห็นว่าในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลาย รายได้จากการผลิตของเอกชนจานวนมากเกิดมาจาก
กระบวนการอุดหมุน หรือ แปลงทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของเอกชน
กาไรเกิ นป กติจากนวัตกรรม ห มาย ถึง กาไรเกิ นป กติที่เกิดจากน วัตก รรม
หรือการจัดการให้เกิดข้อมูลความรู้
กาไรปกติเพื่อการเรียนรู้ องค์ความรู้บางอย่างแม้มิได้ผลิตสร้างขึ้นเองแต่สามารถเรียนรู้ได้
ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี นั้ น มี ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ยู่ ก ล่ า ว คื อ
แม้ว่ าห ากเรีย นรู้สาเร็จก็จะท าให้ต้นการผลิตลดลงห รือมีคุณ ภาพ สิน ค้าที่ดีขึ้นได้
ทาให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี และอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ จ า ก ก า ร ต ร ว จ แ ล ะ บ ริ ห า ร
เป็ น ก า ไร เกิ น ป ก ติที่ เกิ ด จ า ก ก า ร ป รับ เ ป ลี่ย น ก า ร บ ริห า รง า น ให้ ดียิ่ ง ขึ้ น
ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพได้นั้นก็โดยสร้างระบบควบคุมดูแล หรือระบบบริหารที่ดีขึ้นมานั่นเอง
ดังนั้นการพัฒนาระบบเหล่านี้จึงเป็นแหล่งที่มาของกาไรเกินปกติได้เช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากงานศึกษาชิ้นนี้เน้นศึกษากาไรเกินปกติที่เกิดสภาพผูกขาด
แล ะ เกิ ด จ าก สิท ธิพิ เ ศ ษ ซึ่ง เกิ ด จ าก ก าร สิท ธิค ว าม เป็ น รัฐข อ ง บ ม จ.ป ต ท .
ดังนั้นกาไรเกินปกติที่จะอ้างถึงในงานชิ้นนี้ จึงเน้นไปที่สองรูปแบบได้แก่ กาไรเกินปกติจากการผูกขาด
และ กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอนเท่านั้น
การแสวงหากาไรเกินปกติ
ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ จ า ก ก า ร ผู ก ข า ด แ ล ก า ร ถ่ า ย โ อ น
เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ เ อ ก ช น ห รื อ บ ริ ษั ท กึ่ ง รั ฐ กึ่ ง เ อ ก ช น
พ ย าย ามที่ จ ะเข้ าถึงก าไรเกิ น ป กติทั้ง สอง รูป แบ บ ให้ ได้โด ย วิถีท าง ก ารเมือ ง
หรือก็คือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกิจการของตนกับนักการเมืองหรือข้าราชการที่มีบทบาทในการตั
ว สิ น ใ จ ท า ง น โ ย บ า ย เ พื่ อ เ อื้ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ
ให้แก่การสร้างภาวะผูกขาดหรือโอนถ่ายกาไรมาให้แก่กิจการของตนเองได้
คาถามคือทาไมต้องเป็นด้านการเมือง สาเหตุเกิดจากสองประการเป็นอย่างน้อย คือ
ป ร ะ ก า ร แ ร ก
เนื่องจากฝ่ายการเมืองมีอานาจอย่างมากที่สร้างสภาพผูกขาดขึ้นมาหรือโอนถ่ายกาไรไปให้แก่เ
อกชน เพราะรัฐมีทรัพยากรจานวนมาก และมีอานาจที่จะจัดสรรทรัพย์สินเหล่านั้น
ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง
หากเอกชนดาเนินกิจการผูกขาดโดยตรงโดยใช้พฤติกรรมเข้าข่ายมีอานาจเหนือตลาดในการแส
ว ง ห า ก า ไร ก็ จ ะ ถู ก ขั ด ข ว า ง โด ย ก ฎ ห ม า ย ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ก า ค้ า
ห รื อ อ ง ค์ ก ร อิ ส ร ะ ที่ ท า ห น้ า ที่ ก า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร เ ฉ พ า ะ
ดังนั้นเอกชนจึงจาเป็นต้องได้รับการร่วมมือจากรัฐเพื่อแทรกแซงหลบเลี่ยงการตรวจสอบ
การลดต้นทุน และการปกป้ องรักษากาไรเกินปกติ
เมื่อการแสวงหากาไรเกินปกติมีต้นทุน และต้นทุนดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นเป็นลาดับ
ท า ใ ห้ จ า กั ด ข อ บ เ ข ต ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร
ท ว่ า แ ร ง ผ ลั ก ดั น ข อ ง เ อ ก ช น ที่ จ ะ ค ร อ ง ก า ไ ร เ พิ่ ม ขึ้ น นั้ น ไ ร้ขี ด จ า กั ด
ดังนั้นเพื่อให้กิจการสามารถเข้าถึงกาไรเกินปกติได้สูงขึ้นกว่ าเดิมจึงต้องมีกระบวนการ
ลดต้นทุนในการแสวงหากาไรเกินปกติ
การลดต้นทุนในการแสวงหากาไรเกินปกตินั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้านหลัก ได้แก่
ประการแรก การลดต้นทุนจากการถูกตรวจสอบโดยกลไกสถาบัน
ประการที่สอง การลดต้นทุนอันเกิดจากกลไกของการให้ข้อมูลข่าวสาร
การลดต้นทุนนอกจากช่วยขยายขอบเขตหรือขนาดของกาไรเกินปกติที่เอกชนจะครอบครองได้
แล้ว ในอีกแง่หนึ่งยังมีความสาคัญ ในฐานะกระบวนการปกป้ องรักษากาไรเกินปกติเดิม
ใ ห้ ค ง อ ยู่ ไ ป ไ ด้ ย า ว น า น อี ก ด้ ว ย
เพื่อให้เกิดความเข้าใจจะแยกอธิบายเป็นสองกรณีตามรูปแบบของการแทรกแซง ดังนี้
ป ร ะ ก า ร แ ร ก ด้ า น ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล นั้ น
ส่ง ผลให้ มีโอกาสลดน้อย ลง ที่สถ าบั น กากับ ดูแลเห ล่านี้จะเข้ ามาท าห น้าที่
ลดกาไรเกินปกติหรือทาโทษในทางใดทางหนึ่ง
ป ระ ก าร ที่ ส อ ง ด้า น ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ก ล ไก ให้ ข้ อ มู ล ข่ าว ส าร นั้ น
การที่กลไกเหล่านี้ไม่ทางานก็ย่อมทาให้การแสวงหากาไรเกินปกติดาเนินไปได้โดยปราศจากแร
งต่อต้านทางสังคม หรือเอกชนรายอื่นที่ประสบภาวะเสียเปรียบไม่เป็นธรรม
การกากับดูแลการผูกขาดและการแสวงหากาไรเกินปกตินอกพระราชบัญญัติการแข่งขันทางกา
รค้า
เป้าหมายของการกากับดูแล มีด้วยกัน 6 ประการ ได้แก่
1 การควบคุมประสิทธิกาของราคาสินค้าและบริการ การควบคุมด้านนี้หมายความถึง
การส่งสัญญาณราคาที่มีประสิทธิภาพให้แก่ผู้บริโภค
2 การควบคุมประสิทธิภาพด้านต้นทุนการผลิต การมีสภาพผูกขาดหรือมีอานาจเหนือตลาด
มักส่งผลทาให้ลดแรงจูงใจในการพัฒนา หรือยกระดับการบริหารต้นทุนให้ดีขึ้น
3ก า ร ค ว บ คุ ม ร ะ ดั บ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น
เป็นหน้าที่ซึ่งองค์กรกากับดูแลจะต้องพิจารณาให้กิจการที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลนั้น
4การควบ คุมระดับ คุณ ภาพและค วามห ลากหลาย ของสินค้าและบริการ
การลดต้นทุนและการแสวงหากาไรโดยอาศัยอานาจเหนือตลาดนั้นมักนามาสู่ปัญหาคุณภาพขอ
งสินค้าและบริการรวมถึงความหลากหลายของสินค้าที่ลดลง
5ก า ร ค ว บ คุ ม ร ะ ดั บ ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ แ ล ะ ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร
ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในทฤษฎีการแสวงหากาไรเกินปกติว่าอานาจผูกขาดในระดับต่าง ๆ
มักจะตามมาด้วย กาไรเกินปกติจากการผูกขาด
6ก า ร ค ว บ คุ ม ก าร ก ร ะจ า ย รา ย ได้ แ ล ะ ผ ล ป ระ โย ช น์ ท าง สัง ค ม
การพิจารณาเพื่อที่จะจัดสมดุลในการจัดสรรประโยชน์จากสินค้าและบริการนั้นมีหลากหลายแนว
คิด และที่ได้พบได้แพร่หลายคือ การพิจารณาให้น้าหนักกับผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต
บทบาทของ บมจ.ปตท. และภาครัฐในตลาดโครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
ความหมายของปิ โตรเลียม/กระบวนการนาปิ โตรเลียมไปใช้งาน
ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิตจานวนมากทับถมกันใต้หินตะก
อนและได้รับความร้อน และความดันมหาศาล มีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือคาร์บอน
และไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย แบ่งตามสถานะได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือน้ามันดิบ
และก๊าซธรรมชาติ
การนาปิโตรเลียมประเภท น้ามันดิบห รือก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้นั้น
จะต้องเริ่มต้นจากการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ซึ่งอาจมีหินกักเก็บปิโตรเลียมอยู่ ไม่ว่าจะอยู่บนบก
หรือใต้ทะเล โดยวิธีการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ ที่มีปิโตรเลียมหรือแหล่งปิโตรเลียมนั้นมีทั้งสิ้น 3วิธี
ประกอบไปด้วยการขุดเจาะห ลุมเพื่อสารวจตัวอย่างหิน การสารวจด้วยความโน้มถ่วง
และการสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน
โครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
โครงสร้างอุตสาหกรรมปิโตรเลียม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกิจการย่อยๆที่ประกอบกัน
แต่การดาเนินการที่เกิดขึ้นจริงนั้นกิจการย่อยแต่ละประเภทจะมีการดาเนินการส่วนใหญ่ที่แยกขาดจากกั
น
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมักจะอยู่ในรูปแบบของการขนส่งสินค้าที่กิจการหนึ่งที่ผลิตได้เข้าสู่อีกกิจการอื่นๆ
ในขั้นต้นจะทาการแบ่ งป ระเภทกิจการที่มีอยู่ทั้งห มดตามเกณฑ์ การใช้งานขั้นสุดท้าย
ซึ่งจะสามารถแบ่งกิจการที่มีอยู่ทั้งหมด ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
กิ จ ก า ร ขั้ น ต้ น น้ า กิ จ ก า ร ขั้ น ก ล า ง น้ า แ ล ะ กิ จ ก า ร ขั้ น ป ล า ย น้ า
หลังจากนั้นในกิจการขั้นน้าจะถูกแบ่งกลุ่มตามลักษณะทางกายภาพของสินค้าอีกครั้งหนึ่ง
กิจการของ บมจ.ปตท. ภายใต้โครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
กิจการขั้นต้นน้า โดยกิจการที่ บมจ.ปตท. ดาเนินงานเอง ได้แก่ กิจการจัดหาวัตถุดิบ ได้แก่
กิจการน้ามันดิบก๊าซธรรมชาติและก๊าซแอลเอ็นจีจากต่างประเทศโดยมีการตั้งสถานีรับ จัดเก็บ
และแปลงสภาพก๊าซแอลเอ็นจีให้กลายเป็นก๊าซธรรมชาติ
กิจการขั้นกลางน้า โดยกิจการที่ บมจ.ปตท. ดาเนินงานเองนั้นมีจานวนมาก ได้แก่
กิจการจัดหาและขนส่งก๊าซทางท่อ ซึ่งประกอบไปด้วยกิจการโรงแยกก๊าซ
กิ จ ก า ร ขั้ น ป ล า ย น้ า โ ด ย กิ จ ก า ร ที่ บ ม จ . ป ต ท .
