SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
รายงานนาเสนอหนังสือ
ชื่อหนังสือ
สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจาก...เทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นควาย
ผู้แต่ง
ชัชรินทร์ ไชยวัฒน์
กลุ่ม กระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า
รายชื่อสมาชิก
1. นายพศุตม์ เกษมภูมิรัตน์ 56130500045 IT
2. นายทิยานนท์ กลิ่นขจร 56130500021 IT
3. นางสาวพิชญา แก้วมณี 56130500049 IT
4. นายภาวิต ชุ่มจิตต์ 56130500116 IT
5. นางสาวณัชชารีย์ อัครปัญญาทิพย์ 54213362 CHM
6. นางสาวอนุษรา เคนแสน 56130500125 IT
7. นายชาย กิจขจรเกียรติ 56130500089 IT
8. นางสาวณัฐฐา บุญนาชัย 56130500090 IT
เสนอ
อาจารย์ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
คานา
ราย ง าน ฉ บั บ นี้ ป ระ ก อ บ ด้ว ย เนื้ อ ห า ที่ ส รุ ป ได้ จ าก ห นั ง สือ เรื่ อ ง
สู่คลื่นลูกที่สี่...หลังจาก...เทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นควาย ของผู้แต่งชัชรินทร์ ไชยวัฒ น์
นอกจากนี้ยังมีส่วนที่แสดงความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ และมุมมองต่อหนังสือเล่มนี้
ซึ่ง เป็ น ส่ว น ห นึ่ ง ข อง รา ย วิช า GEN311 จ ริย ศ าส ต ร์ใน สัง ค ม ฐาน วิ ท ย า ศ าสต ร์
ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมและสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเหล่านี้กับกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน
และวิเคราะห์วิจารณ์เพื่อให้เกิดค วามเข้าใจต่อความซับซ้อนในประเด็นทางจริยธรรม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจต่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์แ
ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
และสามารถให้ความหมายและกาหนดมาตรฐานจริยธรรมของตนเองซึ่งพัฒนาขึ้นจากการวิพากษ์วิจาร
ณ์ร่วมกันจากทัศนะต่างๆ
ด้วยความเคารพ
ผู้จัดทา กระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า
สารบัญ
ประวัติผู้แต่ง………………………….…………………………………………………………………1
สรุปเนื้อหาจากหนังสือ
บทที่ 1 ยื่นหัวเข้าไปในเตาไมโครเวฟ………………………….……………………………... 2
บทที่ 2 มนุษย์กาลังจะกลายพันธุ์???………………………….………………………….......3
บทที่ 3 สมองหมา...ปัญญาควาย!!!………………………….…………………………………4
บทที่ 4 เจน วาย…มนุษย์พันธุ์ใหม่!!!………………………….……………………………….5
บทที่ 5 เทคโนโลยีและการล้างสมอง………………………….………………………………. 6
บทที่ 6 วิกฤตการณ์ที่ไม่เคยมีมาก่อน………………………….……………………………...6
บทที่ 7 อรุณรุ่งแห่งมวลมนุษยชาติ………………………….…………………………………7
บทที่ 8 อรุณรุ่งแห่งวิทยาศาสตร์………………………….……………………………………7
บทที่ 9 ความเจริญทางวัตถุ- ความเสื่อมทางจิตวิญญาณ………………………….…………8
บทที่ 10 เมื่อดาร์ธ เวเดอร์ เผชิญหน้ากับ เจได………………………….……………………9
บทที่ 11 The Empire Strikes Back!!!………………………….……………………………..9
บทที่ 12 ปฏิวัติวิทยาศาสตร์………………………….……………………………………..…10
บทที่ 13 ปืน ทุน เทคโนโลยี และความโลภ………………………….………………………. 10
บทที่ 14 กองเกวียนคนทุกข์ในยุคจักรกล………………………….…………………………. 11
บทที่ 15 ลัทธิอุตส่าห์ - หา - กรรม………………………….…………………………………11
บทที่ 16 สงครามกับการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี………………………….………………12
บทที่ 17 องค์ความรู้ทางวัตถุกับองค์ความรู้ทางจิตใจ………………………….…………......12
บทที่ 18 จากประชาธิปไตย...สู่เผด็จการเสรีนิยม………………………….………………….13
บทที่ 19 หวนกลับไปสู่ความโหยหาศีลธรรม………………………….……………………….13
บทที่ 20 ผลไม้แห่งชีวิตกับคลื่นลูกที่สี่………………………….……………………………...15
สรุปความเชื่อมโยงของเนื้อหากับแนวคิดจริยศาสตร์………………………….…………………. 16
สรุปบทบาท วิธีการทางาน และความเห็นต่อหนังสือ………………………….………………..... 20
แหล่งอ้างอิง…………………….……………………………………………………………….………23
ประวัติผู้แต่ง
ชัชริ น ทร์ ไชย วัฒ น์ เกิ ดที่ ช ะอา
จ.เพชรบุรี แต่ไปเติบโตที่ อ.กันตัง จ.ตรัง
ได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนที่เขียนหนังสือได้เร็ว
และหลากหลายสไตล์มากที่สุดคนหนึ่ง ทั้ง
ง า น ว ร ร ณ ก ร ร ม ก วี นิ พ น ธ์
งานทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ปรัชญา
บท วิเค ราะห์ท างการเมือง สารค ดี
เรื่ อ ง ต ล ก แ ล ะ บ ท ค ว า ม ต่ า ง ๆ
เรื่องสั้นเรื่องแรกได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสา
ร “ชาวกรุง” ตั้งแต่ยังเป็นนักเขียนชั้นมัธยมศึกษาและทางานเขียนสารคดีลงใน “สยามรัฐ”
มาตั้งแต่ยังไม่จบ ม.ศ.5 เป็นนักข่าวอาชีพที่เข้าไปสัมภาษณ์บุคคลระดับรัฐมนตรีตั้งแต่อายุเพียง 19
ปี ผ่านงานหนังสือพิมพ์ที่อภิวัฒน์รายสัปดาห์ ประชาชนรายเดือนประชาชาติรายวัน ตะวันออกปริทัศน์
อาทิตย์รายวัน มาตุภูมิรายวัน เขาเป็นบรรณาธิการนิตยสารการเมืองที่อายุน้อยที่สุดด้วยวัยเพียง 20 ปี
เ มื่ อ พ .ศ . 2517 เ ขี ย น บ ท ค ว า ม ชื่ อ “ตุ ล า ก า ร อ ง ค์ ก ร ที่ ไ ร้ เ ดี ย ง ส า ”
ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ป ระช าธิป ไตย บท ความนี้ได้ส่งผลให้ชัชรินท ร์ต้องติดคุกถึง
2เดือน เนื่องจากถูกฟ้องในข้อหาละเมิดอานาจศาล เขาเป็นผู้ก่อตั้งผู้อานวยการนิตยสารอาทิตย์รายสั
ปดาห์ ปัจจุบันยังคงมีผลงานอยู่ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารหลายฉบับอย่างสม่าเสมอ เช่น
สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ไทยโพสต์ ผู้หญิง GM และจัดรายการ “คลื่นความคิด” ทางวิทยุคลื่น FM
99.5เมกะเฮิรตซ์ หนึ่งในผลงานเขียนที่ได้รับการกล่าวขาน คือ รวมเรื่องสั้นชุด อิสรภาพและความตาย
ที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2539
ผลงานรวมเล่ม