ด า เ นิ น ง า น เ อ ง ใ น ส่ ว น ข อ ง กิ จ ก า น ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ นั้ น ไ ด้ แ ก่
กิจการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ก๊าชธรรมชาติทั้งรูปแบบของก๊าซที่ยังมิได้มีการกลั่นแยกและก๊าซที่มีการก
ลั่ น แ ย ก แ ล้ ว ห รื อ ที่ เ รี ย ก กั น โ ด ย ทั่ ว ไ ป ว่ า ก๊ า ช หุ ง ต้ ม
รวมถึงกิจการสถานีบริการผลิตภัณฑ์ก๊าซธรรมชาติเหล่านี้ด้วย
การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นต้นน้า
กิจการขั้นต้นที่สาคัญสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กิจการ ได้แก่ กิจการจัดหาก๊าซแอลเอ็นจี
และกิจการสารวจและจุกเจาะปิโตรเลียม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
กิ จ ก า ร จั ด ห า ก๊ า ช แ อ ล เ อ็ น จี
กิจการที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าก๊าซแอลเอ็นจีหรือก๊าชธรรมชาติในรูปของของเหลวจากต่างประเทศ
เมื่อได้รับก๊าซแอลเอ็นจีเข้าประเทศแล้วก็จัดทาการจัดเก็บรักษาและแปลงสภาพก๊าซแอลเอ็นจีที่อยู่ในรูป
ข อ ง อ ข อ ง เ ห ล ว ให้ ก ล า ย เ ป็ น ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ส ถ า นี รับ ก๊ า ซ แ อ ล เ อ็ น จี
หลังจากนั้นจะทาการส่งก๊าซที่แปลงสภาพแล้วเข้าท่อส่งก๊าซเพื่อนาไปรวมกับก๊าซธรรมชาติที่หาได้จาก
แหล่งอื่นๆต่อไป
กิจการการสารวจและการขุดเจาะปิ โตรเลียม
กิ จ ก า ร ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ก า ร ขุ ด เ จ า ะ ปิ โ ต ร เ ลี ย ม คื อ
กิจการที่เกี่ยวข้องกับการสารวจและขุดเจาะแหล่งปิโตรเลียมทั้งบนบกและในน้าขึ้นมาค้าขายทากาไร
กิ จ ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ขุ ด เ จ า ะ นั้ น
เป็ น กิ จ ก า ร ที่ มี รัฐ มี บ ท บ า ท ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง เ อ ก ช น ค่ อ น ข้ า ง สู ง
เ นื่ อ ง จ า ก รั ฐ บ า ล ซึ่ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง สั ม ป ท า น ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ต า ม ก ฎ ห ม า ย
มีจุดประสงค์ในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมและแสวงหารายได้สูงสุดจากสัมปทานให้แก่ต่างประเทศ
การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นกลางน้า
กิจการขั้นกลางน้าจะถูกแยกวิเคราะห์ออกเป็นทั้งหมด 3 กิจการ ได้แก่ กิจการโรงกลั่นน้ามัน
กิจการโรงแยกก๊าซ และกิจการขนส่งก๊าซผ่านระบบท่อ
กิ จ ก า ร โ ล ง ก ลั่ น น้ า มั น
เป็นกิจการที่จะรับปิโตรเลียมประเภทน้ามันดิบมาจากแท่นขุดเจาะเพื่อกลั่นแยกให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์
น้ า มั น ช นิ ด ต่ า ง ๆ ห น้ า ที่ ห ลั ก ข อ ง กิ จ ก า ร นี้ คื อ
ก า ร รั บ น้ า มั น ดิ บ ม า ก ลั่น ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ า มั น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ
และส่งขายต่อแก่ผู้บริโภคหรือกิจการในขั้นปลายน้า
กิ จ ก า ร โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ
กิจการโรงแยกก๊าซเป็นกิจการที่มีความคล้ายคลึงกับกิจการโรงกลั่นน้ามันเนื่องจากเป็นกิจการที่จะได้รับ
ปิโตรเลียมประเภท ก๊าซธรรมช าติจากแท่ นขุดเจาะผ่านท่ อส่งก๊ าซมายังโรงแย กก๊ าซ
แ ล ะ ท า ก า ร แ ย ก ก๊ า ซ ดั ง ก ล่ า ว ให้ ก ล า ย เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก๊ า ซ ช นิ ด ต่ า ง ๆ
จากนั้นจะทาการขนส่งผลิตภัณฑ์ก๊าซที่ได้ทางรถหรือระบบท่อไปยังผู้บริโภคหรือกิจการในขั้นปลายน้า
กิ จ ก า ร จั ด ห า แ ล ะ ข น ส่ ง ก๊ า ซ ท า ง ร ะ บ บ ท่ อ
เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งท่อตั้งแต่กิจการขั้นต้นน้า ประกอบไปด้วยกิจการย่อย 3
กิจการทั้งสิ้น ได้แก่ กิจการจัดหาและจาหน่ายก๊าซ กิจการท่อส่งก๊าซ กิจการท่อจาหน่ายก๊าซ
การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นปลายน้า
กิ จ ก า ร ใ น ขั้ น ป ล า ย น้ า
เป็ นกิ จการที่ มีการรับ ผลิตภัณ ฑ์ปิ โต รเลีย ม สาเร็จรูป มาจากกิ จการขั้น กลางน้ า
เพื่อกระจายต่อไปสู่ผู้บริโภคโดยตรง สรุปว่าท่างกลางกิจการขั้นปลายน้าที่มีอยู่มากมายนั้น
กิจก ารที่ ผู้ป ระกอ บ การน่ าจะมีมีอ าน าจเห นื อต ลาด สาห รับ ผ ลิต ภัณ ฑ์ ก๊ าซ คือ
สถานีบริการก๊าซเอ็นจีวีและสาหรับผลิตภัณฑ์น้ามัน คือ สถานีบริการน้ามัน
กิ จ ก า ร ส ถ า นี บ ริ ก า ร น้ า มั น
กิจการสถานีบริการน้ามันหรือปั๊มน้ามันเป็นกิจการที่มีหน้าที่หลักในการให้บริการเติมน้ามันสาเร็จรูปปร
ะเภทต่างๆ แก่รถยนต์ นอกเหนือไปจากนี้อาจมีกิจการเสริมอย่างอื่น
กิ จ ก า ร ส ถ า นี บ ริ ก า ร ก๊ า ซ เ อ็ น จี วี
กิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวีหรือปั๊มเอ็นจีวีเป็นกิจการที่มีหน้าที่หลักในการให้บริการเติมก๊าซเอ็นจีวีแ
ก่รถยนต์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 กิจการย่อย ได้แก่ กิจการสถานีบริการบนแนวท่อส่งก๊าซ
และสถานีบริการนอกแนวท่อส่งก๊าซ ทั้งสองกิจการนี้ต่างมีหน้าที่หลักในการให้บริการก๊าซเอ็นจีวี
แต่สิ่งที่แตกต่างกันสาหรับสองกิจการย่อยคือ วิธีการขนส่งก๊าซจากโรงแยกก๊าซไปยังสถานีบริการ
บทบาทของภาครัฐต่อโครงสร้างตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
ตลาดอุตสาหก รรมปิ โตรเลียมของประเทศไทยเป็ นตลาดที่ภ าครัฐเข้ามา
มีบทบาทในทุกกิจการขั้นน้าของอุตสาหกรรมทั้งในเรื่องของการดาเนินนโยบายและกากับดูแลตลาด
โดยห น่ วยงานภาครัฐที่มีอานาจสูงสุดต่อการกาหนดนโยบ าย พลังงานกฎ หมาย คือ
ค ณ ะกรรมการบ ริห ารนโย บ าย พลังง านแห่ ง ช าติซึ่ง มีนาย กรัฐมน ตรีเป็ นป ระธาน
และมีคณะรัฐมนตรีรวมถึงข้าราชการบางส่วนเป็นคณะกรรมการ
แม้ว่าโครงสร้างตลาดอุตสาห กรรมปิ โตรเลียมจะเป็ นโครงสร้างที่ บ มจ.ปตท .
เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี อ า น า จ ต ล า ด เ ห นื อ ก ว่ า ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร า ย อื่ น
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น กิ จ ก า ร ขั้ น ก ล า ง น้ า แ ล ะ ป ล า ย ย น้ า
และมีโอก าส สูง ใน ก ารใช้ อาน าจ เห นื อต ล าดที่ มีใน การแ สว ง ห าก าไรเ กิน ป ก ติ
แต่ตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศไทยเป็นตลาดที่ถูกควบคุมและแทรกแซงจากภาครัฐอยู่
อย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสาเร็จรูป ดังนั้น
อ า น า จ เ ห นื อ ก า ร ต ล า ด ใ น ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ที่ บ ม จ . ป ต ท .
มีอยู่นั้นอาจไม่ได้นาไปสู่การแสวงหากาไรเกินปกติอย่างไร้ขอบเขต
พฤติกรรมและผลลัพธ์ในการแสวงหากาไรเกินปกติจากการมีอานาจเหนือตลาดเดี่ยวและอานา
จผูกขาดของ บมจ.ปตท.
ในหัวข้อนี้จะทาการศึกษาถึงพฤติกรรมการใช้อานาจเหนือตลาด/อานาจผูกขาด บมจ.ปตท.
และผลลัพธ์จากการใช้อานาจเหนือตลาด/อานาจผูกขาดเหล่านั้นว่าสามารถนาไปสู่การได้รับกาไรเกินป
กติหรือไม่ และมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่สาคัญคือการใช้อานาจผูกขาด/อานาจเหนือการตลาดของ
บมจ.ปตท.
ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ จ า ก ร า ค า น้ า มั น ส า เร็ จ รู ป ห น้ า โ ร ง ก ลั่น
(พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจเหนือตลาดในกิจการโรงกลั่นน้ามัน)
โดยภาครัฐได้กาหนดสูตรการกาหนดราคาน้ามันสาเร็จรูปหน้าโรงกลั่นในปัจจุบัน คือ
ราคาน้ามันสาเร็จรูปหน้าโรงกลั่น = ราคาน้ามันสาเร็จรูปตลาดสิงคโปร์+ค่าขนส่ง+ค่าประกัน+ค่าประกันคุณภาพน้ามัน
โด ย อ า น า จ เ ห นื อ ก า ร ต ล า ด ใน กิ จ ก า ร โ ร ง ก ลั่น น้ า มั น ข อ ง บ ม จ .ป ต ท .
ไม่สามารถนาไปสู่พฤติกรรมการแสวงหากาไรผ่านราคาเพื่อแสวงหากาไรเกินปกติได้โดยตรง
เนื่องจากข้อจากัดเรื่องสูตรราคาที่กาหนดโดยภาครัฐ อย่างไรก็ตามภายใต้สูตรราคาที่กาหนดขึ้น
ก็ ไ ด้ ท า ใ ห้ บ ม จ . ป ต ท .
ได้รับกาไรเกินปกติจากการที่สูตรราคาได้มีการกาหนดให้มีการให้มีการนาต้นทุนค่าขนส่งน้ามันดิบจาก
ต่างประเทศและค่าประกันที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงเข้าไปในราคาน้ามันหน้าโรงกลั่น
ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ จ า ก ร า ค า ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ข า ย ส่ ง
(พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจผูกขาดโดยสมบูรณ์ในกิจการจัดหาและขนส่งก๊าซทางระบบท่
อ และกิจการจัดหาก๊าซแอลเอ็นจี)
สู ต ร ร า ค า ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 สู ต ร โ ด ย สู ต ร ที่ ห นึ่ ง
ใ ช้ ค า น ว ณ ร า ค า ก๊ า ซ ส า ห รั บ โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ แ ล ะ สู ต ร ที่ ส อ ง
ใช้สาหรับคานวณราคาก๊าซสาหรับลูกค้ารายอื่นๆ โดยส่วนประกอบของราคาก๊าซธรรมชาติขายส่งคือ
ร า ค า ข อ ง เ นื้ อ ก๊ า ซ , ต้ น ทุ น ส า ห รั บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร
และต้นทุนสาหรับการขนส่งแม้ว่าสูตรราคาที่เกิดขึ้นจะเป็นข้อจากัดในการแสวงหากาไรเกินปกติของ
บมจ.ปตท. แต่สูตรราคาก็ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติของ บมจ.ปตท.
ได้ทั้งหมดและตัวปรบางอย่างในสูตรราคาก็ยังมีส่วนในการสร้างกาไรเกินปกติในทางอ้อมให้แก่
บ ม จ . ป ต ท . อ ย่ า ง น้ อ ย 3 ป ร ะ ก า ร คื อ ร า ค า เ ฉ ลี่ ย เ นื้ อ ก๊ า ซ ,
อัตราค่าบริการสาหรับการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ และอัตราค่าบริการส่งก๊าซทางท่อในส่วน
Demand Charge
ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ร า ค า ก๊ า ซ เ อ็ น จี วี
(พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจเหนือตลาดในกิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี)
ผลลัพธ์ของการถูกควบคุมราคาขายปลีก ทาให้ บมจ.ปตท. ต้องตั้งราคาตามที่รัฐบาล
และแบกรับภาระขาดทุนสะสมจากกิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี
ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ ผ่ า น ช่ า ง ท า ง ร า ค า ก๊ า ซ แ อ ล พี จี
(พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ลัพ ธ์ จ า ก อ า น า จ ผู ก ข า ด ใน กิ จ ก า ร โ ร งแ ย ก ก๊ า ซ ,
อานาจเหนือตลาดในกิจการโรงกลั่นฯ)
การวิเคราะห์ผลลัพธ์ของพฤติกรรมการแสวงหากาไรทางช่องทางราคาจากก๊าซแอลพีจีของ
บมจ.ปตท. จะอยู่ภายใต้นโยบายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องการแทรกแซงตลาดก๊าซแอลพีจี ได้แก่
นโยบายการจัดสรรก๊าซแอลพีจีที่จัดหาได้ในป ระเทศให้แก่กลุ่มผู้ใช้ก๊าซประเภทต่างๆ,
นโยบ ายกาห นดราคาก๊าซแอลพีจี ณ โรงกลั่น/โรงแยกก๊าซฯ ให้ต่ากว่าราคาตลาดโลก
และนโยบายการกาหนดภาษี เงินส่งเข้ากองทุนน้ามันและค่าการตลาดในสูตรราคาก๊าซแอลพีจีขายปลีก
โครงสร้างสถาบันการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
จะแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
1. การศึกษาถึงแนวทางในการสร้างสถาบันกากับดูแลที่เหมาะสมจากกรณีศึกษาในต่างปร
ะเทศ
 แ บ บ จ า ล อ ง น อ ร์ เ ว ย์ (Norwegian model)
ต้นแบบการแยกอานาจและการถ่วงดุลตรวจสอบ
แบ่งแยกระบบธรรมาภิบาลของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
ส่ว นที่ห นึ่ง รัฐบ าลภาย ใต้นาย กรัฐมนตรีก ระท รว งปิ โตรเลีย มและพ ลัง งาน
มีห น้าที่ออกนโย บ าย เกี่ย ว กับ พลังง าน ส่ว นที่สอง สถาบันกากับ ดูแลอิสระ
ซึ่งทาหน้าที่วิเคราะห์รวบรวมข้อมูลการดาเนินกิจกรรมที่สัมพันธ์กับปิโตรเลียม ส่วนที่สาม
ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ร ว ม ไ ป ถึ ง รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ที่ รั ฐ ถื อ หุ้ น อ ยู่ ด้ ว ย
ซึ่งดาเนินกิจการในฐานะหน่วยธุรกิจที่ต้องแสวงหากาไร
 การปฏิรูประบบธรรมาภิบาล การกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมของยุโรป
การออกแบบการกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของยุโรปที่อิงกับกระแสเสรีนิ
ยมให ม่ตลอดช่ว งท ศ วรรษที่ผ่านมานั้นท าในสามเรื่องให ญ่ คือ ป ระการแรก
การแบ่งแยกการควบรวมแนวตั้งตลอดอุตสาหกรรมออกจากกัน ป ระการที่สอง
ลดการกีดขวางเพิ่มการแข่งขันการโยกย้ายการบริโภคได้
 การปฏิรูประบบกากับดูแลกิจการพลังงานของประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียมีความสนใจที่จะหยิบยกขึ้นมาศึกษาเนื่องจากสองสาเหตุเป็นอย่าง
น้อย คือ ประการแรก อินโดนีเซียเป็นประเทศที่บริษัทน้ามันแห่งชาติ ประการที่สอง
อินโดนีเซียเริ่มมีการปฏิรูประบบการกากับดูแลกิจการพลังงานของตนเอง
2. การวิเคราะห์รูปแบบการกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมประเทศไทย
 การออกแบบสถาบันสาหรับการกากับดูแลตลาด
ป ร ะเ ท ศ ไท ย ส า ม า รถ แ บ่ ง ไ ด้เ ป็ น 3 รูป แ บ บ รู ป แ บ บ ที่ ห นึ่ ง
ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล ที่ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย ฝ่ า ย บ ริ ห า ร คื อ
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น แ ห่ ง ช า ติ
ทาห น้าที่ควบคุมและส่งผ่านนโยบายลงไป สู่ห น่วยงานอีก 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่หนึ่ง
ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร ภ า ย ใ ต้ ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น โ ด ย ต ร ง
ซึ่งเป็นผู้ทาคู่มือการคานวณราคาก๊าซธรรมชาติและอัตราค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ กลุ่มที่สอง
คณ ะกรรมการที่ถูกจัดตั้งขึ้นเป็ นการเฉพ าะเพื่อท าห น้าที่ตามนโย บ าย ข อง
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น แ ห่ ง ช า ติ
(กพช.)ซึ่งมีหน้าที่ดูแลราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสาเร็จรูปค้าปลีก รูปแบบที่สอง
สถาบันกากับดูแลอิสระในรูปคณะกรรมการที่ยังอยู่ภ ายใต้อานาจของฝ่ายบริหาร
เป็นสถาบันกากับดูแลที่มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคลากรไม่ให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน
รูป แ บ บ ที่ สา ม ส ถ าบั น ก ากั บ ดู แ ลง บ ล ง ทุ น ข อง รัฐวิ สา ห กิ จ ห ม าย ถึ ง
ส ภ า พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ (ส ศ ช . )
ซึ่งมีหน้าที่ในการพิจารณาความเหมาะสมของงบประมาณการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึง
บมจ.ปตท. ที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทบมจ. และเข้าข่ายที่จะต้องนาเสนองบลงทุนต่อ
สศช.