- พ.ศ. 2518 ผลงานรวมเรื่องสั้นและบทกวีชื่อ “พญาโหงบนโลงแก้ว” โดยสานักพิมพ์ประพันธ์สาส์น
- พ.ศ. 2520 ผลงานนวนิยาย “ล่าตารวจ” โดยสานักพิมพ์การเวก
- พ.ศ. 2521 ผลงานรวมเรื่องสั้น “คนทรยศ” (นักหนังสือพิมพ์) โดย สานักพิมพ์หนุ่มสาว
- พ.ศ. 2523 ผลงานรวมเรื่องสั้น “คอมมิวนิสต์บุก” โดยสานักพิมพ์อาทิตย์ จากัด
- พ.ศ. 2533 ผลงานรวมเรื่องสั้น “ด้วยศรัทธา ฉันจึงเป็นอยู่” โดยสานักพิมพ์สมาพันธ์
- พ .ศ . 2536 ผลงาน รว มเรื่องสั้น “ค อมมิว นิสต์บุ ก ” “ค นท รย ศ ” (นักห นังสือพิมพ์)
และด้วยศรัทธาฉันจึงเป็นอยู่ ได้รับการพิมพ์ซ้าในรูปลักษณ์ใหม่ โดยสานักพิมพ์บ้านหนังสือ
จากนั้นมีผลงานออกมาอย่างสม่าเสมอ เช่น “อิสรภาพและความตาย” “โลกในพายุทุนนิยม”
“ตูมตามก่อนอัสดง” “พระเจ้ามีจริง” “คลื่นความคิด 1-3” “ความคิดติดหนวด” “ดิน น้า ลม ไฟ”
“จุดไฟในนาคร” “รอยสักมังกร” “การผจญภัยของแมลงสาบ” “สงครามล้างโลก” ฯลฯ ล่าสุดมีผลงาน 2
เล่ม คือ “มหัศจรรย์ผู้หญิง” และ “ระวังผู้หญิง” จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์พิมพ์คา
สรุปเนื้อหาจากหนังสือ
บทที่ 1
ยื่นหัวเข้าไปในเตาไมโครเวฟ
ค ลื่ น รั ง สี ซึ่ ง ถู ก ใช้ เ ป็ น ตั ว น า สั ญ ญ า ณ ข อ ง โ ท ร ศั พ ท์ แ ท็ บ เ ล็ ต
โดยส่วนใหญ่ แล้วก็คือคลื่นรังสีแบบเดียวกับที่ใช้กับเตาไมโครเวฟ ห รือที่รู้จักกันในนาม
“ค ลื่ น รั ง สี แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ”
ซึ่งสามารถท าให้วัตถุที่ไม่ได้เป็ นสื่อไฟฟ้ าเดือดพล่านขึ้นมาในช่ วงเวลาแค่ไม่กี่นาที
เพีย งแต่ว่าเตาไมโค รเวฟจะเริ่มแผ่ออกมาตั้งแต่ระดับ 300 MHz จนไป ถึง 300 GHz
แต่โทรศัพท์โดยส่วนใหญ่ จะแค่ 2-3 Watt หรือง่ายๆว่า 1,000 Watt มีค่าเท่ ากับ 950 MHz
ซึ่งเล็กน้อยมาก แต่ถ้าเราดันเอาโทรศัพท์แนบหูไว้นานๆ แบบ บรรดาพวกวัยรุ่น วัยวุ่น
ป ระ เภ ท ผีเ จ าะ ป า ก ทั้ ง ห ล า ย โอ ก า ส ที่ เ รา จ ะ เกิ ด อ า ก าร ร้อ น วู บ ๆ ว าบ ๆ
เกิดความรู้สึกซ่าๆบริเวณผิวหนังส่วนศรีษะ ทาให้คิดกันไปว่า แล้วมันจะดก่อให้เกิดอาการ เหนื่อยอ่อน
ป ว ด หั ว วิ ง เ วี ย น ตั ว สั่น ค ว า ม จ า เ สื่ อ ม เ นื้ อ ง อ ก ใ น ส ม อ ง ฯ ล ฯ
ทาให้เกิดการถกเถียงในบรรดานักวิชาการที่ยังไม่ได้ข้อสรุป และเป็นที่เราทั้งหลายน่าจะต้องสนใจ
ไม่ใช่เอาแต่ใช้ เอาแต่เพลิดเพลินไปกับความสะดวกสบาย และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บ รร ด า นั ก วิ ท ย าศ า ส ต ร์แ ล ะ ผู้เ ชี่ ย ว ช า ญ ใน ห ล า ย ต่ อ ห ล ย า ป ระ เท ศ
ได้เคยออกมาตั้งคาถามถึง “อันตราย” หรือ “มีผลกระทบข้างเคียง” ของเทคโนโลยีเหล่านี้
เ พ ร า ะ ค ลื่ น รัง สี ที่ โ ท ร ศั พ ท์ ใช้ กั บ เ ต า ไ ม โ ค ร เ ว ฟ เ ป็ น ช นิ ด เ ดี ย ว กั น
โดยเฉพาะคลื่นรังสีชนิดนี้ได้ถูกจัดเป็นคลื่นรังสีในกลุ่ม “Group 2 B” ที่สามารถก่อ “มะเร็ง”
โดยสถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ
แต่ความปรารถนาของผู้คนหรือ “พลังแห่งอุปสงค์” ระดับสุดลิ่มทิ่มริดสีดวงทวาร โดยไม่เคยตั้ง
ค า ถ า ม ถึ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ใ ช้ อ ยู่
ท า ใ ห้ ผู้ ที่ มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ กิ จ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ
จ ะ ห า ท า ง ล บ ล้ า ง จิ น ต น า ก า ร อั น น่ า ส ย ด ส ย อ ง พ อ ง ข น
โดยการสนับสนุนนักวิทยาศาสตร์และบรรดาผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงานวิจัย สถาบันระดับชาติ
เพื่อให้ช่วยกันลบล้างจินตานาการดังกล่าว เช่น งานวิจัยในเดนมาร์กที่อ้างถึงกลุ่มตัวอย่าง 420,00 คน
ในขอบ เขตพื้นที่ไม่น้อยกว่า 13 ประเทศ ในช่วงระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 20 ปี
รว ม ทั้ ง ก า รค้ น ศึ ก ษ าค้ น ค ว้ า โด ย ห น่ ว ย ง า น ก า รป้ อ ง กั น รัง สีจ าก เ ย อ ร มั น
ต ล อ ด จ น ร า ย ง า น จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ยุ โ ร ป
ซึ่งล้วนแล้วแต่ให้คายืนยันแบบหัวเด็ดตีนขาดถึงความปลอดภัย ก็ยังมิอาจลบทิ้งลงไปได้ซะทั้งหมด
เนื่องจากบรรดานักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญที่ความเป็นอิสระ แม้จะมีความรู้สึกอันเกิดจากอคติ
ห รื อ ผู้ น า เ อ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม า ตี ค ว า ม ผิ ด ๆ
แต่ก็ไม่จาเป็นต้องพึ่งพาเงินวิจัยจากกองทุนวิจัยซึ่งมักได้รับการสนับสนุนจากบริษัทธุรกิจสื่อสาร
ยกตัวอย่างเช่ น ดร.โรนัลด์ เกลเซอร์ ศาสตราจารย์ด้านชีวฟีสิกส์ชาวเยอรมัน
ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น โ ร ค ม ะ เ ร็ ง แ ล ะ โ ร ค ที่ เ กิ ด จ า ก เ ชื้ อ ไ ว รัส ใน ดี เ อ็ น เ อ
ไ ด้ พ ย า ม อ อ ก ค ว า ม เ ห็ น แ บ บ เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
เอาไว้ทนองว่าคลื่นความถี่จากโทรศัพท์น่าจะมีส่วนก่อให้เกิดแรงก ระตุ้นโมเลกุลภายในเซลล์
หรือทาให้กลไกลการทางานของยีนภายในร่างมนุษย์เกิดความเปลี่ยนแปลง
ดร. เลนนาร์ต ฮาร์เดล ศาสตราจารย์จากสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเนื้องอก
ที่ อ อ ก ม า ฟั น ธ ง เ อ า ไ ว้ แ บ บ ชั ด เ จ น ว่ า
การใช้โทรศัพท์มือถือก่อให้เกิดอัตราเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นต่อการเป็นโรคทางสมอง มีความเกี่ยวพันระหว่างกา
รใช้ โท รศั พ ท์ มือ ถื อกั บ อัต ร าก าร เพิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ผ ล ก ร ะท บ ต่ อ ร ะบ บ ป ร ะส า ท
ก า ร ป ร า ก ฏ ข อ ง เ นื้ อ ง อ ก ใน ส ม อ ง ที่ เ กิ ด กั บ บ ร ร ด า ผู้ ใช้ โท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ
มักจะปรากฏให้เห็นในบริเวณศรีษะด้านที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ
บทที่ 2
มนุษย์กาลังกลายพันธุ์???