 การออกแบบโครงสร้างตลาด
ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ต ล า ด ไ ด้ แ ก่
ก า รแ บ่ ง แ ย ก ก าร ค ว บ รว ม แ น ว ตั้ง ต ล อ ด อุ ต ส า ห ก รร ม อ อ ก จ า ก กั น ,
ก า ร ล ด ก า ร กี ด ข ว า ง เ พิ่ ม ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ฝั่ ง ผู้ ผ ลิ ต
และการสนับสนุนเลือกแก่ผู้บริโภคหรือเปิดไห้เกิดการโยกย้ายการบริโภคได้เป็นเกณฑ์ของตลา
ดในแบบที่ควรจะเป็นแล้ว
3. บทสรุปโครงสร้างสถาบันการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
 ตัวอย่างของระบบการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมในต่างประเทศ
ร ะ บ บ ก า ร ก า กั บ ดู แ ล ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ ย่ า ง เ ช่ น
ห ล าย ป ระเ ท ศ ใน ยุ โรป นั้น ต้อง ท าสิ่ง สา คัญ พ ร้อม กั น ส อง ท าง คือ ห นึ่ ง
ก า ร แ บ่ ง แ ย ก อ า น า จ ห น้ า ที่ ข อ ง ส ถ า บั น ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย ,
ส ถ า บั น ก า ร ก า กั บ ดู แ ล แ ล ะ ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ใ ห้ ชั ด เ จ น แ ล ะ ส อ ง
การป รับ ป รุง โค รงส ร้าง ต ลาด ให้ มีก ารแบ่ ง แย กกิ จก ารในอุ ตส าห ก รรม ,
กลางน้าและปลายน้าให้ชัดเจนและมีการออกกฎกติกาในการให้ผู้ประกอบการรายอื่นหรือบุคคล
ที่สามเข้ามาแข่งขันในตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
เชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
มิติสังคม-การเมือง
การผูกข าดที่เกิดขึ้นมักจะก่ อให้ เกิดกาไรระดับ สูงที่ เรีย กว่ากาไรเกินป ก ติ
อันเนื่องมาจากอานาจผูกขาด โดยการผูกขาดสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเท ได้แก่ 1.
การผูกข าดโดย สมบู รณ์ ซึ่งห มายถึงสภาว ะที่ตลาดมีผู้ประกอบ การเพีย งราย เดีย ว
อั น เ ป็ น ต ล า ด ที่ มี ร ะ ดั บ ก า ร ผู ก ข า ด ที่ สู ง ที่ สุ ด แ ล ะ 2 .
ก า ร ผู ก ข า ด ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มี อ า น า จ เ ห นื อ ต ล า ด
ซึ่งหมายถึงการผูกขาดในระดับที่เข้มข้นน้อยกว่ากรณีผูกขาดโดยสมบูรณ์ การผูกขาดลักษณะนี้คือ
ส ภ า ว ะ ที่ ต ล า ด มี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง ร า ย
แต่ผู้ประกอบการบางรายในตลาดนั้นมีอานาจในการกาหนดราคาและปริมาณสินค้าเหนือกลไกตลาดได้
ก า ร ผู ก ข า ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ต ล า ด
ไม่ว่าจะเป็นป ระเภท ใดมักจะนาไป สู่ภาวะที่ผู้ป ระกอบ การที่มีอานาจผูกข าดราย นั้น
มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใ ช้ อ า น า จ ผู ก ข า ด เ พื่ อ แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ
ซึ่ ง ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ นี้
มักจะทาให้ปริมาณสินค้าน้อยและราคาสินค้าสูงกว่าที่ควรจะเป็น จนกระทั่งผู้บริโภคเดือดร้อน ดังนั้น
ห า ก บ ม จ . ป ต ท .
มีอานาจผูกขาดในหลายกิจการของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและกิจการเหล่านั้นมีหน้าที่ผลิตปิโตรเลียมที่
จาเป็นแก่ผู้บริโภคแล้ว ผุ้บริโภคย่อมได้รับความเดือดร้อนจากอานาจผูกขาดของ บมจ.ปตท.
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ตั ด สิ น ว่ า บ ม จ . ป ต ท . มี อ า น า จ ผู ก ข า ด ห รื อ ไ ม่
และหากมีแล้วจะมีพฤติกรรมที่ใช้อานาจผูกขาดที่ตนมีไปแสวงหากาไรเกินปกติหรือไม่นั้น
ในเริ่มแรกจาเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ต่อไปถึงพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติของ บมจ.ปตท.
ภ า ย ใต้ อ า น า จ เ ห นื อ ต ล า ด / ผู ก ข า ด ใน ต ล า ด ที่ เ ข้ า ข่ า ย นั้ น ห ลัง จ า ก นั้ น
จึงจะทาการแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์จากพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นลาดับสุดท้าย
สา ห รับ ก า รวิ เค ร าะห์ ว่ าโค รง ส ร้าง ต ล าด มีลัก ษ ณ ะผู ก ข าด ห รือ ไม่ นั้ น
ผู้วิจัย จะถือว่าตลาดผูกขาดโดยสมบู รณ์ คือ ตลาดที่มีผู้ป ระกอบ การเพีย งรายเดีย ว
ส่วนตลาดที่มีการผูกขาดในระดับที่เข้มข้นน้อยกว่าจะอ้างอิงตามห ลักเกณฑ์ของ พรบ .
แข่งขันท างการค้า พ.ศ. 25 42 ที่ระบุถึงนิยามของตลาดผู กขาดไว้สองแบบ กล่าวคือ
ห ากต ลาดใด มีผู้ป ระก อบ ก ารราย เดีย ว มีส่ว น แบ่ ง ท าง การต ลาด เกิ นร้อย ละ 5 0
แ ล ะ ร า ย ไ ด้ จ า ก ย อ ด ข า ย ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร นั้ น เ กิ น ก ว่ า 1 ,0 0 0
ล้าน บ าท จะถือว่ าเป็ น ตลาด ที่ มีผู้ป ระก อบ ก ารราย เดีย ว ที่ มีอานาจเห นื อต ลาด
และหากตลาดใดมีผู้ประกอบการ 3 รายแรกที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดเกินกว่าร้อยละ 75
แ ล ะ ร า ย ไ ด้ ข อ ง ทั้ ง 3 ร า ย ร ว ม กั น เ กิ น ก ว่ า 1 ,0 0 0 ล้ า น บ า ท
จะถือว่าเป็นตลาดที่มีผู้ประกอบการหลายรายมีอานาจเหนือตลาดร่วมกัน
กิจการที่มีลักษณะตลาดผูกขาดหรือมีผู้ประกอบการมีอานาจเหนือตลาดอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
กิจการ ลักษณะของตลาด ผู้ประกอบ
เหนือตล
กิจการขั้นต้นน้า
กิจการสารวจและขุดเจาะปิโตรเลียม ตลาดที่มีผู้ประกอบการายเดียว มีอานาจเหนือตลาด
และตลาดที่มีผู้ประกอบการหลายรายมีอานาจเหนือตลาดร่วมกัน
เช
(กรณีอานาจเห
และเชฟรอนบม
(กรณีอานาจเห
กิจการจัดหาก๊าซแอลพีจี ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ (บมจ.ปตท.) บมจ
กิจการขั้นกลางน้า
กิจการโรงกลั่นน้ามัน ตลาดที่มีผู้ประกอบการเพียงรายเดียว มีอานาจเหนือตลาด บมจ
กิจการขนส่งก๊าซทางระบบท่อ ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ บมจ
กิจการโรงแยกก๊าซ ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ บมจ
กิจการขั้นปลายน้า
กิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี ตลาดที่มีผู้ประกอบการเพียงรายเดียว มีอานาจเหนือตลาด บมจ
ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ร ะ บ บ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล อิ ส ร ะ
ค ว ร มี ก า ร ท บ ท ว น ถึ ง ก า ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ ถ่ ว ง ดุ ล ต ร ว จ ส อ บ
และระบบความรับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างสามฝ่ายได้แก่ 1.ผู้ออกนโยบาย (ฝ่ายการเมือง)
2.หน่วยงานกากับดูแล และ 3. หน่วยธุรกิจโดยเฉพาะ บมจ.ปตท. ซึ่งมีอานาจเหนือตลาดหลายๆ
ตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมจากการที่ใช้ในปัจจุบันระบบถ่วงดุลตรวจสอบและระบบความรับผิดชอ
บ ยัง ไม่ป ระสบ ค ว ามสาเร็จเท่ าที่ค ว ร สังเกตได้จากกาไรเกินป กติที่ บ มจ.ป ตท .
ได้รับและการขัดกันแห่งผลประโยชน์ระหว่างหน่วยงานกากับดูแลที่ยังอยู่ภายใต้รัฐบาล กับ บมจ.ปตท.
ส่งผลให้งานศึกษาชิ้นนี้ เห็นควรให้มีการดาเนินงานในอีก 2 เรื่อง
ป ร ะ ก า ร แ ร ก
เร่งรัดให้เกิดการแบ่งแยกบุคลากรของรัฐ/ข้าราชการที่ทาหน้าที่กากับดูแลกิจการพลังงาน
แ ล ะ ท า ห น้ า ที่ บ ริห า ร ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ข อ ง รัฐ / บ ม จ . ป ต ท . อ อ ก จ า ก กั น
โ ด ย แ ม้ รั ฐ จ ะ ส า ม า ร ถ ส่ ง ตั ว แ ท น เ ข้ า ไ ป บ ริ ห า ร บ ม จ . ป ต ท .
ไ ด้ ต า ม สิ ท ธิ แ ล ะ ค ว า ม ส ม ค ว ร ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ให ญ่ ใ น กิ จ ก า ร ดั ง ก ล่ า ว
แต่ก็ไม่ควรให้เกิดความทับซ้อนกันจนกระทั่งนามาสู่การขัดกันแห่งผลประโยชน์
ป ระการ ที่ สอง การแบ่ ง แย ก ห น่ ว ย ง านก ากั บ ดู แ ลที่ ยัง อยู่ ภ าย ใต้รัฐบ าล
ออกมาเป็นสถาบันดูแลกากับอิสระจากรัฐ (หรืออย่ างน้อยควรมีอิสระยิ่งขึ้น) ด้วยกัน 3 ประการ
ป ร ะ ก า ร แ ร ก
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และขยายจานวนผู้เชี่ยวชาญด้านการกากับดูแลกิจการพลังงานให้เพิ่มขึ้นในอนา
คต ประการที่สอง พัฒนาการดาเนินนโยบายด้วยกฎเกณฑ์และหลักฐานมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ
แ ล ะ ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม ก า ร อ อ ก แ บ บ ห รือ แ ก้ ไข ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
เพื่อให้หน่วยงานกากับดูแลอิสระที่มีอยู่เดิม อาทิ คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.)
มีอิสระและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
หน่วยงานดูแลกากับอิสระ การเกิดขึ้นของห น่วยงานกากับอิสระดูแล หมายถึง
อิทธิพลทางการเมืองที่ลดลง โดยเฉพาะการแทรกแซงการกากับการดูแลกิจการพลังงานในรายกรณี
คงเหลือไว้เพียงการกากับนโยบาย เป้าหมาย และแนวปฏิบัติในภาพรวมเท่านั้น ดังนั้น ในแง่หนึ่ง
ห า ก ไ ม่ มี ก า ร ก า ห น ด ร ะ บ บ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ที่ ดี เ พี ย ง พ อ
ห น่ ว ย ง า น ก า กั บ ดู แ ล อิส ร ะนั้ น เ อ ง ที่ จ ะ ป ล อ ด จ า ก ก าร ต ร ว จ ส อ บ ถ่ ว ง ดุ ล
แ ล ะ อ า จ มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ไม่ เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ส อ ด ค ล้อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย ดั ง นั้ น
จึงต้องมีการดาเนินงานในสามส่วนต่อไปนี้อย่างจริงจัง
ประการแรก การออกแบบระบบธรรมาภิบาลและมาตรฐานในหน่วยงานกากับดูแลเอง อาทิ
รอบระยะเวลาการดารงตาแหน่ง คุณสมบัติของผู้ที่จะดานงตาแหน่งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ
ประการที่สองการสร้างค วาม รับ ผิดชอบต่อฝ่ายก ารเมืองห รือฝ่าย นโยบ าย กล่าวคือ
หน่วยงานกากับดูแลอิสระควรที่จะกาหนดเป้ าห มายที่แน่นอนซึ่งเหมาะสมในท างท ฤษฎี
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย ภ า พ ร ว ม ข อ ง รั ฐ บ า ล ห ลั ง จ า ก นั้ น
บ ริห า รก ากั บ ดู แ ลให้ เป็ นไป ต าม เป้ าห ม าย ดัง ก ล่ าว ด้ว ย วิธ รก ารดัง ก ล่ าว นี้
แ ม้ ฝ่ า ย ก า ร เ มื อ ง จ ะ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ม า แ ท ร ก แ ซ ง เ ป็ น ร า ย ก ร ณี
แต่หน่วยงานกากับดูแลอิสระก็จะต้องทางานตามกรอบ/แนวปฏิบัติ ที่ฝ่ายการเมืองได้กาหนดไว้
แ ล ะ ห า ก ท า ไ ม่ ไ ด้
ฝ่ายการเมืองก็มีความชอบธรรมที่จะเปลี่ยนแปลงผู้บริหารหรือมีมาตรการแทรกแซงอื่นๆ
ประการที่สาม การสร้างระบบความรับผิดชอบเชิงข่าวสารต่อประชาชน(Informative
accountability) ก า ร รั บ ผิ ด ช อ บ เ ชิ ง ข่ า ว ส า ร นี้ ห ม า ย ถึ ง
หน่วยงานกากับดูแลอิสระที่ควรจะมีการสื่อสารข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดาเนินงานของหน่วยงานต่อประช
า ช น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ผ่ า น ห ล า ย ช่ อ ง ท า ง
และต้องเป็นการสื่อสารที่สามารถนาไปสู่การประเมินศักยภาพของหน่วยงานกากับดูแลได้ด้วย อาทิ
ป ร ะ ก า ร แ ร ก ค ว ร มี ร อ บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที่ แ น่ น อ น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง
ควรมีการแสดงบันทึกการประชุมและการลงคะแนนเสียงหรือทัศนะประกอบการลงคะแนนเสียงทั้งที่เป็น
ฉ บั บ ย่ อ แ ล ะ ฉ บั บ เ ต็ ม
(Minutes)เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามเหตุและผลในการตัดสินใจของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญแต่ล
ะ ท่ า น ไ ด้ ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม ค ว ร มี ก า ร ท า ร า ย ง า น น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น
ที่กล่าวถึงตัวเลขทางเศรษฐกิจและพลังงานที่สาคัญซึ่งมีส่วนกาหนดมติหรือมาตรการต่างๆของหน่วยงา
นกากับดูแล
การผ ลิตบุ ค ลากรผู้เชี่ย ว ช าญ ด้าน กิจการพลัง ง าน และก ารสร้าง แรง จูง ใจ
จ า ก ว ร ร ณ ก ร ร ม ป ริ ทั ศ น์ ท า ง ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ พ บ ว่ า
ปัจจัยกาหนดความสาเร็จในระยะยาวต่อการกากับดุแลหน่วยธุรกิจในอุตสาหกรรมด้านพลังงาน ได้แก่
ก า ร ผ ลิต บุ ค ล า ก ร ทั้ ง ใน ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ บั ญ ชี แ ล ะเ ศ ร ษ ฐ ศ าส ต ร์
ที่มีความรู้ความเข้าใจในกิจการพลังงานเป็นอย่างดีขึ้นมาเพื่อที่จะสนับสนุนให้เกิดการกากับดูแลที่มีประ
สิท ธิ ภ า พ แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ศ า ส ต ร์ ห า ก ป ร า ศ จ า ก ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร
ความจากัดของผู้ชานาญการในตลาดจะทาให้มีความอิสระลดลง ตัวอย่างเช่น บุคลากรในตลาดมีจากัด
ผู้ชานาญการที่จะมาทาหน้าที่ดูแลเกือบทั้งหมดก็อาจจะมีประวัติการทางานหรือมีผลประโยชน์ดั้งเดิมสอ
ด ค ล้ อ ง กั บ ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ เ ป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง เ พิ่ ม เ ติ ม ก็ คื อ
การสร้างแรงจูงใจทั้งในแง่การจูงใจให้เกิดการเรียนในสาขาที่จะมาทางานกากับดุแล (อาทิ
ก า ร ใ ห้ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า )
และในแง่ของการจูงใจเมื่อเรียนจบแล้วให้ผู้จบการศึกษาเหล่านั้นตัดสินใจทางานในหน่วยงานกากับดูแล
ต่อ (อาทิ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม)
มิติสิ่งแวดล้อม
หลังจากสารวจค้นพบพื้นที่ที่น่าจะมีปิโตรเลียมกักเก็บเป็นจานวนมากแล้วจะทาการประเมินต่อไ
ปว่าการลงทุนเพื่อนาปิโตรเลียมขึ้นมาใช้การจากพื้นที่ดังกล่าวมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจหรือไม่
หากมีความคุ้มค่าก็จะทาการดาเนินการขุดเจาะโดยสร้างแท่นขุดเจาะขึ้นในบริเวณนั้นเพื่อนาปิโตรเลียม
ที่ ถู ก กั ก เ ก็ บ ใ น ชั้ น หิ น ข้ า ง ใ ต้ ขึ้ น ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ไ ป
ซึ่งปิโตรเลียมที่สารวจค้นพบในประเทศไทยและมีการดาเนินการขุดเจาะในปัจจุบันนั้นกระจายตัวอยู่ในบ
ริ เ ว ณ ภ า ค ก ล า ง ภ า ค เ ห นื อ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ
อ่าวไทยและพื้นที่ทับซ้อนระหว่างประเทศไทยและมาเลเซีย
เ มื่ อ ท า ก า ร ขุ ด เ จ า ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ขึ้ น ม า ไ ด้ แ ล้ ว
ปิ โต รเ ลีย ม ที่ ได้ก็ จะ ผ่ าน เ ข้ าสู่ ก ระบ ว น ก า รต่ าง ๆ บ น แ ท่ น เพื่ อ แย ก เอ า น้ า
แก๊สค าร์บ อนไดออกไซด์และสารปนเปื้ อนอื่นๆ ออกจากน้ ามันดิบ และก๊ าซธรรมช าติ
หลังจากนั้นจะมีการนาน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเข้าสู่กระบวนการผลิตเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นสุ
ด ท้ า ย ส า ห รั บ ใ ช้ บ ริ โ ภ ค ใ น ห ล า ย ๆ ท า ง
ปิโตรเลียมชนิดก๊าซธรรมชาติบางส่วนจะถูกส่งไปยังโรงไฟฟ้าเพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยตรง
ในข ณะที่ บ างส่วนจะถูกส่งไป ยังโรงแย กก๊ าซเพื่อแป รรูป เป็ นผลิตภัณ ฑ์ขั้นสุดท้าย
ส่วนปิโตรเลียมชนิดน้ามันดิบจะถูกส่งไปยังโรงกลั่นน้ามันเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายเช่นกัน
ห ลั ง จ า ก นั้ น
ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่ได้จะถูกส่งต่อไปยังผู้บริโภคหรือกิจการที่มีหน้าที่กระจายผลิตภัณฑ์เหล่านี้สู้ผู้บริ
โภค
มิติเทคโนโลยี / พลังงาน
ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิตจานวนมากทับถมกันใต้หินตะก
อนและได้รับความร้อน และความดันมหาศาล มีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือคาร์บอน
และไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กามะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน
ทั้งนี้ปิ โตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะแบ่งตามสถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊ าซ
ขึ้ น อ ยู่ กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็ บปิโตรเลีย ม
แบ่งตามสถานะได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือน้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
การนาปิโตรเลียมประเภท น้ามันดิบห รือก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้นั้น
จะต้องเริ่มต้นจากการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ซึ่งอาจมีหินกักเก็บปิโตรเลียมอยู่ ไม่ว่าจะอยู่บนบก
หรือใต้ทะเล โดยวิธีการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ ที่มีปิโตรเลียมหรือแหล่งปิโตรเลียมนั้นมีทั้งสิ้น 3วิธี
ประกอบไปด้วยการขุดเจาะห ลุมเพื่อสารวจตัวอย่างหิน การสารวจด้วยความโน้มถ่วง
และการสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน
กิ จ ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ขุ ด เ จ า ะ นั้ น
เป็ น กิ จ ก า ร ที่ มี รัฐ มี บ ท บ า ท ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง เ อ ก ช น ค่ อ น ข้ า ง สู ง
เ นื่ อ ง จ า ก รั ฐ บ า ล ซึ่ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง สั ม ป ท า น ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ต า ม ก ฎ ห ม า ย
มีจุดประสงค์ในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมและแสวงหารายได้สูงสุดจากสัมปทานให้แก่ต่างประเทศ
กิจการโรงกลั่นน้ามันเป็นกิจการที่จะรับปิโตรเลียมประเภทน้ามันดิบมาจากแท่นขุดเจาะเพื่อกลั่
นแยกให้กลายเป็ นผลิตภัณฑ์น้ามันชนิดต่างๆ ได้แก่ น้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ก๊าซแอลพีจี
แ ล ะ น้ า มั น ส า เ ร็ จ รู ป ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ ห น้ า ที่ ห ลั ก ข อ ง กิ จ ก า ร นี้ คื อ
ก า ร รั บ น้ า มั น ดิ บ ม า ก ลั่น ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ า มั น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ
แ ล ะ ส่ ง ข า ย ต่ อ แ ก่ ผู้ บ ริ โ ภ ค ห รื อ กิ จ ก า ร ใ น ขั้ น ป ล า ย น้ า
โดยที่กาไรของผู้ประกอบการในขั้นต้นจะมาจากสิ่งที่เรียกว่า ค่าการกลั่น (Gross Refining Margin-
GRM) ซึ่งหมายถึงส่วนต่างราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์น้ามันทุกประเภทที่กลั่นแยกได้กับราคาน้ามันดิบ
หลังจากได้ค่าการกลั่นแล้ว จะต้องนาไปหักกับต้นทุนอื่นๆอีก เช่น ค่าพลังงานที่ใช้ในการกลั่นน้า มัน
ค่ า เ งิน เ ดื อ น พ นั ก ง า น / ลู ก จ้า ง ค่ า เ สื่ อ ม ร า ค า ข อ ง โ ร ง ง า น ค่ า ด อ ก เ บี้ ย
ค่าบ ารุงรักษาโรงกลั่นและค่าสารเคมีสาห รับเพิ่มคุณภาพในกระบ วนการกลั่น เป็นต้น
ส่วนต่างระหว่างค่าการกลั่นและต้นทุนเหล่านี้ คือ กาไรสุทธิจากกิจการโรงกลั่นน้ามัน
กิจการโรงแยกก๊าซเป็นกิจการที่มีความคล้ายคลึงกับกิจการโรงกลั่นน้ามันเนื่องจากเป็นกิจการที่
จะได้รับปิโตรเลียมประเภทก๊าซธรรมชาติจากแท่นขุดเจาะผ่านท่อส่งก๊าซมายังโรงแยกก๊าซ
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด

More Related Content

Viewers also liked

กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...freelance
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์freelance
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologofreelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานfreelance
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 

Viewers also liked (14)

กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 

Similar to กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด

หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลWiroj Suknongbueng
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังNattakorn Sunkdon
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45Taraya Srivilas
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่freelance
 
How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?DrDanai Thienphut
 

Similar to กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด (20)

หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
 
How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด

  • 1. กลุ่ม LNG505 หนังสือโมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด 54210410 นายภาสภณ กมล 54213011 นายบริพัตร จันทร์สมโภชน์ 54213026 นางสาวผกามาศ สุขประเสริฐ 54213037 นางสาวอธิษฐาน ปลื้มมาลี 54210400 นายนฤนาท คล้ายบัณดิษฐ์ 54218625 นางสาวนิติมา จารุธนกุล 54218651 นายศุภณัฐ ด่วนทวีสุข 54213039 นางสาวเมนิตา การุญ 54213698 นายเดชาวัจน์ ติรสุวรรณวาสี