ขณะที่ฝ่ายหนึ่งพยาพยามสรุปว่าการใช้โทรศัพท์นั้นปลอดภัยมีผลกระทบน้อยมาก ยังไม่เกิด
อาการขนลุกขนพอง น่าสยอสยองมากมายสักเท่าไหร่ แต่หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์ด้านรังสีวิทยาอย่าง
ดร. เฮนรี ลาย และ ดร. นาเรนดรา ซิงห์ ได้ออกมายืนยันแบบหัวเด็ดตีนขาดในปี 1995 ทานองว่า
แม้คลื่นความถี่จากโทรศัพท์มือถือจะเชื่อว่าอยู่ในระดับปลอดภัย แต่ถ้าลองได้รับรังสีชนิดนี้นานๆ
จะส่ง ผลเ สีย ห าย ต่ อ “ดีเอ็นเอ ” แพ ท ย์ผู้เชี่ ย ว ช าญ ด้าน สม อง อย่ าง ดร. ลาร์ส
มาลม์เกรน และนักประสาทวิทยาอย่าง ดร. ลีฟ ซาลฟอร์ด จึงร่วมกับทีมงาน ลงมือทดลองกับหนู
โดย ใช้ค ว ามเข้มข อง รัง สีที่อยู่ ใน มาตรฐาน ซึ่งแม้ภาย นอกห นู จะไม่ มีอาการใด ๆ
แต่หนูเกิดการหลั่งสารอัลบูมิน อันจะกลายเป็นอุปสรรคกีดขวางต่อการทางานของระบบเลือดในสมอง
แม้ว่าการทดลองคราวนี้จะได้รับการยอมรับจากนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงแต่ก็ไม่อาจฝ่าด่าน
นักวิทยาศาสตร์ที่พร้อมจะกระโดดออกมาปกป้องผลประโยชน์ของบริษัทธุรกิจสื่อสารอย่างไม่มีวันลดละ
แม้จะทดลองกับหนูแล้วแต่ก็ยังไม่มีหลักฐานว่าจะส่งผลกับสัตว์อื่นๆหรือไม่
ในปี 2004 ทีมนักวิทยาศาสตร์จากยุโรป ได้รวมตัวกันศึกษาถึงอันตรายอันเนื่องมาจากคลื่น
ความถี่ต่าเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้ปรากฏร่องรอยความเสียหายซึ่งมีต่อ DNA ภายในเซลล์ แม้ว่าไม่มี
หลักฐานแน่ชักว่ารังสีสามารถเปลี่ยนแปลงการทางานของยีน แต่มันก่อให้เกิดผลกระทบต่อการทางาน
ของระบบไฟฟ้าในสมอง และระบบเลือดที่ล่อเลี้ยงสมอง
สาหรับปุถุชนทั่วไปถึงแม้จะพยามฟ้องร้องเอาผิดกับบรรดาผู้ให้บริการทางโทรศัพท์ที่ตั้งเสาในชุ
ม ช น จ น น่ า กั ง ว ล กั บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น รั ง สี เ ห ล่ า นี้
แต่รัฐบาลกับกฎหมายก็ยังมองไม่เห็นอันตรายนี้ ในขณะที่องค์การอนามัยโลกได้ออกมาตอกย้าถึงอันต
รายและเรียกร้องให้บรรดาผู้เกี่ยวข้องร่วมกันยกระดับมาตรฐานที่ปลอดภัยกับผู้คนยิ่งขึ้น
แต่ด้วยพลังแห่งอุปสงค์ที่ต้องการความสะดวกสบายจากเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพนี้ในยุคโ
ลกแห่งข้อมูลข่าวสารอันตรายจึงการใช้โทรศัพท์จึงถูกจากัดลงให้เป็นที่น่าวิตกในวงแคบๆ
เ พี ย ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ เ ถี ย ง กั น ไ ม่ จ บ
ซึ่งก็ไม่เป็ นที่สนใจกันมากนักเพราะยุ คที่การสื่อสารต้องเร็ว หากใค รเล่นไลน์ไม่เป็ น
ก็เป็นอะไรที่หนักยิ่งกว่าคนหลังเขา เพราะถึงแม้จะอยู่ในซอกหลืบใดการใช้โทรศัพท์เพื่อสื่อสาร
หรือรับรู้ข่าวสาร เพื่อทาให้อยู่บนโลกนี้ได้โดยไม่แปลกแยกนัก จนแม้เด็กรุ่นใหม่ๆก็ถูกขนานนามว่า
เ ด็ ก รุ่ น หั ว แ ม่ โ ป้ ง เ พ ร า ะ ใ ช้ กั น จ น เ ป็ น กิ จ วั ต
ใช้อุป กรณ์เห ล่านี้เป็ นสิบ ๆชั่ว โมงซึ่งโอกาสที่จะเกิดผลข้า งเคีย งนาไป สู่โรค ร้าย ๆ
ก็มากถึงและอาจส่งผลไปยังรุ่นต่อไปในระดับยีน แต่โลกไม่ว่าต่างต้องอยู่ในยุคที่มีแต่อุปกรณ์เหล่านี้
ย่ อ ม อั น ต ร า ย แ ล ะ มี ค ว า ม เ สี่ ย ง ด้ ว ย กั น ทั้ ง สิ้ น
อาจถึงขั้นต้องกลายพันธุ์ไปเป็นมนุษย์อีกประเภทหนึ่งอันเนื่องมาจากต้องใช้ชีวิตอยู่ในโลกซึ่งครอบคลุม
ไปด้วยคลื่นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าจากเทคโนโลยีชนิดนี้
บทที่ 3
สมองหมา...ปัญญาควาย!!!
จากสภาพแวดล้อมของโลกยุคใหม่ ที่เป็นตัวกาหนดวิถีชีวิตของมนุษย์มีแต่ต้องหันไปพึ่งพา
เทคโนโลยีมากขึ้น ทาให้เราต้องสัมผัสกับอันตรายและความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐ์
ยุคใหม่ๆ อย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ และอุปกรณ์เหล่านี้ไม่ได้เพียงเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายของใคร
คนใดค นห นึ่งเท่ านั้น แต่ลึกลงไป กว่านั้นมันยังสามารถส่งผลกระท บ ไป ถึง อารมณ์
จิตใจห รือแม้แต่สติปัญญ า ของมนุษย์ทุก คน แถมยังส่งมอบไปรุ่นต่อไป ผ่านยีนอีก ด้วย
ดังที่นักวิท ย าศาสตร์ผู้มีชื่อเสีย งโด่งดังระดับ โลกราย ห นึ่งชื่ อ ดร.เจอรัลด์ ค ราบ ท รี
ศาสตราจารย์ด้านอายุรศาสตร์และพัฒนาชีววิท ยา ได้เผยเผื่อการวิจัยอันน่าตะลึงในชื่อ
“ค ว า ม บ อ บ บ า ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ร า ”
ซึ่งสรุปแบบฟันธงว่าขณะที่เราเพลิดเพลินไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้เราดูเหมือนจะฉลาดกว่าบรรพ
บุ รุ ษ แ ล้ ว นั้ น แ ต่ จ ริ ง ๆ แ ล้ ว ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ร า เ ร า ก า ลั ง ล ด ล ง
ห รื อ ก็ คื อ ก า ลั ง ส ม อ ง ห ม า ปั ญ ญ า ค ว า ย ห นั ก ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
โดยจากการตรวจสอบตัวอย่างยีนและนามาสู่ข้อสรุปที่ว่ายีนที่เป็นตัวสร้างระบบพื้นฐานทางสติปัญญาให้
กั บ ม นุ ษ ย์ มี สั ด ส่ ว น ที่ ล ด ล ง
และยีนอีกหลายส่วนได้กลายพันธุ์จนทาให้ยีนเหล่าเหลือเพียงเสี้ยวเดียวของบรรพบุรุษเรา
ซึ่งเขาได้สรุปไว้ยีนที่ทาหน้าที่สาคัญนี้กาลังเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่สูญเสียขีดความสามารถใน
การทาหน้าที่ลงไปเรื่อยๆ ซึ่งสาเหตุน่าจะมาจากสองเรื่องคือ
เรื่องที่หนึ่งกระบวนการกลายพันธุ์ของยีนซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมายาวนาน ดังนั้นยุคโสกราตีส
พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พ ร ะ เ ย ซู ค ริ ส ต์ ถู ก ส รุ ป ว่ า มี ส ติ ปั ญ ญ า
และความมั่นคงทางอารมณ์มากกว่ามนุษย์ในยุคถัดมา
เรื่องที่ สองคือคว ามก้าวไกลท างเท ค โนโลยีเป็ นตัวเร่งกระบ วนการดังกล่าว
ใ ห้ เ ป็ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ร็ ว ขึ้ น แ ล ะ แ ร ง ขึ้ น
เพราะมนษย์ยุคก่อนต้องดิ้นนรนในกฎการคัดสรรจากธรรมชาติจึงเป็นตัวสร้างความมั่นคงทางอารมณ์
แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ห รื อ พู ด ง่ า ย ๆ คื อ
ถ้ามนุษย์ไม่ต่อสู้กับกฏเกณฑ์ทางธรรมชาติมากมายเกินไปนัก ไม่คิดจะไปคว้าเอาสิ่งประดิษฐ์
เอาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือในการเอาชนะธรรมชาติไปในแทบทุกเรื่อง การดารงรักษา “สติ-
ปัญ ญ า” และ “ค ว าม มั่นค งท าง อารมณ์ ” ข อง มนุ ษย์ให้ ต้องตกอยู่ ในสภาพอ่อนแอ
ชนิดที่อาจส่งผลให้คนยุคใหม่ๆต้องกลายพันธุ์ไปเป็น “มนุษย์พันธุ์โง่” อย่างมิอาจเลี่ยงได้
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ค น ใน ยุ ค ก า ร ป ฏิ วั ติ เ ท ค โ น โ ล ยี ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร
ยิ่งสาหัสมากขึ้น แม้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือจะยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดถึงอันตรายของมันแต่ก็มิอาจปฏิเ
สธเสียงจากบรรดานักวิทยาศาสตร์หรือแม้แต่องค์การอนามัยโลกที่ออกมาบอ กว่ามันอันตราย
ถึงมันจะยังไม่แสดงออกต่อระบบสุขภาพแต่อย่างน้อยภายใต้ภาวะ ความบอบบางทางสติปัญญาของเรา
กาลังหนักขึ้นเรื่อยๆเมื่อต้องใช้ชีวิตในยุคแห่งการปฏิวัติเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร
ที่น่าตกลงใจขึ้นไปอีกคือยีนโง่เหล่านี้กาลังถูกส่งมอบไปยังรุ่นต่อไป ย่อมมีผลทาให้จานวน และ
ปริมาณ “มนุษย์พันธุ์โง่” กาลังมีมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นโลกเสรี เผด็จการ จะรวยหรือจน ก็ควรนา
ข้อเสนอข อง ด ร.เจอรัลด์ ค ราบ ท รี ไป ใช้ก าห นดระบ บ และแบ บ แผนท างสังค ม
นับตั้งแต่บัดนี้ไปจนอนาคตเบื้องหน้า เพราะเทคโนโลยีกาลังเปลี่ยนคนให้กลายเป็นควายหนักขึ้นทุกที
บทที่ 4
เจน วาย...มนุษย์พันธ์ใหม่
ในบทนี้ผู้เขียนบรรยายถึงคานิยามของ “เจนวาย” และความแตกต่างทางบุคลิกของคน
“เจนวาย” และคน “เจนเอ็ก” คานิยามของ “เจนเอ็กซ์” ใช้เรียกคนทึ่เกิดมาในช่วงปี 1980
เป็ น ลู ก ห ลาน ข อง ผู้แ ส ว ง ห าค ว าม รัก สัน ติภ าพ ค ว าม รู้สึก ด้าน จิต วิญ ญ า ณ
และหันมาอยู่ ภาย ใต้กรอบ ทุ นนิย ม และวัตถุนิยม เมื่อคนเห ล่านี้มีลูกห ลานออกมา
พวกเขาก็แทบไม่ต้องทาอะไรเลย เพราะรุ่นพ่อรุ่นปู่ได้แสวงหาไว้ให้หมดเเล้ว ทาให้คน “เจนเอ็กซ์”
ก็ไม่รู้ว่าจะเอายังไงต่อกับชีวิตดี ก็เลยใช้ชีวิตแบบมึนๆ งงๆ กันไป
สาห รับ คาว่ า “เจนว าย” นั้นจะห มาย ถึงลูกห ลานรุ่นถัดมาของค น “เจนเอ็กซ์”
ที่เกิดมาท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เรียกกันว่าแทบจะขั้นสูงสุดของมวลมนุษย์
พูดง่ายๆก็คือพวกที่เกิดมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์หนึ่งตัว และทีวีทีมีช่องให้เลือกมากกว่าห้าร้อยช่อง
จากผลสารวจรวจทางบุคลิกภาพของมหาลัยชื่อดังหลายแห่งพบว่า
1. เจนวาย มีทัศนะคติต่อความร่ารวย โดยให้ความสาคัญต่ออนาคตตนเองมากกว่าคนเจนเอกซ์
2. เจนวาย ความสนใจทางการเมืองของคนเจนวายลดลง
3. เจนวาย ให้ความสาคัญต่อการแสวงหาความหมายของชีวิตลงลดเป็นเท่าตัว
ใ น ส่ ว น ข อ ง ส า เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ ค น เ จ น ว า ย
มี ทั ศ น ค ติ ต่ า ง จ า ก ค น เ จ น เ อ็ ก ซ์ นั้ น มี ผ ล ม า จ า ก ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ทั้ ง สิ้ น
ไม่ว่าจะเป็ นลักษณ ะการเลี้ย งดูข องพ่อแม่ที่มีผลต่อความใส่ใจในตัว เองข องเจนวาย ,
การบีบรัดของเศรษฐกิจที่ทาให้เจนวาย ต้องยังคงอาศัยอยู่กับครอบครัวทั้งที่อยู่ในวัยทางานแล้ว