  • 2. โมโนโปลี พลังงานไทยในเกมผูกขาด สรุปสาระสาคัญ ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ไ ด้ พ ย า ย า ม ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แล ะก ล ไก ใน เชิ ง โค รง ส ร้าง ที่ ท าให้ ก ระบ ว น ก าร ผู ก ข าด ท รัพ ย า ก รพ ลัง ง า น โด ย ข ย า ย ให้ เ ห็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ตั้ง แ ต่ ต้ น น้ า ก ล า ง น้ า แ ล ะ ป ล า ย น้ า เพื่อทาความเข้าใจว่าการผูกขาดเกิดขึ้นที่ขั้นตอนใดหรือกระบวนการใด การผูกขาดนั้นถือว่าเป็นตัวการสาคัญของการทาร้ายทาลายประสิทธิภาพในเชิงเศรษฐศาสตร์ จึงไม่ใช่สิ่งที่ยอมรับได้ว่าเป็นไปตามกฎกติกาของการแข่งขันแบบทุนนิยมเสรี และหากดูให้ดี การผูกขาดมักจะเกิดขึ้นได้ในบริบทแวดล้อมที่มีการผูกขาดอานาจไว้กับคนบางกลุ่มบางพวกเท่านั้น หาใช่เรื่องของฝีมือหรือความสามารถในการแข่งขันแต่อย่างใด นอกจากนี้ การผูกขาดยังนาไปสู่ปัญหาเรื่องธรรมาภิบาลหรือผลประโยชน์ทับซ้อน เรื่อย ไป จนถึง การกระจาย ผ ลป ระโย ช น์ และค ว ามเสี่ย ง จากน โย บ าย ซึ่งในที่ สุด กลุ่มคนที่เสียเปรียบที่สุดในสังคมซึ่งเข้าไม่ถึงการมีส่วยร่ว มในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ก็ ย่ อ ม เ ข้ า ไ ม่ ถึ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ท รั พ ย า ก ร พ ลั ง ง า น เ ห ล่ า นี้ และยังมีแนวโน้มที่จะเป็นกลุ่มที่ต้องรับภาระความเสี่ยงจากมลพิษ และเทคโนโลยีมากที่สุดอีกด้วย กระบวนการผูกขาดจึงเป็นเรื่องที่สังคมไทยควรใส่ใจ และสารวจตรวจสอบอย่างใกล้ชิด ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ห า ค ว า ม ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ใ น เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ นั้นไม่ ใช่ เรื่อง ข อง ค น ใดค น ห นึ่ งห รือข อง ค นก ลุ่มใดก ลุ่มห นึ่ง และในเบื้ องต้นนั้น เ ร า ย่ อ ม ไม่ อ า จ เ รี ย ก ร้อ ง ให้ ใค ร มี ป ฏิ บั ติ ก า ร ส ร้า ง ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม ไ ด้ หากต้องเริ่มจากการถามตัวเองก่อนเป็ นอันดับแรก ว่าพวกเราแต่ละคน แต่ละองค์กร จะกาหนดบทบาทและหน้าที่ของตนในแต่ละเรื่องอย่างไร บทนา บ ริ ษั ท ป ต ท . จ า กั ด ( ม ห า ช น ) เป็ น บ ริษั ท ที่ ด าเ นิ น ธุร กิ จ ด้า น พ ลัง ง าน ที่ มีข น าด ให ญ่ ที่ สุ ด ใน ป ร ะเ ท ศ ไท ย และเป็นบริษัทมหาชนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์สูงสุดในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย น อ ก จ า ก นี้ บ ม จ . ป ต ท . ยังมีสถานะของรัฐวิสาหกิจจากการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นของบริษัทจานวนร้อยละ 51.11 นอกจาก บ ม จ .ป ต ท . จ ะ มี บ ท บ า ท ใน ก า ร แ ส ว ง ห า ก าไ รสู ง สุ ด ใน ฐ า น ะเ อ ก ช น แ ล้ ว ยังมีบทบาทในการดาเนินตามนโยบายพลังงานของรัฐบาลในฐานะรัฐวิสาหกิจ
  • 3. บมจ.ปตท. มีบทบาทในการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับพลังงานในรูปแบบปิโตรเลีย ม แ ล ะ พ ลั ง ง า น ท า ง เ ลื อ ก ม า ก ม า ย ทั้ง ในรูป แ บ บ ข อง ก ารด าเนิ นก ารเอง ห รือ การตั้ง บ ริษัท ย่ อย ขึ้น ม าดาเนิ น ก าร การประกอบกิจการด้านพลังงานนั้นครอบคลุมตั้งแต่ขั้นการจัดการหาวัตถุดิบ แปรรูป และขนส่ง จนไปถึงการกระจายสินค้าให้แก่ผู้บริโภค และด้วยผลประกอบการที่สูงส่งผลให้ บมจ.ปต ท เป็นรัฐวิสาหกิจที่ส่งเงินเข้ารัฐสูงเป็นอันดับหนึ่งโดยตลอด อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี ก า ไ ร สู ง ขึ้ น ทุ ก ปี นั้ น ถูกตั้งข้อสงสัยว่าอาจเป็นผลมาจากนโยบายที่เอื้อประโยชน์หรือสิทธิพิเศษที่ภาครัฐมอบไว้แก่ บ ม จ . ป ต ท . แ ต่ เ พี ย ง ผู้ เ ดี ย ว ก็ เ ป็ น ไ ด้ เช่นการมอบโครงข่ายท่อก๊าซและสิทธิประโยชน์จากการใช้โครงข่ายท่อก๊าซให้แก่ บมจ.ปตท. แ ต่ เ พี ย ง ผู้ เ ดี ย ว ห รื อ อื่ น ๆ ซึ่ ง ส ถ า น ะ ที่ บ ม จ . ป ต ท . เป็นผู้ประกอบรายให ญ่ห รือผู้ประกอบเพียงรายเดียวในตลาดย่อมส่งผลให้ บมจ.ปตท . มีอานาจผูกขาดในการกาหนดราคาหรือปริมาณสินค้าในตลาดเพื่อแสวงหากาไรสูงสุดได้ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ได้มีสมมติฐานหนึ่งว่าอานาจผูกขาดที่เกิดขึ้นมักจะทาให้ผู้ประกอบการที่มี อานาจนั้นมีพฤติกรรมการแสวงหากาไรในระดับที่สูงเกินกว่าที่ควรจะเป็น หรือที่เรียกกันว่า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก อ า น า จ ผู ก ข า ด (Monopoly rent)ซึ่ ง ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ นี้ มักจะทาให้ปริมาณสินค้าน้อยและราคาสินค้าสูงกว่าที่ควรจะเป็นจนกระทั่งผู้บริโภคเดือดร้อน จึ ง เ ป็ น ที่ น่ า ส น ใ จ ที่ จ ะ ศึ ก ษ า ภาย ใต้การป ระกอบ กิจการที่มีภาย ในตลาดอุตสาห กรรมพลังงานข อง บ มจ.ป ตท . โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมหลังงานในรูปแบบปิโตรเลียมซึ่งเป็นพลังงานส่วยใหญ่ที่มีการบริโภคในไ ท ย มีกิจการใดบ้ างได้มีพฤติกรรมการแสว งห ากาไรเกินป กติเกิดขึ้นในลักษ ณ ะใด และผลลัทธ์ของพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติสามารถส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างไร ทฤษฎีสาหรับวิเคราะห์การผูกขาดและการแสวงหากาไรเกินปกติในตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลี ยม การผูกขาด (Monopoly) โดยมากแล้วหมายถึง สถานะหรือพฤติกรรมที่ตรงกันข้ามกับ การแข่งขัน (Competition) กล่าวคือในขณะที่ระดับการผูกขาดเพิ่มสูงขึ้นการแข่งขันก็จะลดลง แนวคิดดังกล่าวนี้ปรากฏใน ดัชนีเลอเนอร์ ซึ่งเป็นมาตรวัดระดับการผูกขาด แต่ไม่ใช่ทุก ๆ ระดับการผูกขาดที่จะก่อให้เกิดปัญ ห า โดยการผูกขาดที่มักจะให้เกิดปัญ หานั้น ได้แก่ การผูกขาดสมบูรณ์ และการผูกขาดในลักษณะที่มีอานาจครอบงาเหนือตลาด
  • 4. ปัญหาของการผูกขาดโดยทั่วไปนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายประการ 1.ประการแรก การผูกขาดก่อให้เกิดแรงจูงใจที่น้อยลงในการพัฒนาคุณภาพสินค้า 2.ประการที่สอง การผูกขาดมักเป็นต้นตอของการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม 3.ประการที่สาม การคอรัปชันเพื่อให้เอกชนสามารถผูกขาดหรือลดการแข่งขัน สาหรับการผูกขาดโดยสมบูรณ์นั้น ก็หมายถึงสภาวะที่ตลาดมีผู้ขายเพียงรายเดียว กฎหมายการแข่งขันทางการค้าในฐานะเกณฑ์ชี้วัด โครงสร้าง และพฤติกรรม การผูกขาด โดนสรุปสาระสาคัญของ พรบ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 ได้แก่ การกาหนดโครงสร้าง และพฤติกรรม ของการใช้อานาจเหนือตลาดให้เป็นความผิด โดยแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะสาคัญ ได้แก่ 1 . ป ร ะ ก า ร แ ร ก ( ม า ต ร า 2 5 ) ก ล่า ว ถึง พ ฤ ติ ก รรม ใช้ อา น าจ เห นื อต ลา ด ข อ ง ผู้ป ร ะก อ บ ก ารราย ให ญ่ เพื่อกีดกันหรือจากัดการแข่งขัน 2 .ป ระการที่ ส อง (ม าต รา 2 6 ) กล่ าว ถึง พ ฤ ติก รรม ก ารรว มธุ รกิ จ จนกระทั่งมีอานาจเหนือตลาดและสร้างความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน 3.ประการที่สาม (มาตรา 27) กล่าวถึงการร่วมมือกันระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อผูกขาด ลด หรือจากัดการแข่งขัน 4.ประการสุดท้าย (มาตรา 29) กล่าวถึงกี่ดาเนินการค้าไม่เป็นธรรมด้านอื่น ๆ เพื่อขัดขวาง กีดกัน หรือจากัดการแข่งขันทางการค้า ทฤษฎีกาไรเกินปกติ (ค่าเช่า) และการแสวงหากาไรเกินปกติ การมีพฤติกรรมตามองค์กรป ระกอบ ความผิดของมาตราที่ 25 – 29 ใน พรบ . ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ก า ร ค้ า พ . ศ . 2 5 4 2 นั้ น นอกจากจะทาลายคู้แข่งทางการค้าทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือที่จะมีในอนาคตแล้ว ในอีกด้านหนึ่ง ผ ล ลั พ ธ์ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ศั ก ย ภ า พ ใน ก า รท าก า ไรที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น เ กิ น ก ว่ า ป ก ติ ซึ่งทฤษฎีที่กล่าวถึงความเชื่อโยงนี้ได้แก่ ทฤษฎีค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ท ฤษ ฎี ค่าเช่ าท าง เศ รษ ฐกิจ อธิบ าย ว่ า ค่ าเช่ าท าง เศ รษ ฐกิ จ ห ม าย ถึง มลค่าของกาไรที่เกินจ่ากระดับกาไรขั้นต่าที่สุดที่ผู้ผลิตสามารถยองรับได้
  • 5. แ ล ะ ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ค่ า เ ช่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห ม า ย ถึ ง สิ่งที่ผู้บริโภคจาต้องจ่ายไปสูงกว่าที่ควรจะเป็นเพื่อให้ได้มาเพื่อสิ่งที่ตนต้องการ โดยจะใช้คาว่า กาไรเกินปกติ แทนคาว่า ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ รูปแบบของกาไรเกินปกติ และผลกระทบ กาไรเกินป กติจากการผูก ข าด กาไรป ระเภ ท นี้มีแห ล่ง ที่มาจากการผูกข าด ในท างเศ รษฐศ าสตร์แล้ว เมื่อผู้ข ายบ างรายสามารถผูกขาดการข ายสินค้าในตลาด ก็จะส่งผลให้ผู้ผลิตดังกล่าวสามารถกาหนดปริมาณการผลิต และระดับราคาของตลาดได้ กาไรเกินป กติจากท รัพย ากรธรรมช าติ แกเร็ตฮ าร์ดิน ได้กล่าวสิ่งที่เรีย กว่ า โศกนาฏกรรมของทรัพยากร ซึ่งหมายถึง ทรัพยากรร่วม ซึ่งมีคุณสมบัติ 2 ประการ คือ 1.ประการที่หนึ่ง กีดกันคนอื่นไม่ให้ใช้งานได้ 2.ประการที่สอง ใช้แล้วหมดไปจึงต้องแข่งกันใช้ กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอน หมายถึง กาไรเกินปกติที่เกิดจากกลไกทางการเมือง โดยชี้ให้เห็นว่า ในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลาย รายได้จากการผลิตของเอกชนจานวนมากเกิดมาจาก กระบวนการอุดหนุน หรือ แปลงทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของเอกชน กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอน หมายถึง กาไรเกินปกติที่เกิดจากกลไกทางการเมือง โดยชี้ให้เห็นว่าในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลาย รายได้จากการผลิตของเอกชนจานวนมากเกิดมาจาก กระบวนการอุดหมุน หรือ แปลงทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของเอกชน กาไรเกิ นป กติจากนวัตกรรม ห มาย ถึง กาไรเกิ นป กติที่เกิดจากน วัตก รรม หรือการจัดการให้เกิดข้อมูลความรู้ กาไรปกติเพื่อการเรียนรู้ องค์ความรู้บางอย่างแม้มิได้ผลิตสร้างขึ้นเองแต่สามารถเรียนรู้ได้ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี นั้ น มี ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ยู่ ก ล่ า ว คื อ แม้ว่ าห ากเรีย นรู้สาเร็จก็จะท าให้ต้นการผลิตลดลงห รือมีคุณ ภาพ สิน ค้าที่ดีขึ้นได้ ทาให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี และอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ จ า ก ก า ร ต ร ว จ แ ล ะ บ ริ ห า ร เป็ น ก า ไร เกิ น ป ก ติที่ เกิ ด จ า ก ก า ร ป รับ เ ป ลี่ย น ก า ร บ ริห า รง า น ให้ ดียิ่ ง ขึ้ น ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพได้นั้นก็โดยสร้างระบบควบคุมดูแล หรือระบบบริหารที่ดีขึ้นมานั่นเอง ดังนั้นการพัฒนาระบบเหล่านี้จึงเป็นแหล่งที่มาของกาไรเกินปกติได้เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากงานศึกษาชิ้นนี้เน้นศึกษากาไรเกินปกติที่เกิดสภาพผูกขาด แล ะ เกิ ด จ าก สิท ธิพิ เ ศ ษ ซึ่ง เกิ ด จ าก ก าร สิท ธิค ว าม เป็ น รัฐข อ ง บ ม จ.ป ต ท .
  • 6. ดังนั้นกาไรเกินปกติที่จะอ้างถึงในงานชิ้นนี้ จึงเน้นไปที่สองรูปแบบได้แก่ กาไรเกินปกติจากการผูกขาด และ กาไรเกินปกติจากการถ่ายโอนเท่านั้น การแสวงหากาไรเกินปกติ ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ จ า ก ก า ร ผู ก ข า ด แ ล ก า ร ถ่ า ย โ อ น เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ เ อ ก ช น ห รื อ บ ริ ษั ท กึ่ ง รั ฐ กึ่ ง เ อ ก ช น พ ย าย ามที่ จ ะเข้ าถึงก าไรเกิ น ป กติทั้ง สอง รูป แบ บ ให้ ได้โด ย วิถีท าง ก ารเมือ ง หรือก็คือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกิจการของตนกับนักการเมืองหรือข้าราชการที่มีบทบาทในการตั ว สิ น ใ จ ท า ง น โ ย บ า ย เ พื่ อ เ อื้ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ ให้แก่การสร้างภาวะผูกขาดหรือโอนถ่ายกาไรมาให้แก่กิจการของตนเองได้ คาถามคือทาไมต้องเป็นด้านการเมือง สาเหตุเกิดจากสองประการเป็นอย่างน้อย คือ ป ร ะ ก า ร แ ร ก เนื่องจากฝ่ายการเมืองมีอานาจอย่างมากที่สร้างสภาพผูกขาดขึ้นมาหรือโอนถ่ายกาไรไปให้แก่เ อกชน เพราะรัฐมีทรัพยากรจานวนมาก และมีอานาจที่จะจัดสรรทรัพย์สินเหล่านั้น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง หากเอกชนดาเนินกิจการผูกขาดโดยตรงโดยใช้พฤติกรรมเข้าข่ายมีอานาจเหนือตลาดในการแส ว ง ห า ก า ไร ก็ จ ะ ถู ก ขั ด ข ว า ง โด ย ก ฎ ห ม า ย ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ก า ค้ า ห รื อ อ ง ค์ ก ร อิ ส ร ะ ที่ ท า ห น้ า ที่ ก า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร เ ฉ พ า ะ ดังนั้นเอกชนจึงจาเป็นต้องได้รับการร่วมมือจากรัฐเพื่อแทรกแซงหลบเลี่ยงการตรวจสอบ การลดต้นทุน และการปกป้ องรักษากาไรเกินปกติ เมื่อการแสวงหากาไรเกินปกติมีต้นทุน และต้นทุนดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นเป็นลาดับ ท า ใ ห้ จ า กั ด ข อ บ เ ข ต ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ท ว่ า แ ร ง ผ ลั ก ดั น ข อ ง เ อ ก ช น ที่ จ ะ ค ร อ ง ก า ไ ร เ พิ่ ม ขึ้ น นั้ น ไ ร้ขี ด จ า กั ด ดังนั้นเพื่อให้กิจการสามารถเข้าถึงกาไรเกินปกติได้สูงขึ้นกว่ าเดิมจึงต้องมีกระบวนการ ลดต้นทุนในการแสวงหากาไรเกินปกติ การลดต้นทุนในการแสวงหากาไรเกินปกตินั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้านหลัก ได้แก่ ประการแรก การลดต้นทุนจากการถูกตรวจสอบโดยกลไกสถาบัน ประการที่สอง การลดต้นทุนอันเกิดจากกลไกของการให้ข้อมูลข่าวสาร การลดต้นทุนนอกจากช่วยขยายขอบเขตหรือขนาดของกาไรเกินปกติที่เอกชนจะครอบครองได้ แล้ว ในอีกแง่หนึ่งยังมีความสาคัญ ในฐานะกระบวนการปกป้ องรักษากาไรเกินปกติเดิม