และยังรวมถึงเทคโนโลยีที่เติบโตยิ่งกว่าดอกเห็ดในยุคสมัยนี้อีก ที่ทาให้เหล่าเจนวายหันไปจิ้มๆทิ่มๆ
ห น้ า จ อ โ ด ย มี ป ฎิ สั ม พั น ธ์ กั บ ค น ร อ บ ข้ า ง ล ด ล ง
ผลการสารวจพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกงานของคนเจนวายคือ
1. หน้าที่การงานต้องสมดุลกับชีวิต
2. วัฒนธรรมขององกรค์ที่เข้ากับตนเองได้
3. งานมีความหลากหลาย ไม่จาเจ
4. ผู้บริหารมีความโปร่งใส
5. ผู้บริหารจะต้องยอมรับคาตัดสินแบบหมู่คณะ
บทที่ 5
เทคโนโลยีและการล้างสมอง
ในบทนี้ผู้เขียนกล่าวถึงสาเหตุที่ทาให้ทัศนคติของคนเจนวายแตกต่างจากคนรุ่นก่อนๆ
นั้ น มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก อ ะ ไ ร น อ ก จ า ก ที่ เ ก ริ่ น ม า จ า ก บ ท ที่ เ เ ล้ ว
โดยผู้เขียนได้ลงน้าหนักกับบทบาทหน้าที่ของเทคโนโลยี ที่ทาให้ เจนวาย เปลี่ยนไปได้อย่างมีนัยสาคัญ
เนื่องจากเจนวายเกิดมาในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยสื่อ อย่างโทรทัศน์ 500 ช่อง, อินเตอร์เน็ต,
คอมพิว เตอร์ ห รือเเม้แต่โท รศัพ ท์มือถือ ท าให้เจนวาย มีการเสพสื่อโฆ ษณ าต่าง ๆ
ที่ อ ยู่ ใน อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นี้ ม า ก ก ว่ า 30,000 ชิ้ น ก่ อ น เข้ า เรีย น อ นุ บ า ล ด้ ว ย ซ้ า
ซึ่งมีนักวิชาการได้กล่าวเอาไว้ว่า สื่อเหล่านี้กาลังเปลี่ยนให้คนที่เสพอยู่กลายไปเป็นผู้บริโภคของตน
ทาให้มีความไม่พอใจในสิ่งทีมี อย ากได้สิ่งใหม่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งจากผลสารว จพบว่ า
นักศึกษาที่เรียนในมหาวิทยาลัย เจนวายมีการให้ความสาคัญ ต่อความร่ารวยในอนาคต
แปรผันตรงกับจานวนชั่วโมงที่เหล่าเจนวายนี้ได้เสพสื่อต่างๆ ต่อวัน การพัฒนาของคอมพิวเตอร์
ที่ ย่ อ ข น า ด เ ม น เฟ ร ม อัน ให ญ่ โต ม หึ ม า ให้ เ ล็ก ล ง เพี ย ง เ ด็ก ป ระ ถ ม แ บ ก ไ ด้
ท า ใ ห้ เ จ น ว า ย มี ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร เ ส พ สื่ อ
ห รื อ ไ ด้ รับ ข้ อ มู ล แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ให ม่ ๆ เ ข้ า ม า ไ ด้ เ ร็ว ก ว่ า ค น รุ่ น ก่ อ น
ซึ่งมนุษย์เราก็ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ที่จะสามารถโหลดไฟล์มาเก็บในเครื่องโดยไม่มีผลกระทบอะไร ข้อมูล
และป ระส บ ก ารณ์ เห ล่ านี้ ล้ว นเ เล้ว ส่ ง ผ ลต่ อค ว ามคิด ค ว าม จ าข อ ง เราทั้ง สิ้น
เ นื่ อ ง จ า ก ข้ อ มู ล ที่ รั บ แ ต่ ล ะ วั น มี ม า ก จ น นั บ ไ ม่ ถ้ ว น
ทาให้เจนวายมีความแปรปรวนทางอารมณ์และความคิดค่อนข้างสูง
บทที่ 6
วิกฤตการณ์ที่ไม่เคยมีมาก่อน
ในบทนี้ผู้เขียนได้กล่าวถึงบทบามของเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิต ไม่แม้เเต่กับเหล่า
เจนว าย เท่นั้น แต่รวมถึงมนุ ษย์ที่อาศัยอยู่ท่ ามกลางโลกสีเขียว ๆ ใบ นี้ อินท อร์เน็ต
เทคโนโลยีอันท รงประสิทธิภาพที่สามารถเข้าถึงผู้คนได้หลายล้านคน ในเวลาเดียวกัน
แต่กลับย่นระยะเวลาและระยะทางให้เหมือนอยู่กับแค่ปลายจมูก ยังไม่รวมเทคโนโลยีอื่น ๆ
ที่ส่งผลต่อบทบาทการใช้ชีวิตของเรา เช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ไปจนถึง
นาโนเทคโนโลยี ทีกาลังเข้ามารุกรานความเป็นธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งนั่นก็อาจจะสื่อได้ว่า
เรากาลังจะกลายพันธ์ไปเป็นไอ้ลิงโง่เขย่งหยิบกล้วย แข่งกับลิงชิมแปนชีในสวนสัตว์ก็เป็นได้
บทที่ 7
อรุณรุ่งแห่งมวลมนุษยชาติ
เมื่อเทคโนโลยีกาลังเปลี่ยนแปลงมนุษย ชาติไปอย่างกู่ ไม่กลับ เช่นนั้นแล้วใครล่ะ
ที่เป็นคนเริ่มต้นเทคโนโลยีที่กาลังจะทาให้โลกของเราวินาศ มองย้อนกลับไปในอดีตประมาณ 2.5
ล้านปี ที่แล้ว เมื่อลิงตัวหนึ่งได้คว้า “หินห นึ่งก้อน” ขึ้นมาใช้ชาแหละเนื้อสัตว์ที่ตาย แล้ว
หรืออาจเอามาไล่ทุบ ไล่ตีศัตรู เพียงหินก้อนเดียวก้อนนี้จะว่าเป็ นจุดกาเนิดของมนุษยชาติก็ว่าได้
แม้หินก้อนนี้อาจไม่ได้ให้กาเนิดมนุษย์ แต่เป็นสิ่งที่ตัดขาดมนุษย์ออกจากความเป็นธรรมชาติ
เป็นตัวขีดเส้นแบ่งมนุษย์ออกจากสัตว์เดรัจฉาน เริ่มจากมนุษย์โฮโม ฮาบิลิส ที่มีลักษณะไปทางครึ่งคน-
ครึ่งลิง เช่นคุณลูซี่ ซึ่งเป็นผู้เริ่มต้นหยิบหินมาใช้ ต่อมามนุษย์โฮโม อีเร็กตัส เริ่มรู้จักเทคโนโลยีการใช้
“ไฟ” เมื่อไฟถูกนามาใช้ในการทาให้อาหารอร่อยขึ้น ทานง่ายขึ้น จึงเกิด “ความเปลี่ยนแปลงทางสรีระ”
เพราะอาหารที่ทานง่ายขึ้นทาให้ฟันเล็กลง เมื่อใช้ความคิดมากขึ้น ปริมาณก็สมองเพิ่มขึ้น
รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการเปล่งเสียงมากขึ้นด้วย และวิวัฒนาการเป็นมนุษ ย์โฮโม
ซ า เ ปี ย น ส์ อ ย่ า ง เ ร า ๆ นี่ เ อ ง เ มื่ อ บ ท บ า ท ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี เ พิ่ ม ขึ้ น
จึงท าให้ป ระวัติศ าสตร์ข องมว ลมนุ ษย ช าติเริ่มป รากฏ เป็ นรูป เป็ นร่างอย่ างชัดเจน
และส่งต่อเทคโนโลยีนั้นมาจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งดร.เจอรัลด์ คราบทรี วิเคราะห์ลึกลงไปถึงระดับยีน
เขาพบว่ามนุษย์กาลังอ่อนแอลงทางสติปัญญาและความมั่นคงทางอารมณ์ เขาจึงมีข้อเสนอแนะว่า
เร าต้ อ ง ฟื้ น ฟู คุ ณ ธ ร รม ศี ล ธ รร ม ก ร ะตุ้ น ให้ เกิ ด ค ว าม รู้สึก ช่ ว ย เห ลือ ฯ ล ฯ
เ ร า จึ ง จ ะ พ อ มี เ ว ล า ใน ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ห ล่ า นี้ ไ ด้ แ ม้ ว่ า ด ร .เ จ อ รั ล ด์
จ ะ มี เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ เ ต็ ม ไ ม้ เ ต็ ม มื อ
แต่เขากลับมีข้อเสนอแนะไม่ต่างอะไรจากท่านพุทธทาสภิกขุ ที่ท่านกล่าวไว้ก่อนจะมรณภาพว่า
“ศี ล ธ ร รม ไ ม่ ก ลั บ ม า ...โล ก า จ ะ วิ น า ศ ” ใน บ ท อ รุ ณ รุ่ง แ ห่ ง ม ว ล ม นุ ษ ย ช า ติ
จึง เ ป็ น บ ท ที่ ก ล่ า ว ถึ ง จุ ด เ ริ่ม ต้ น ข อ ง เ ท ค โ น โล ยี ว่ า เริ่ม ต้ น ม า จ า ก อ ะ ไ ร
สิ่งนี้จะส่งผลให้เกิดอะไรในภายหลังกันแน่...