  • 7. ใ ห้ ค ง อ ยู่ ไ ป ไ ด้ ย า ว น า น อี ก ด้ ว ย เพื่อให้เกิดความเข้าใจจะแยกอธิบายเป็นสองกรณีตามรูปแบบของการแทรกแซง ดังนี้ ป ร ะ ก า ร แ ร ก ด้ า น ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล นั้ น ส่ง ผลให้ มีโอกาสลดน้อย ลง ที่สถ าบั น กากับ ดูแลเห ล่านี้จะเข้ ามาท าห น้าที่ ลดกาไรเกินปกติหรือทาโทษในทางใดทางหนึ่ง ป ระ ก าร ที่ ส อ ง ด้า น ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ก ล ไก ให้ ข้ อ มู ล ข่ าว ส าร นั้ น การที่กลไกเหล่านี้ไม่ทางานก็ย่อมทาให้การแสวงหากาไรเกินปกติดาเนินไปได้โดยปราศจากแร งต่อต้านทางสังคม หรือเอกชนรายอื่นที่ประสบภาวะเสียเปรียบไม่เป็นธรรม การกากับดูแลการผูกขาดและการแสวงหากาไรเกินปกตินอกพระราชบัญญัติการแข่งขันทางกา รค้า เป้าหมายของการกากับดูแล มีด้วยกัน 6 ประการ ได้แก่ 1 การควบคุมประสิทธิกาของราคาสินค้าและบริการ การควบคุมด้านนี้หมายความถึง การส่งสัญญาณราคาที่มีประสิทธิภาพให้แก่ผู้บริโภค 2 การควบคุมประสิทธิภาพด้านต้นทุนการผลิต การมีสภาพผูกขาดหรือมีอานาจเหนือตลาด มักส่งผลทาให้ลดแรงจูงใจในการพัฒนา หรือยกระดับการบริหารต้นทุนให้ดีขึ้น 3ก า ร ค ว บ คุ ม ร ะ ดั บ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น เป็นหน้าที่ซึ่งองค์กรกากับดูแลจะต้องพิจารณาให้กิจการที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลนั้น 4การควบ คุมระดับ คุณ ภาพและค วามห ลากหลาย ของสินค้าและบริการ การลดต้นทุนและการแสวงหากาไรโดยอาศัยอานาจเหนือตลาดนั้นมักนามาสู่ปัญหาคุณภาพขอ งสินค้าและบริการรวมถึงความหลากหลายของสินค้าที่ลดลง 5ก า ร ค ว บ คุ ม ร ะ ดั บ ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ แ ล ะ ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในทฤษฎีการแสวงหากาไรเกินปกติว่าอานาจผูกขาดในระดับต่าง ๆ มักจะตามมาด้วย กาไรเกินปกติจากการผูกขาด 6ก า ร ค ว บ คุ ม ก าร ก ร ะจ า ย รา ย ได้ แ ล ะ ผ ล ป ระ โย ช น์ ท าง สัง ค ม การพิจารณาเพื่อที่จะจัดสมดุลในการจัดสรรประโยชน์จากสินค้าและบริการนั้นมีหลากหลายแนว คิด และที่ได้พบได้แพร่หลายคือ การพิจารณาให้น้าหนักกับผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต บทบาทของ บมจ.ปตท. และภาครัฐในตลาดโครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม ความหมายของปิ โตรเลียม/กระบวนการนาปิ โตรเลียมไปใช้งาน ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิตจานวนมากทับถมกันใต้หินตะก อนและได้รับความร้อน และความดันมหาศาล มีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือคาร์บอน
  • 8. และไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย แบ่งตามสถานะได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือน้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ การนาปิโตรเลียมประเภท น้ามันดิบห รือก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้นั้น จะต้องเริ่มต้นจากการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ซึ่งอาจมีหินกักเก็บปิโตรเลียมอยู่ ไม่ว่าจะอยู่บนบก หรือใต้ทะเล โดยวิธีการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ ที่มีปิโตรเลียมหรือแหล่งปิโตรเลียมนั้นมีทั้งสิ้น 3วิธี ประกอบไปด้วยการขุดเจาะห ลุมเพื่อสารวจตัวอย่างหิน การสารวจด้วยความโน้มถ่วง และการสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน โครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม โครงสร้างอุตสาหกรรมปิโตรเลียม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกิจการย่อยๆที่ประกอบกัน แต่การดาเนินการที่เกิดขึ้นจริงนั้นกิจการย่อยแต่ละประเภทจะมีการดาเนินการส่วนใหญ่ที่แยกขาดจากกั น ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมักจะอยู่ในรูปแบบของการขนส่งสินค้าที่กิจการหนึ่งที่ผลิตได้เข้าสู่อีกกิจการอื่นๆ ในขั้นต้นจะทาการแบ่ งป ระเภทกิจการที่มีอยู่ทั้งห มดตามเกณฑ์ การใช้งานขั้นสุดท้าย ซึ่งจะสามารถแบ่งกิจการที่มีอยู่ทั้งหมด ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ กิ จ ก า ร ขั้ น ต้ น น้ า กิ จ ก า ร ขั้ น ก ล า ง น้ า แ ล ะ กิ จ ก า ร ขั้ น ป ล า ย น้ า หลังจากนั้นในกิจการขั้นน้าจะถูกแบ่งกลุ่มตามลักษณะทางกายภาพของสินค้าอีกครั้งหนึ่ง กิจการของ บมจ.ปตท. ภายใต้โครงสร้างอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม กิจการขั้นต้นน้า โดยกิจการที่ บมจ.ปตท. ดาเนินงานเอง ได้แก่ กิจการจัดหาวัตถุดิบ ได้แก่ กิจการน้ามันดิบก๊าซธรรมชาติและก๊าซแอลเอ็นจีจากต่างประเทศโดยมีการตั้งสถานีรับ จัดเก็บ และแปลงสภาพก๊าซแอลเอ็นจีให้กลายเป็นก๊าซธรรมชาติ กิจการขั้นกลางน้า โดยกิจการที่ บมจ.ปตท. ดาเนินงานเองนั้นมีจานวนมาก ได้แก่ กิจการจัดหาและขนส่งก๊าซทางท่อ ซึ่งประกอบไปด้วยกิจการโรงแยกก๊าซ กิ จ ก า ร ขั้ น ป ล า ย น้ า โ ด ย กิ จ ก า ร ที่ บ ม จ . ป ต ท . ด า เ นิ น ง า น เ อ ง ใ น ส่ ว น ข อ ง กิ จ ก า น ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ นั้ น ไ ด้ แ ก่ กิจการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ก๊าชธรรมชาติทั้งรูปแบบของก๊าซที่ยังมิได้มีการกลั่นแยกและก๊าซที่มีการก ลั่ น แ ย ก แ ล้ ว ห รื อ ที่ เ รี ย ก กั น โ ด ย ทั่ ว ไ ป ว่ า ก๊ า ช หุ ง ต้ ม รวมถึงกิจการสถานีบริการผลิตภัณฑ์ก๊าซธรรมชาติเหล่านี้ด้วย
  • 9. การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นต้นน้า กิจการขั้นต้นที่สาคัญสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กิจการ ได้แก่ กิจการจัดหาก๊าซแอลเอ็นจี และกิจการสารวจและจุกเจาะปิโตรเลียม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ กิ จ ก า ร จั ด ห า ก๊ า ช แ อ ล เ อ็ น จี กิจการที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าก๊าซแอลเอ็นจีหรือก๊าชธรรมชาติในรูปของของเหลวจากต่างประเทศ เมื่อได้รับก๊าซแอลเอ็นจีเข้าประเทศแล้วก็จัดทาการจัดเก็บรักษาและแปลงสภาพก๊าซแอลเอ็นจีที่อยู่ในรูป ข อ ง อ ข อ ง เ ห ล ว ให้ ก ล า ย เ ป็ น ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ส ถ า นี รับ ก๊ า ซ แ อ ล เ อ็ น จี หลังจากนั้นจะทาการส่งก๊าซที่แปลงสภาพแล้วเข้าท่อส่งก๊าซเพื่อนาไปรวมกับก๊าซธรรมชาติที่หาได้จาก แหล่งอื่นๆต่อไป กิจการการสารวจและการขุดเจาะปิ โตรเลียม กิ จ ก า ร ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ก า ร ขุ ด เ จ า ะ ปิ โ ต ร เ ลี ย ม คื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกับการสารวจและขุดเจาะแหล่งปิโตรเลียมทั้งบนบกและในน้าขึ้นมาค้าขายทากาไร กิ จ ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ขุ ด เ จ า ะ นั้ น เป็ น กิ จ ก า ร ที่ มี รัฐ มี บ ท บ า ท ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง เ อ ก ช น ค่ อ น ข้ า ง สู ง เ นื่ อ ง จ า ก รั ฐ บ า ล ซึ่ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง สั ม ป ท า น ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ต า ม ก ฎ ห ม า ย มีจุดประสงค์ในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมและแสวงหารายได้สูงสุดจากสัมปทานให้แก่ต่างประเทศ การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นกลางน้า กิจการขั้นกลางน้าจะถูกแยกวิเคราะห์ออกเป็นทั้งหมด 3 กิจการ ได้แก่ กิจการโรงกลั่นน้ามัน กิจการโรงแยกก๊าซ และกิจการขนส่งก๊าซผ่านระบบท่อ กิ จ ก า ร โ ล ง ก ลั่ น น้ า มั น เป็นกิจการที่จะรับปิโตรเลียมประเภทน้ามันดิบมาจากแท่นขุดเจาะเพื่อกลั่นแยกให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ น้ า มั น ช นิ ด ต่ า ง ๆ ห น้ า ที่ ห ลั ก ข อ ง กิ จ ก า ร นี้ คื อ ก า ร รั บ น้ า มั น ดิ บ ม า ก ลั่น ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ า มั น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ และส่งขายต่อแก่ผู้บริโภคหรือกิจการในขั้นปลายน้า กิ จ ก า ร โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ กิจการโรงแยกก๊าซเป็นกิจการที่มีความคล้ายคลึงกับกิจการโรงกลั่นน้ามันเนื่องจากเป็นกิจการที่จะได้รับ ปิโตรเลียมประเภท ก๊าซธรรมช าติจากแท่ นขุดเจาะผ่านท่ อส่งก๊ าซมายังโรงแย กก๊ าซ แ ล ะ ท า ก า ร แ ย ก ก๊ า ซ ดั ง ก ล่ า ว ให้ ก ล า ย เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก๊ า ซ ช นิ ด ต่ า ง ๆ จากนั้นจะทาการขนส่งผลิตภัณฑ์ก๊าซที่ได้ทางรถหรือระบบท่อไปยังผู้บริโภคหรือกิจการในขั้นปลายน้า
  • 10. กิ จ ก า ร จั ด ห า แ ล ะ ข น ส่ ง ก๊ า ซ ท า ง ร ะ บ บ ท่ อ เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งท่อตั้งแต่กิจการขั้นต้นน้า ประกอบไปด้วยกิจการย่อย 3 กิจการทั้งสิ้น ได้แก่ กิจการจัดหาและจาหน่ายก๊าซ กิจการท่อส่งก๊าซ กิจการท่อจาหน่ายก๊าซ การวิเคราะห์สภาพผูกขาดในกิจการขั้นปลายน้า กิ จ ก า ร ใ น ขั้ น ป ล า ย น้ า เป็ นกิ จการที่ มีการรับ ผลิตภัณ ฑ์ปิ โต รเลีย ม สาเร็จรูป มาจากกิ จการขั้น กลางน้ า เพื่อกระจายต่อไปสู่ผู้บริโภคโดยตรง สรุปว่าท่างกลางกิจการขั้นปลายน้าที่มีอยู่มากมายนั้น กิจก ารที่ ผู้ป ระกอ บ การน่ าจะมีมีอ าน าจเห นื อต ลาด สาห รับ ผ ลิต ภัณ ฑ์ ก๊ าซ คือ สถานีบริการก๊าซเอ็นจีวีและสาหรับผลิตภัณฑ์น้ามัน คือ สถานีบริการน้ามัน กิ จ ก า ร ส ถ า นี บ ริ ก า ร น้ า มั น กิจการสถานีบริการน้ามันหรือปั๊มน้ามันเป็นกิจการที่มีหน้าที่หลักในการให้บริการเติมน้ามันสาเร็จรูปปร ะเภทต่างๆ แก่รถยนต์ นอกเหนือไปจากนี้อาจมีกิจการเสริมอย่างอื่น กิ จ ก า ร ส ถ า นี บ ริ ก า ร ก๊ า ซ เ อ็ น จี วี กิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวีหรือปั๊มเอ็นจีวีเป็นกิจการที่มีหน้าที่หลักในการให้บริการเติมก๊าซเอ็นจีวีแ ก่รถยนต์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 กิจการย่อย ได้แก่ กิจการสถานีบริการบนแนวท่อส่งก๊าซ และสถานีบริการนอกแนวท่อส่งก๊าซ ทั้งสองกิจการนี้ต่างมีหน้าที่หลักในการให้บริการก๊าซเอ็นจีวี แต่สิ่งที่แตกต่างกันสาหรับสองกิจการย่อยคือ วิธีการขนส่งก๊าซจากโรงแยกก๊าซไปยังสถานีบริการ บทบาทของภาครัฐต่อโครงสร้างตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม ตลาดอุตสาหก รรมปิ โตรเลียมของประเทศไทยเป็ นตลาดที่ภ าครัฐเข้ามา มีบทบาทในทุกกิจการขั้นน้าของอุตสาหกรรมทั้งในเรื่องของการดาเนินนโยบายและกากับดูแลตลาด โดยห น่ วยงานภาครัฐที่มีอานาจสูงสุดต่อการกาหนดนโยบ าย พลังงานกฎ หมาย คือ ค ณ ะกรรมการบ ริห ารนโย บ าย พลังง านแห่ ง ช าติซึ่ง มีนาย กรัฐมน ตรีเป็ นป ระธาน และมีคณะรัฐมนตรีรวมถึงข้าราชการบางส่วนเป็นคณะกรรมการ แม้ว่าโครงสร้างตลาดอุตสาห กรรมปิ โตรเลียมจะเป็ นโครงสร้างที่ บ มจ.ปตท . เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี อ า น า จ ต ล า ด เ ห นื อ ก ว่ า ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร า ย อื่ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น กิ จ ก า ร ขั้ น ก ล า ง น้ า แ ล ะ ป ล า ย ย น้ า และมีโอก าส สูง ใน ก ารใช้ อาน าจ เห นื อต ล าดที่ มีใน การแ สว ง ห าก าไรเ กิน ป ก ติ แต่ตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศไทยเป็นตลาดที่ถูกควบคุมและแทรกแซงจากภาครัฐอยู่ อย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสาเร็จรูป ดังนั้น