บทที่ 8
อรุณรุ่งแห่งวิทยาศาสตร์
ในยุคแรกเทคโนโลยีถูกนามาใช้เพื่อความอยู่รอด แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความแออัดเพิ่มขึ้น
เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ม่ ไ ด้ ถู ก น า ม า ใ ช้ เ พื่ อ ด า ร ง ชี วิ ต อี ก ต่ อ ไ ป
แ ต่ ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ใ ช้ เ พื่ อ แ ย่ ง ชิ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร
เ ห ล่ า ผู้ ค น ห ลั่ ง ไ ห ล ม า อ ยู่ ร ว ม กั น เ ป็ น จ า น ว น ม า ก ขึ้ น
แต่ ละ เมือ ง จึง จ าเ ป็ น ต้อ ง ต อ บ ส น อ ง ให้ เพี ย ง พ อ กั บ ค ว าม ต้อ ง ก าร ข อ ง ผู้ค น
ทาให้เกิดการจดบันทึกสิ่งของที่นามาแลกเปลี่ยนลงบนดินเหนียว “การเขียน” จึงได้อุบัติจากจุดนี้
เป็นผลพลอยให้ ความรู้ และเทคโนโลยีต่างๆถูกแพร่ออกไป เมื่อความรู้เหล่านี้ไปถึงมือชาวกรีก
แล้วชาวกรีกนาค วามรู้นั้นๆไป ต่อย อด ทาให้เกิดเหล่านักป ราช ญ์ขึ้นเป็ นจานวนมาก
ซึ่งเห ล่านักปราชญ์ ชาวกรีกนาคว ามรู้ที่ได้มานั้น ท าแยกโลกของจิตวิญ ญ าณออกไป
แ ล้ ว หั น ไ ป ฝั ก ใ ฝ่ ใ น วั ต ถุ นิ ย ม ม า ก ขึ้ น
แม้ว่ าเพลโตจะพย ายามไม่ให้ผู้ค นนาค วามรู้ไป แยกมนุษย์ออกจากธรรมช าติเท่ าไร
ภ า ย ห ลัง เ มื่ อ เ พ ล โต เสี ย ชี วิ ต เข า ได้ ส่ ง ต่ อ ให้ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ คื อ อ ริส โต เ ติ ล
แต่เมื่ออริสโตเติลได้ย้ายไป ปักหลักที่เอเธนส์ การคลุกคลีกับ เหล่านักปราชญ์ก ลุ่มอื่นๆ
อ ริ ส โ ต เ ติ ล ก็ ค ล้ อ ย ต า ม ก ร ะ แ ส ใ น ที่ สุ ด
วิธีคิดแบบเป็นเหตุเป็นผลจึงกลายเป็นมาตรฐานความรู้ของชาวกรีก อันตั้งอยู่บนพื้นฐานที่เรียกว่า
สสารนิยม ด้วยแนวคิดและวิธีคิดเช่นนี้ ยิ่งทาให้เทคโนโลยีที่เกิดจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ยิ่งทาให้มนุษย์ถูกแยกออกห่างจากโลกแห่งจิตวิญญาณและความเป็นธรรมชาติไกลห่างออกไปทุกที
และหันมาหมกมุ่นกับโลกแห่งสสารแทน
บทที่ 9
ความเจริญทางวัตถุ – ความเสื่อมทางจิตวิญญาณ
เ มื่ อ 348-347 ก่ อ น ค ริ ส ต ศั ก ร า ช เ พ ล โ ต
เค ย ก ล่าว เตือ น ไว้ ว่ าไม่ ให้ น าค ว าม รู้ไป ใช้ ในท างที่ ไม่ ถู ก ต้อ ง โด ย ก ล่าว ไว้ว่ า
“นครรัฐอันเป็นแหล่งผลิตสติปัญญาแห่งความใฝ่รู้ ใฝ่แสวงหา สุดท้าย...อาจต้องถูกความใฝ่รู้ ใฝ่แสวงหา
ทาลายล้างขนบธรรมเนียม ประเพณี อันเป็น รากฐานและ เจตนารมณ์อันลึกซึ้งของนครรัฐ”
เมื่อชาวกรีกต่างหมกมุ่นกับโลกแห่ งสสาร จนไม่ใส่ใจกับค วามนึกคิดด้านจิตใจอีกต่อไป
แม้ก ระทั่ง ค ว าม ศ รัท ธาอัน แรง ก ล้าต่อเท พ ซุ สที่ มีม าช้ านานก็ เลือน ห าย เช่ น กั น
จนความเสื่อมและความเสถียรภาพของจักรวรรดิชัดเจนขึ้น ท้ายที่สุดกรีกล่มสลาย ลง
ภายใต้การยึดอานาจของโรมัน แม้ว่ากรีกจะล่มสลายลงแต่แนวคิดต่างๆไม่ได้หายไปไหน
กลับถูกส่งต่อไป ให้ช าวโรมราวกับมรดกบ าป ชาวโรมอาจไม่ใช่นักป ราชญ์ดังชาวกรีก
อ อ ก จ ะ เ ป็ น นั ก ก า ร ท ห า ร เ สี ย ม า ก ก ว่ า ด้ ว ย ซ้ า
แต่ ก็ ไม่ ว าย น า ค ว าม รู้ไป ใช้ ต่ อย อ ด ฉ ก ฉ ว ย ห าผ ล ป ร ะโย ช น์ แ ก่ ต น เอ ง จ น ได้
ห ากจะกล่าวถึงเท ค โนโลยีที่ สร้างค ว ามพังพินาศ ให้ ช าว โรมได้มากที่สุดแล้วล่ะก็
ไม่ใช่ขีปนาวุธยุทโธป กรณ์ใด แต่เป็ นเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มีชื่อว่า “ลาติฟุนเดีย ”
ห รือก็คือการท าฟาร์มข นาดให ญ่ นั่นเอง เมื่อช าว โรมยึดดินแดนได้เห ล่าผู้มีอานาจ
ผู้มีเงินก็กว้านซื้อที่ดินไปครอบครองเพื่อทาลาติฟุนเดีย เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่
ที่ ไม่ ใช่ ก ารเพ าะป ลู กเ พื่ อค ว าม อ ยู่ รอ ดอีก ต่อ ไป แต่ เป็ น เรื่อ ง ข อ ง กาไรล้ว น ๆ
จนกระทั่งเหล่าช าวนาอิสระต้องข ายที่ดินของตัวเองเพราะท นต่อค วามขัดสนไม่ไห ว
ไหนจะถูกเกณฑ์เป็นท หารอีก หลังจากขายที่ดินที่เป็นดังจิตวิญ ญ าณของชาวโรมแล้ว
ช าว นาเห ล่านี้ ก็ก ลาย เป็ นพ ว ก เร่ร่อน ว่ าง ง าน จนก ลาย เป็ นอ าช ญ ากรใน ที่สุ ด
ประชาธิปไตยของโรมจึงตายลง เมื่อทุกสิ่งผิดเพี้ยน วิปริตอย่างที่สุดของที่สุดที่แม้แต่กษัตริย์ก็วิปลาส
ผู้ค นจึงหันกลับ ไป ห าที่ยึดเห นี่ย วท างจิตใจ ป ระจวบ เห มาะที่ว่าจุดเสื่อมของโรมัน
ช่ า ง เ กิ ด ขึ้ น พ อ ดิ บ พ อ ดี กั บ ศ า ส น า ค ริ ส ต์ เ สี ย เ ห ลื อ เ กิ น
ท า ใ ห้ ใ น ช่ ว ง นั้ น ศ า ส น า ค ริ ส ต์ แ พ ร่ อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
แม้ภายหลังคอนสแตนตินมหาราชจะประกาศศาสนาอย่างเป็นทางการก็ไม่อาจหยุดยั้งการล่มสลายของจั
กรวรรดิได้อยู่ดี
บทที่ 10
เมื่อดาร์ธ เวเดอร์ เผชิญหน้ากับ เจได
ในบ ท นี้ ได้มีก ารเป รีย บ เรื่อง ข อง การล่ม สลาย ข อ งจักรว รรดิกรีก -โรมัน
เหมือนดั่งฉากจบของหนังฮอลลีวูดดังอย่างเรื่อง สตาร์วอร์ส ที่ถึงจบสิ้นแล้วเป็นรุ่น ยุค สมัย แล้ว
ยังมีการสืบต่อไปอีกเรื่อยๆ ดังภาคต่อของหนังเรื่อง สตาร์ วอร์ส ซึ่งจะมีตัวแทนพลังด้านมืดอย่าง
อนาคิน สกายวอล์คเกอร์ หรือ ดาร์ธ เวเดอร์เป็นผู้ถ่ายทอด ส่งมอบ มรดกบาป นี้ต่อไปเรื่อยๆ เป็น รุ่น
ยุค สมัย จนถึงปัจจุบัน
ความรู้ของจักรวรรดิกรีก-โรมัน ที่ชาวยุโรป ที่เปรียบเสมือน อนาคิน สืบทอดมานั้น
มีการแทรกแซงจากพวกคริสเตียน ที่เปรียบเป็นดั่ง อัศวิน เจได ในเรื่องของแนวคิดที่ขัดแย้งกัน คือ
ความรู้ของคริสเตียนเป็นแบบที่มาจากพระเจ้า ไม่ใช่ ความรู้ที่พยายามแยกพระเจ้าออกจากมนุ ษย์
อ ย่ า ง ก รีก ท า ให้ ช า ว ยุ โร ป ถู ก ค ร อ บ ง า จ า ก ช า ว ค ริส เตี ย น ใน ร ะ ย ะ ห นึ่ ง
และพวกคริสเตียนยังได้แทรกแซงจักรวรรดิอิสลาม เช่นเดียวกัน แต่ก็ไม่สามารถทาอะไรชาวมุสลิมได้
และเป็นเพราะพระเข้าไปยุ่งกับทางโลกย์มากขึ้น และได้แป รสภาพเปลี่ยนไป กันสิ้นเชิง
จน ท า ให้ ก ารป ฏิ บั ต ข อง พ ระห รือ นั ก บ ว ช นั้น ขั ด กั บ แ น ว คิด ใน คัม ภี ร์ไบ เบิ ล
เป็นผลทาให้ความรู้กรีกได้ฟื้นฟูกลับขึ้นมาในยุโรปอีกครั้ง
ความรู้ของชาวกรีกในด้านต่างๆ ที่แปลกใหม่ มันช่างน่าตื้นเต้นกว่า ความรู้ทางศาสนา
ที่ ซ้ า ซ าก น่ า เบื่ อ สิ่ง เห ล่ านี้ ส ร้า ง ค ว าม ห ล ง ให ล ให้ กั บ ช าว ยุ โรป โด ย ทั่ว ไป
และผู้ที่มีบทบาทอิทธิพลต่อพระ เซนต์ โธมัส อไควนัส ยังอด เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ไม่ได้
มีการเสนอให้แยกเรื่อง เทววิทยา ออกจาก ปรัชญาเพื่อให้ความรู้ต่างๆ ไม่ต้องมาก้าวก่ายกัน เท่ากับว่า
เปิดทางสะดวกให้กับ ดาร์ธ เวเดอร์ ฟื้นคืนชีพกลับมาเริ่มต้นฉายหนัง สตาร์ วอร์ส ภาคใหม่ หรือ ภาค
เอ็มไพร์ สไตรค์ แบ็ค ขึ้นมาในทวีปยุโรปตั้งแต่บัดนั้น
บทที่ 11
The Empire Strikes Back!!!
ในบทนี้ ได้บอกให้เห็นถึง การที่คัมภีร์เริ่มหายไป ศาสนาคริสต์เริ่มไม่ค่อยมีบทบาทอานาจ
เนื่ อง มาจาก น าย โย ฮัน เนส กู เต นแบ ร์ก ช าว เย อรมัน ที่ เป็ นผู้คิด ค้น ป ระดิษ ฐ์
เค รื่ อ ง พิ ม พ์ ที่ อุ บั ติ ขึ้ น ม า ใน ดิ น แ ด น ยุ โร ป มี ค ว า ม คิ ด ที่ ห ยุ ด ตี พิ ม พ์ คั ม ภี ร์
เ นื่ อ ง ม า จ า ก ร า ย ไ ด้ ที่ น้ อ ย ล ง จ า ก ก า ร ท า ห นั ง สื อ แ บ บ เ ดิ ม
จึง ท าให้ เกิดห นังสือค วามรู้ช าวก รีกที่น่ าสนใจกว่ าค ว าม รู้ศ าสนาที่ซ้าซากน่ าเบื่ อ
กลับมาฟื้นฟูอย่างจริงจัง และความรู้ก็นาเอามาใช้ในประโยชน์หลายด้านจนถึงปัจจุบันนี้
ภายใต้สภาพบรรยากาศเช่นนี้ ดาร์ธ เวเดอร์ จึงสามารถเปิดฉากปฏิบัติการ เอ็มไพร์ สไตรค์ แบ็ค
แผ่พลังด้านมืดทั่วยุโรป อย่างถึงรากโคน ความรู้ของชาวกรีกถูกตีพิมพ์ เผยแพร่ อย่างกว้างขวาง
โด ย ไม่ ส น ใจ ก าร ก ลั่น ก ร อ ง จึง เ ริ่ม เป ลี่ย น ทั ศ น ค ติ มุ ม ม อ ง ข อ ง ช าว ยุ โร ป
ต่างไปจากยุคศาสนจักรคนละเรื่อง และวิธีคิดแบบมีเหตุผลของ อริสโตเติล ที่ถูกรวบรวม
ในงานเขียนชื่อ Organon ถูกนามาตบแต่ง ต่อยอด โดยนักคิด นักปรัชญา ฝรั่งเศส เรอเน เดส์การ์ตส์
กลายมาเป็นมาตรฐานของ ปรัชญายุคใหม่ ยุคเหตุผลนิยม ยุคแห่งแสงสว่างทางปัญญา จึงค่อยๆ
อุบัติขึ้นทั่วทวีปยุโรป และความรู้ของชาวกรีกยังเหมาะกับยุคสมัยสงครามนั้นเริ่มเกิดขึ้น ศิลปิน วิศวกร
และนักบริหารชาวอิตาเลียนในยุคเรอเนสซองซ์ ก็ได้คิดริเริ่มสร้างสรรค์องค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ ภาพวาด
อย่ างเรือขับ เค ลื่อนด้ว ย ระ บ บ ก ารห มุนใบ พัด ปั๊มลูก สูบ ก ารใช้ดินปื นในสง ค ราม
ถือว่าเป็นการปฏิวัติทางทหาร การปฏิวัติดินปืน ปืนใหญ่ ในกองทัพยุโรป ภาพโมนาลิซา
ภาพร่างสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
จากที่จุดมุ่งหมายของความรู้ จากเพื่อเข้าใจความหมายของชีวิต ถูกแปรสภาพเป็น
การเรียนรู้เพื่อให้มีชีวิตอยู่เป็นหลัก เพื่อเติบโตในตาแหน่งการงาน ไขว่คว้าหาประโยชน์ให้ตัวตนตัวเอง
โดยเฉพาะรัฐ ห รือชาติ ต่างไม่ต้องเป็นเพียงแค่ อาณาจักรคริสเตียน กระจอกๆ ต่อไป
แต่มุ่งหวังเป็นชาติอันทรงพลังอานาจ ทั้งในทางการเมือง การทหารเศรษฐกิจ การค้า การพาณิชย์
ระบบการศึกษาแบบใหม่จึงถูกกาหนดกาเกณฑ์ ให้ต้องตอบสนองความต้องการดังกล่าว โดยเลี่ยงไม่ได้