  • 11. อ า น า จ เ ห นื อ ก า ร ต ล า ด ใ น ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ที่ บ ม จ . ป ต ท . มีอยู่นั้นอาจไม่ได้นาไปสู่การแสวงหากาไรเกินปกติอย่างไร้ขอบเขต พฤติกรรมและผลลัพธ์ในการแสวงหากาไรเกินปกติจากการมีอานาจเหนือตลาดเดี่ยวและอานา จผูกขาดของ บมจ.ปตท. ในหัวข้อนี้จะทาการศึกษาถึงพฤติกรรมการใช้อานาจเหนือตลาด/อานาจผูกขาด บมจ.ปตท. และผลลัพธ์จากการใช้อานาจเหนือตลาด/อานาจผูกขาดเหล่านั้นว่าสามารถนาไปสู่การได้รับกาไรเกินป กติหรือไม่ และมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่สาคัญคือการใช้อานาจผูกขาด/อานาจเหนือการตลาดของ บมจ.ปตท. ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ จ า ก ร า ค า น้ า มั น ส า เร็ จ รู ป ห น้ า โ ร ง ก ลั่น (พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจเหนือตลาดในกิจการโรงกลั่นน้ามัน) โดยภาครัฐได้กาหนดสูตรการกาหนดราคาน้ามันสาเร็จรูปหน้าโรงกลั่นในปัจจุบัน คือ ราคาน้ามันสาเร็จรูปหน้าโรงกลั่น = ราคาน้ามันสาเร็จรูปตลาดสิงคโปร์+ค่าขนส่ง+ค่าประกัน+ค่าประกันคุณภาพน้ามัน โด ย อ า น า จ เ ห นื อ ก า ร ต ล า ด ใน กิ จ ก า ร โ ร ง ก ลั่น น้ า มั น ข อ ง บ ม จ .ป ต ท . ไม่สามารถนาไปสู่พฤติกรรมการแสวงหากาไรผ่านราคาเพื่อแสวงหากาไรเกินปกติได้โดยตรง เนื่องจากข้อจากัดเรื่องสูตรราคาที่กาหนดโดยภาครัฐ อย่างไรก็ตามภายใต้สูตรราคาที่กาหนดขึ้น ก็ ไ ด้ ท า ใ ห้ บ ม จ . ป ต ท . ได้รับกาไรเกินปกติจากการที่สูตรราคาได้มีการกาหนดให้มีการให้มีการนาต้นทุนค่าขนส่งน้ามันดิบจาก ต่างประเทศและค่าประกันที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงเข้าไปในราคาน้ามันหน้าโรงกลั่น ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ จ า ก ร า ค า ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ข า ย ส่ ง (พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจผูกขาดโดยสมบูรณ์ในกิจการจัดหาและขนส่งก๊าซทางระบบท่ อ และกิจการจัดหาก๊าซแอลเอ็นจี) สู ต ร ร า ค า ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 สู ต ร โ ด ย สู ต ร ที่ ห นึ่ ง ใ ช้ ค า น ว ณ ร า ค า ก๊ า ซ ส า ห รั บ โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ แ ล ะ สู ต ร ที่ ส อ ง ใช้สาหรับคานวณราคาก๊าซสาหรับลูกค้ารายอื่นๆ โดยส่วนประกอบของราคาก๊าซธรรมชาติขายส่งคือ ร า ค า ข อ ง เ นื้ อ ก๊ า ซ , ต้ น ทุ น ส า ห รั บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร และต้นทุนสาหรับการขนส่งแม้ว่าสูตรราคาที่เกิดขึ้นจะเป็นข้อจากัดในการแสวงหากาไรเกินปกติของ บมจ.ปตท. แต่สูตรราคาก็ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติของ บมจ.ปตท. ได้ทั้งหมดและตัวปรบางอย่างในสูตรราคาก็ยังมีส่วนในการสร้างกาไรเกินปกติในทางอ้อมให้แก่ บ ม จ . ป ต ท . อ ย่ า ง น้ อ ย 3 ป ร ะ ก า ร คื อ ร า ค า เ ฉ ลี่ ย เ นื้ อ ก๊ า ซ ,
  • 12. อัตราค่าบริการสาหรับการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ และอัตราค่าบริการส่งก๊าซทางท่อในส่วน Demand Charge ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เกิ น ป ก ติ ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ร า ค า ก๊ า ซ เ อ็ น จี วี (พฤติกรรมและผลลัพธ์จากอานาจเหนือตลาดในกิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี) ผลลัพธ์ของการถูกควบคุมราคาขายปลีก ทาให้ บมจ.ปตท. ต้องตั้งราคาตามที่รัฐบาล และแบกรับภาระขาดทุนสะสมจากกิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ ผ่ า น ช่ า ง ท า ง ร า ค า ก๊ า ซ แ อ ล พี จี (พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ลัพ ธ์ จ า ก อ า น า จ ผู ก ข า ด ใน กิ จ ก า ร โ ร งแ ย ก ก๊ า ซ , อานาจเหนือตลาดในกิจการโรงกลั่นฯ) การวิเคราะห์ผลลัพธ์ของพฤติกรรมการแสวงหากาไรทางช่องทางราคาจากก๊าซแอลพีจีของ บมจ.ปตท. จะอยู่ภายใต้นโยบายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องการแทรกแซงตลาดก๊าซแอลพีจี ได้แก่ นโยบายการจัดสรรก๊าซแอลพีจีที่จัดหาได้ในป ระเทศให้แก่กลุ่มผู้ใช้ก๊าซประเภทต่างๆ, นโยบ ายกาห นดราคาก๊าซแอลพีจี ณ โรงกลั่น/โรงแยกก๊าซฯ ให้ต่ากว่าราคาตลาดโลก และนโยบายการกาหนดภาษี เงินส่งเข้ากองทุนน้ามันและค่าการตลาดในสูตรราคาก๊าซแอลพีจีขายปลีก โครงสร้างสถาบันการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม จะแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. การศึกษาถึงแนวทางในการสร้างสถาบันกากับดูแลที่เหมาะสมจากกรณีศึกษาในต่างปร ะเทศ  แ บ บ จ า ล อ ง น อ ร์ เ ว ย์ (Norwegian model) ต้นแบบการแยกอานาจและการถ่วงดุลตรวจสอบ แบ่งแยกระบบธรรมาภิบาลของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่ว นที่ห นึ่ง รัฐบ าลภาย ใต้นาย กรัฐมนตรีก ระท รว งปิ โตรเลีย มและพ ลัง งาน มีห น้าที่ออกนโย บ าย เกี่ย ว กับ พลังง าน ส่ว นที่สอง สถาบันกากับ ดูแลอิสระ ซึ่งทาหน้าที่วิเคราะห์รวบรวมข้อมูลการดาเนินกิจกรรมที่สัมพันธ์กับปิโตรเลียม ส่วนที่สาม ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ร ว ม ไ ป ถึ ง รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ที่ รั ฐ ถื อ หุ้ น อ ยู่ ด้ ว ย ซึ่งดาเนินกิจการในฐานะหน่วยธุรกิจที่ต้องแสวงหากาไร  การปฏิรูประบบธรรมาภิบาล การกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมของยุโรป การออกแบบการกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของยุโรปที่อิงกับกระแสเสรีนิ ยมให ม่ตลอดช่ว งท ศ วรรษที่ผ่านมานั้นท าในสามเรื่องให ญ่ คือ ป ระการแรก
  • 13. การแบ่งแยกการควบรวมแนวตั้งตลอดอุตสาหกรรมออกจากกัน ป ระการที่สอง ลดการกีดขวางเพิ่มการแข่งขันการโยกย้ายการบริโภคได้  การปฏิรูประบบกากับดูแลกิจการพลังงานของประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนีเซียมีความสนใจที่จะหยิบยกขึ้นมาศึกษาเนื่องจากสองสาเหตุเป็นอย่าง น้อย คือ ประการแรก อินโดนีเซียเป็นประเทศที่บริษัทน้ามันแห่งชาติ ประการที่สอง อินโดนีเซียเริ่มมีการปฏิรูประบบการกากับดูแลกิจการพลังงานของตนเอง 2. การวิเคราะห์รูปแบบการกากับดูแลตลาดอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมประเทศไทย  การออกแบบสถาบันสาหรับการกากับดูแลตลาด ป ร ะเ ท ศ ไท ย ส า ม า รถ แ บ่ ง ไ ด้เ ป็ น 3 รูป แ บ บ รู ป แ บ บ ที่ ห นึ่ ง ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล ที่ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย ฝ่ า ย บ ริ ห า ร คื อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น แ ห่ ง ช า ติ ทาห น้าที่ควบคุมและส่งผ่านนโยบายลงไป สู่ห น่วยงานอีก 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่หนึ่ง ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร ภ า ย ใ ต้ ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น โ ด ย ต ร ง ซึ่งเป็นผู้ทาคู่มือการคานวณราคาก๊าซธรรมชาติและอัตราค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ กลุ่มที่สอง คณ ะกรรมการที่ถูกจัดตั้งขึ้นเป็ นการเฉพ าะเพื่อท าห น้าที่ตามนโย บ าย ข อง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น แ ห่ ง ช า ติ (กพช.)ซึ่งมีหน้าที่ดูแลราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสาเร็จรูปค้าปลีก รูปแบบที่สอง สถาบันกากับดูแลอิสระในรูปคณะกรรมการที่ยังอยู่ภ ายใต้อานาจของฝ่ายบริหาร เป็นสถาบันกากับดูแลที่มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคลากรไม่ให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน รูป แ บ บ ที่ สา ม ส ถ าบั น ก ากั บ ดู แ ลง บ ล ง ทุ น ข อง รัฐวิ สา ห กิ จ ห ม าย ถึ ง ส ภ า พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ (ส ศ ช . ) ซึ่งมีหน้าที่ในการพิจารณาความเหมาะสมของงบประมาณการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึง บมจ.ปตท. ที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทบมจ. และเข้าข่ายที่จะต้องนาเสนองบลงทุนต่อ สศช.  การออกแบบโครงสร้างตลาด ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ต ล า ด ไ ด้ แ ก่ ก า รแ บ่ ง แ ย ก ก าร ค ว บ รว ม แ น ว ตั้ง ต ล อ ด อุ ต ส า ห ก รร ม อ อ ก จ า ก กั น , ก า ร ล ด ก า ร กี ด ข ว า ง เ พิ่ ม ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ฝั่ ง ผู้ ผ ลิ ต
  • 14. และการสนับสนุนเลือกแก่ผู้บริโภคหรือเปิดไห้เกิดการโยกย้ายการบริโภคได้เป็นเกณฑ์ของตลา ดในแบบที่ควรจะเป็นแล้ว 3. บทสรุปโครงสร้างสถาบันการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม  ตัวอย่างของระบบการกากับดูแลอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมในต่างประเทศ ร ะ บ บ ก า ร ก า กั บ ดู แ ล ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ ย่ า ง เ ช่ น ห ล าย ป ระเ ท ศ ใน ยุ โรป นั้น ต้อง ท าสิ่ง สา คัญ พ ร้อม กั น ส อง ท าง คือ ห นึ่ ง ก า ร แ บ่ ง แ ย ก อ า น า จ ห น้ า ที่ ข อ ง ส ถ า บั น ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย , ส ถ า บั น ก า ร ก า กั บ ดู แ ล แ ล ะ ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ใ ห้ ชั ด เ จ น แ ล ะ ส อ ง การป รับ ป รุง โค รงส ร้าง ต ลาด ให้ มีก ารแบ่ ง แย กกิ จก ารในอุ ตส าห ก รรม , กลางน้าและปลายน้าให้ชัดเจนและมีการออกกฎกติกาในการให้ผู้ประกอบการรายอื่นหรือบุคคล ที่สามเข้ามาแข่งขันในตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม เชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มิติสังคม-การเมือง การผูกข าดที่เกิดขึ้นมักจะก่ อให้ เกิดกาไรระดับ สูงที่ เรีย กว่ากาไรเกินป ก ติ อันเนื่องมาจากอานาจผูกขาด โดยการผูกขาดสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเท ได้แก่ 1. การผูกข าดโดย สมบู รณ์ ซึ่งห มายถึงสภาว ะที่ตลาดมีผู้ประกอบ การเพีย งราย เดีย ว อั น เ ป็ น ต ล า ด ที่ มี ร ะ ดั บ ก า ร ผู ก ข า ด ที่ สู ง ที่ สุ ด แ ล ะ 2 . ก า ร ผู ก ข า ด ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มี อ า น า จ เ ห นื อ ต ล า ด ซึ่งหมายถึงการผูกขาดในระดับที่เข้มข้นน้อยกว่ากรณีผูกขาดโดยสมบูรณ์ การผูกขาดลักษณะนี้คือ ส ภ า ว ะ ที่ ต ล า ด มี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง ร า ย แต่ผู้ประกอบการบางรายในตลาดนั้นมีอานาจในการกาหนดราคาและปริมาณสินค้าเหนือกลไกตลาดได้ ก า ร ผู ก ข า ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ต ล า ด ไม่ว่าจะเป็นป ระเภท ใดมักจะนาไป สู่ภาวะที่ผู้ป ระกอบ การที่มีอานาจผูกข าดราย นั้น มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใ ช้ อ า น า จ ผู ก ข า ด เ พื่ อ แ ส ว ง ห า ก า ไ ร เ กิ น ป ก ติ ซึ่ ง ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ นี้ มักจะทาให้ปริมาณสินค้าน้อยและราคาสินค้าสูงกว่าที่ควรจะเป็น จนกระทั่งผู้บริโภคเดือดร้อน ดังนั้น
  • 15. ห า ก บ ม จ . ป ต ท . มีอานาจผูกขาดในหลายกิจการของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและกิจการเหล่านั้นมีหน้าที่ผลิตปิโตรเลียมที่ จาเป็นแก่ผู้บริโภคแล้ว ผุ้บริโภคย่อมได้รับความเดือดร้อนจากอานาจผูกขาดของ บมจ.ปตท. อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ตั ด สิ น ว่ า บ ม จ . ป ต ท . มี อ า น า จ ผู ก ข า ด ห รื อ ไ ม่ และหากมีแล้วจะมีพฤติกรรมที่ใช้อานาจผูกขาดที่ตนมีไปแสวงหากาไรเกินปกติหรือไม่นั้น ในเริ่มแรกจาเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ต่อไปถึงพฤติกรรมการแสวงหากาไรเกินปกติของ บมจ.ปตท. ภ า ย ใต้ อ า น า จ เ ห นื อ ต ล า ด / ผู ก ข า ด ใน ต ล า ด ที่ เ ข้ า ข่ า ย นั้ น ห ลัง จ า ก นั้ น จึงจะทาการแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์จากพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นลาดับสุดท้าย สา ห รับ ก า รวิ เค ร าะห์ ว่ าโค รง ส ร้าง ต ล าด มีลัก ษ ณ ะผู ก ข าด ห รือ ไม่ นั้ น ผู้วิจัย จะถือว่าตลาดผูกขาดโดยสมบู รณ์ คือ ตลาดที่มีผู้ป ระกอบ การเพีย งรายเดีย ว ส่วนตลาดที่มีการผูกขาดในระดับที่เข้มข้นน้อยกว่าจะอ้างอิงตามห ลักเกณฑ์ของ พรบ . แข่งขันท างการค้า พ.ศ. 25 42 ที่ระบุถึงนิยามของตลาดผู กขาดไว้สองแบบ กล่าวคือ ห ากต ลาดใด มีผู้ป ระก อบ ก ารราย เดีย ว มีส่ว น แบ่ ง ท าง การต ลาด เกิ นร้อย ละ 5 0 แ ล ะ ร า ย ไ ด้ จ า ก ย อ ด ข า ย ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร นั้ น เ กิ น ก ว่ า 1 ,0 0 0 ล้าน บ าท จะถือว่ าเป็ น ตลาด ที่ มีผู้ป ระก อบ ก ารราย เดีย ว ที่ มีอานาจเห นื อต ลาด และหากตลาดใดมีผู้ประกอบการ 3 รายแรกที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดเกินกว่าร้อยละ 75 แ ล ะ ร า ย ไ ด้ ข อ ง ทั้ ง 3 ร า ย ร ว ม กั น เ กิ น ก ว่ า 1 ,0 0 0 ล้ า น บ า ท จะถือว่าเป็นตลาดที่มีผู้ประกอบการหลายรายมีอานาจเหนือตลาดร่วมกัน กิจการที่มีลักษณะตลาดผูกขาดหรือมีผู้ประกอบการมีอานาจเหนือตลาดอุตสาหกรรมปิโตรเลียม กิจการ ลักษณะของตลาด ผู้ประกอบ เหนือตล กิจการขั้นต้นน้า กิจการสารวจและขุดเจาะปิโตรเลียม ตลาดที่มีผู้ประกอบการายเดียว มีอานาจเหนือตลาด และตลาดที่มีผู้ประกอบการหลายรายมีอานาจเหนือตลาดร่วมกัน เช (กรณีอานาจเห และเชฟรอนบม (กรณีอานาจเห กิจการจัดหาก๊าซแอลพีจี ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ (บมจ.ปตท.) บมจ
  • 16. กิจการขั้นกลางน้า กิจการโรงกลั่นน้ามัน ตลาดที่มีผู้ประกอบการเพียงรายเดียว มีอานาจเหนือตลาด บมจ กิจการขนส่งก๊าซทางระบบท่อ ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ บมจ กิจการโรงแยกก๊าซ ตลาดผูกขาดโดยสมบูรณ์ บมจ กิจการขั้นปลายน้า กิจการสถานีบริการก๊าซเอ็นจีวี ตลาดที่มีผู้ประกอบการเพียงรายเดียว มีอานาจเหนือตลาด บมจ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ร ะ บ บ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ส ถ า บั น ก า กั บ ดู แ ล อิ ส ร ะ ค ว ร มี ก า ร ท บ ท ว น ถึ ง ก า ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ ถ่ ว ง ดุ ล ต ร ว จ ส อ บ และระบบความรับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างสามฝ่ายได้แก่ 1.ผู้ออกนโยบาย (ฝ่ายการเมือง) 2.หน่วยงานกากับดูแล และ 3. หน่วยธุรกิจโดยเฉพาะ บมจ.ปตท. ซึ่งมีอานาจเหนือตลาดหลายๆ ตลาดของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมจากการที่ใช้ในปัจจุบันระบบถ่วงดุลตรวจสอบและระบบความรับผิดชอ บ ยัง ไม่ป ระสบ ค ว ามสาเร็จเท่ าที่ค ว ร สังเกตได้จากกาไรเกินป กติที่ บ มจ.ป ตท . ได้รับและการขัดกันแห่งผลประโยชน์ระหว่างหน่วยงานกากับดูแลที่ยังอยู่ภายใต้รัฐบาล กับ บมจ.ปตท. ส่งผลให้งานศึกษาชิ้นนี้ เห็นควรให้มีการดาเนินงานในอีก 2 เรื่อง ป ร ะ ก า ร แ ร ก เร่งรัดให้เกิดการแบ่งแยกบุคลากรของรัฐ/ข้าราชการที่ทาหน้าที่กากับดูแลกิจการพลังงาน แ ล ะ ท า ห น้ า ที่ บ ริห า ร ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ข อ ง รัฐ / บ ม จ . ป ต ท . อ อ ก จ า ก กั น โ ด ย แ ม้ รั ฐ จ ะ ส า ม า ร ถ ส่ ง ตั ว แ ท น เ ข้ า ไ ป บ ริ ห า ร บ ม จ . ป ต ท . ไ ด้ ต า ม สิ ท ธิ แ ล ะ ค ว า ม ส ม ค ว ร ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ให ญ่ ใ น กิ จ ก า ร ดั ง ก ล่ า ว แต่ก็ไม่ควรให้เกิดความทับซ้อนกันจนกระทั่งนามาสู่การขัดกันแห่งผลประโยชน์ ป ระการ ที่ สอง การแบ่ ง แย ก ห น่ ว ย ง านก ากั บ ดู แ ลที่ ยัง อยู่ ภ าย ใต้รัฐบ าล ออกมาเป็นสถาบันดูแลกากับอิสระจากรัฐ (หรืออย่ างน้อยควรมีอิสระยิ่งขึ้น) ด้วยกัน 3 ประการ ป ร ะ ก า ร แ ร ก พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และขยายจานวนผู้เชี่ยวชาญด้านการกากับดูแลกิจการพลังงานให้เพิ่มขึ้นในอนา คต ประการที่สอง พัฒนาการดาเนินนโยบายด้วยกฎเกณฑ์และหลักฐานมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แ ล ะ ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม ก า ร อ อ ก แ บ บ ห รือ แ ก้ ไข ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เพื่อให้หน่วยงานกากับดูแลอิสระที่มีอยู่เดิม อาทิ คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) มีอิสระและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หน่วยงานดูแลกากับอิสระ การเกิดขึ้นของห น่วยงานกากับอิสระดูแล หมายถึง อิทธิพลทางการเมืองที่ลดลง โดยเฉพาะการแทรกแซงการกากับการดูแลกิจการพลังงานในรายกรณี คงเหลือไว้เพียงการกากับนโยบาย เป้าหมาย และแนวปฏิบัติในภาพรวมเท่านั้น ดังนั้น ในแง่หนึ่ง
  • 17. ห า ก ไ ม่ มี ก า ร ก า ห น ด ร ะ บ บ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ที่ ดี เ พี ย ง พ อ ห น่ ว ย ง า น ก า กั บ ดู แ ล อิส ร ะนั้ น เ อ ง ที่ จ ะ ป ล อ ด จ า ก ก าร ต ร ว จ ส อ บ ถ่ ว ง ดุ ล แ ล ะ อ า จ มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ไม่ เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ส อ ด ค ล้อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย ดั ง นั้ น จึงต้องมีการดาเนินงานในสามส่วนต่อไปนี้อย่างจริงจัง ประการแรก การออกแบบระบบธรรมาภิบาลและมาตรฐานในหน่วยงานกากับดูแลเอง อาทิ รอบระยะเวลาการดารงตาแหน่ง คุณสมบัติของผู้ที่จะดานงตาแหน่งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ประการที่สองการสร้างค วาม รับ ผิดชอบต่อฝ่ายก ารเมืองห รือฝ่าย นโยบ าย กล่าวคือ หน่วยงานกากับดูแลอิสระควรที่จะกาหนดเป้ าห มายที่แน่นอนซึ่งเหมาะสมในท างท ฤษฎี แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย ภ า พ ร ว ม ข อ ง รั ฐ บ า ล ห ลั ง จ า ก นั้ น บ ริห า รก ากั บ ดู แ ลให้ เป็ นไป ต าม เป้ าห ม าย ดัง ก ล่ าว ด้ว ย วิธ รก ารดัง ก ล่ าว นี้ แ ม้ ฝ่ า ย ก า ร เ มื อ ง จ ะ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ม า แ ท ร ก แ ซ ง เ ป็ น ร า ย ก ร ณี แต่หน่วยงานกากับดูแลอิสระก็จะต้องทางานตามกรอบ/แนวปฏิบัติ ที่ฝ่ายการเมืองได้กาหนดไว้ แ ล ะ ห า ก ท า ไ ม่ ไ ด้ ฝ่ายการเมืองก็มีความชอบธรรมที่จะเปลี่ยนแปลงผู้บริหารหรือมีมาตรการแทรกแซงอื่นๆ ประการที่สาม การสร้างระบบความรับผิดชอบเชิงข่าวสารต่อประชาชน(Informative accountability) ก า ร รั บ ผิ ด ช อ บ เ ชิ ง ข่ า ว ส า ร นี้ ห ม า ย ถึ ง หน่วยงานกากับดูแลอิสระที่ควรจะมีการสื่อสารข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดาเนินงานของหน่วยงานต่อประช า ช น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ผ่ า น ห ล า ย ช่ อ ง ท า ง และต้องเป็นการสื่อสารที่สามารถนาไปสู่การประเมินศักยภาพของหน่วยงานกากับดูแลได้ด้วย อาทิ ป ร ะ ก า ร แ ร ก ค ว ร มี ร อ บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที่ แ น่ น อ น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง ควรมีการแสดงบันทึกการประชุมและการลงคะแนนเสียงหรือทัศนะประกอบการลงคะแนนเสียงทั้งที่เป็น ฉ บั บ ย่ อ แ ล ะ ฉ บั บ เ ต็ ม (Minutes)เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามเหตุและผลในการตัดสินใจของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญแต่ล ะ ท่ า น ไ ด้ ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม ค ว ร มี ก า ร ท า ร า ย ง า น น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น ที่กล่าวถึงตัวเลขทางเศรษฐกิจและพลังงานที่สาคัญซึ่งมีส่วนกาหนดมติหรือมาตรการต่างๆของหน่วยงา นกากับดูแล การผ ลิตบุ ค ลากรผู้เชี่ย ว ช าญ ด้าน กิจการพลัง ง าน และก ารสร้าง แรง จูง ใจ จ า ก ว ร ร ณ ก ร ร ม ป ริ ทั ศ น์ ท า ง ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ พ บ ว่ า ปัจจัยกาหนดความสาเร็จในระยะยาวต่อการกากับดุแลหน่วยธุรกิจในอุตสาหกรรมด้านพลังงาน ได้แก่ ก า ร ผ ลิต บุ ค ล า ก ร ทั้ ง ใน ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ บั ญ ชี แ ล ะเ ศ ร ษ ฐ ศ าส ต ร์
  • 18. ที่มีความรู้ความเข้าใจในกิจการพลังงานเป็นอย่างดีขึ้นมาเพื่อที่จะสนับสนุนให้เกิดการกากับดูแลที่มีประ สิท ธิ ภ า พ แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ศ า ส ต ร์ ห า ก ป ร า ศ จ า ก ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ความจากัดของผู้ชานาญการในตลาดจะทาให้มีความอิสระลดลง ตัวอย่างเช่น บุคลากรในตลาดมีจากัด ผู้ชานาญการที่จะมาทาหน้าที่ดูแลเกือบทั้งหมดก็อาจจะมีประวัติการทางานหรือมีผลประโยชน์ดั้งเดิมสอ ด ค ล้ อ ง กั บ ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ เ ป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง เ พิ่ ม เ ติ ม ก็ คื อ การสร้างแรงจูงใจทั้งในแง่การจูงใจให้เกิดการเรียนในสาขาที่จะมาทางานกากับดุแล (อาทิ ก า ร ใ ห้ ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ) และในแง่ของการจูงใจเมื่อเรียนจบแล้วให้ผู้จบการศึกษาเหล่านั้นตัดสินใจทางานในหน่วยงานกากับดูแล ต่อ (อาทิ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม) มิติสิ่งแวดล้อม หลังจากสารวจค้นพบพื้นที่ที่น่าจะมีปิโตรเลียมกักเก็บเป็นจานวนมากแล้วจะทาการประเมินต่อไ ปว่าการลงทุนเพื่อนาปิโตรเลียมขึ้นมาใช้การจากพื้นที่ดังกล่าวมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจหรือไม่ หากมีความคุ้มค่าก็จะทาการดาเนินการขุดเจาะโดยสร้างแท่นขุดเจาะขึ้นในบริเวณนั้นเพื่อนาปิโตรเลียม ที่ ถู ก กั ก เ ก็ บ ใ น ชั้ น หิ น ข้ า ง ใ ต้ ขึ้ น ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ไ ป ซึ่งปิโตรเลียมที่สารวจค้นพบในประเทศไทยและมีการดาเนินการขุดเจาะในปัจจุบันนั้นกระจายตัวอยู่ในบ ริ เ ว ณ ภ า ค ก ล า ง ภ า ค เ ห นื อ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ อ่าวไทยและพื้นที่ทับซ้อนระหว่างประเทศไทยและมาเลเซีย เ มื่ อ ท า ก า ร ขุ ด เ จ า ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ขึ้ น ม า ไ ด้ แ ล้ ว ปิ โต รเ ลีย ม ที่ ได้ก็ จะ ผ่ าน เ ข้ าสู่ ก ระบ ว น ก า รต่ าง ๆ บ น แ ท่ น เพื่ อ แย ก เอ า น้ า แก๊สค าร์บ อนไดออกไซด์และสารปนเปื้ อนอื่นๆ ออกจากน้ ามันดิบ และก๊ าซธรรมช าติ หลังจากนั้นจะมีการนาน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเข้าสู่กระบวนการผลิตเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นสุ ด ท้ า ย ส า ห รั บ ใ ช้ บ ริ โ ภ ค ใ น ห ล า ย ๆ ท า ง ปิโตรเลียมชนิดก๊าซธรรมชาติบางส่วนจะถูกส่งไปยังโรงไฟฟ้าเพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยตรง ในข ณะที่ บ างส่วนจะถูกส่งไป ยังโรงแย กก๊ าซเพื่อแป รรูป เป็ นผลิตภัณ ฑ์ขั้นสุดท้าย ส่วนปิโตรเลียมชนิดน้ามันดิบจะถูกส่งไปยังโรงกลั่นน้ามันเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายเช่นกัน ห ลั ง จ า ก นั้ น ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่ได้จะถูกส่งต่อไปยังผู้บริโภคหรือกิจการที่มีหน้าที่กระจายผลิตภัณฑ์เหล่านี้สู้ผู้บริ โภค
  • 19. มิติเทคโนโลยี / พลังงาน ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิตจานวนมากทับถมกันใต้หินตะก อนและได้รับความร้อน และความดันมหาศาล มีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือคาร์บอน และไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กามะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิ โตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะแบ่งตามสถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊ าซ ขึ้ น อ ยู่ กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็ บปิโตรเลีย ม แบ่งตามสถานะได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือน้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ การนาปิโตรเลียมประเภท น้ามันดิบห รือก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้นั้น จะต้องเริ่มต้นจากการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ซึ่งอาจมีหินกักเก็บปิโตรเลียมอยู่ ไม่ว่าจะอยู่บนบก หรือใต้ทะเล โดยวิธีการสารวจเพื่อค้นหาพื้นที่ ที่มีปิโตรเลียมหรือแหล่งปิโตรเลียมนั้นมีทั้งสิ้น 3วิธี ประกอบไปด้วยการขุดเจาะห ลุมเพื่อสารวจตัวอย่างหิน การสารวจด้วยความโน้มถ่วง และการสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน กิ จ ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ ขุ ด เ จ า ะ นั้ น เป็ น กิ จ ก า ร ที่ มี รัฐ มี บ ท บ า ท ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง เ อ ก ช น ค่ อ น ข้ า ง สู ง เ นื่ อ ง จ า ก รั ฐ บ า ล ซึ่ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง สั ม ป ท า น ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ต า ม ก ฎ ห ม า ย มีจุดประสงค์ในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมและแสวงหารายได้สูงสุดจากสัมปทานให้แก่ต่างประเทศ กิจการโรงกลั่นน้ามันเป็นกิจการที่จะรับปิโตรเลียมประเภทน้ามันดิบมาจากแท่นขุดเจาะเพื่อกลั่ นแยกให้กลายเป็ นผลิตภัณฑ์น้ามันชนิดต่างๆ ได้แก่ น้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ก๊าซแอลพีจี แ ล ะ น้ า มั น ส า เ ร็ จ รู ป ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ ห น้ า ที่ ห ลั ก ข อ ง กิ จ ก า ร นี้ คื อ ก า ร รั บ น้ า มั น ดิ บ ม า ก ลั่น ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ า มั น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ แ ล ะ ส่ ง ข า ย ต่ อ แ ก่ ผู้ บ ริ โ ภ ค ห รื อ กิ จ ก า ร ใ น ขั้ น ป ล า ย น้ า โดยที่กาไรของผู้ประกอบการในขั้นต้นจะมาจากสิ่งที่เรียกว่า ค่าการกลั่น (Gross Refining Margin- GRM) ซึ่งหมายถึงส่วนต่างราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์น้ามันทุกประเภทที่กลั่นแยกได้กับราคาน้ามันดิบ หลังจากได้ค่าการกลั่นแล้ว จะต้องนาไปหักกับต้นทุนอื่นๆอีก เช่น ค่าพลังงานที่ใช้ในการกลั่นน้า มัน ค่ า เ งิน เ ดื อ น พ นั ก ง า น / ลู ก จ้า ง ค่ า เ สื่ อ ม ร า ค า ข อ ง โ ร ง ง า น ค่ า ด อ ก เ บี้ ย ค่าบ ารุงรักษาโรงกลั่นและค่าสารเคมีสาห รับเพิ่มคุณภาพในกระบ วนการกลั่น เป็นต้น ส่วนต่างระหว่างค่าการกลั่นและต้นทุนเหล่านี้ คือ กาไรสุทธิจากกิจการโรงกลั่นน้ามัน กิจการโรงแยกก๊าซเป็นกิจการที่มีความคล้ายคลึงกับกิจการโรงกลั่นน้ามันเนื่องจากเป็นกิจการที่ จะได้รับปิโตรเลียมประเภทก๊าซธรรมชาติจากแท่นขุดเจาะผ่านท่อส่งก๊าซมายังโรงแยกก๊าซ