บทที่ 12
ปฏิวัติวิทยาศาสตร์
บ ท นี้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ป ฏิ วั ติ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า
เกิดจากชาวยุโรปนั้นนาความรู้ของชาวกรีกหรือความเชื่อแบบเดิมๆ นั้น มาปรับเปลี่ยน
และทาให้เกิดความรู้ใหม่ เช่น การเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อแบบเดิมๆของอริสโตเติล ว่า
โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ซึ่งพวกพระมีความเชื่อแบบนี้มาเป็นเวลานานให้เป็นความรู้ใหม่
ความจริงใหม่ที่ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ตามแนวคิดของ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส
นั ก ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ด า ร า ศ า ส ต ร์ ช า ว โ ป แ ล น ด์
ซึ่ง ก า รป ฏิ วั ติท าง วิท ย า ศ าส ต ร์ก็ ท า ให้ วิ ถีชี วิ ต ข อ ง ผู้ ค น นั้น เป ลี่ย น ไป เช่ น
จากการทาเกษตรแบบพออยู่พอกิน ไปเป็นการทาเกษตรเพื่อการค้ามากขึ้น
บทที่ 13
ปืน ทุน เทคโนโลยี และความโลภ
ผู้เขียนอธิบ าย เพิ่มเติมถึงแนวคิดของชาวกรีก ที่ช าวยุโรป นามาต่อยอดซะให ม่
ทาให้สามารถแผ่อิทธิพลไปในวงกว้าง โดยเริ่มจากศาสนจักรคริสเตียนค่อยๆล่มสลายไป เป็นผลมาจาก
“แสงสว่างทางปัญญา” เข้ามาแทนที่แสงสว่างจากพระเจ้า ทาให้ชาวยุโรปเกิด กิเลส และ ความโลภ
จึงทาให้เกิด “สงคราม” ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้ชาวยุโรปรบราฆ่าฟันกันเอง ตัวอย่าง เช่น สงคราม 100 ปี
สงครามที่อังกฤษรบกับฝรั่งเศส ตัวอย่าง เช่น สงคราม 100 ปี สงครามที่อังกฤษรบกับฝรั่งเศส
ซึ่งอาวุธที่ใช้ในการรบ คือ “ดินปืน” เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดการปฏิวัติทางทหารครั้งสาคัญ ทั้งๆ
ที่ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ น ปื น นั้ น ไ ม่ ไ ด้ แ ต ก ต่ า ง จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร พิ ม พ์
คือไม่ใช่สิ่งประดิษฐ์ที่ชาวยุโรปคิดค้นขึ้นมา แต่ว่าเป็นชาวจีนที่เป็นผู้เริ่มประดิษฐ์คิดค้นค้นขึ้นมา
ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ น ปื น ม า ใช้ ท า ศึ ก ส ง ค ร า ม จึ ง ไ ม่ ใช่ ข อ ง ให ม่
แต่เหตุที่เทคโนโลยีที่นาไปสู่การปฏิวัติครั้งสาคัญ เนื่องจากการนาไปใช้แบบถูกที่ถูกเวลา ถูกความรู้สึก
ม า ก ก ว่ า ใ น ช่ ว ง แ ร ก ๆ ก า ร น า ก ร ะ สุ น ที ท า จ า ก ดิ น ปื น
ใช้ในสงค รามระห ว่างชาวยุ โรป ด้ว ยกันเองซึ่งมุ่งค วามต้องการที่จะถล่มกาแพงเมือง
ห รือ ป้ อ ม ป ร า ก า ร ข อ ง ฝ่ า ย ต ร ง ข้ าม เ ป็ น ห ลัก เท ค โน โล ยี ส ง ค ร าม ช นิ ด นี้
ไม่ ใช้ แ ค่ อ า วุ ธ เ ส ริม ที่ ไ ว้ ถ ล่ ม ก า แ พ ง เ มื อ ง ป ร า ส า ท พ ร ะ ร า ช วั ง เ ท่ า นั้ น
แต่มันได้ถูกพัฒนาเป็นอาวุธประจากองทัพ รวมถึงเป็นเครื่องมือในการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป
บทที่ 14
กองเกวียนคนทุกข์ในยุคจักรกล
บทนี้ได้กล่าวถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ใน “การปฏิวัติอุตสาหกรรม” ในประเทศอังกฤษ
โ ด ย ผู้ เ ขี ย น ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า
“การจะทาการปฏิวัติอุตสาหกรรมจะไม่สาเร็จได้หากใช้เพียงความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว
แต่ยังต้องอาศัย ค วามเหี้ ย ม และ ค ว ามโลภ เข้ามาช่ ว ย เป็ นแรงขับ เค ลื่อนด้ว ย ”
โดยอธิบายความเหี้ยมและโลภผ่านเบื้องหลังความสาเร็จของการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษ
โดยมาจากการที่อังกฤษสามารถผลิตสินค้าออกมาขายจานวนมากจนทาให้ขาดทรัพยากรในการผลิต
จนเป็นเหตุให้อังกฤษต้องหาแหล่งวัตถุดิบใหม่โดยเลือกใช้ประเทศอาณานิคมในแถบแอฟฟริกาเป็นแหล่
ง ผ ลิ ต วั ต ถุ ดิ บ เ พิ่ ม เ ติ ม
และจากการที่เทคโนโลยีเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในโรงงานก็ทาให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตของประชาชนช
าวอังกฤษเนื่องจากโรงงานเลือกที่จะจะใช้แรงงานเครื่องจักรแทนแรงงานคนมากขึ้นส่งผลให้ค่าจ้างแรงง
านถูกลงและคนตกงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการจลาจลและโรคระบาดในเมือง
บทที่ 15
ลัทธิอุตส่าห์ - หา - กรรม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษซึ่งสภาพสังคมในช่วงนั้นเป็น
แ บ บ แ ย ก ช น ชั้ น ค น ร ว ย ค น จ น อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
ซึ่งการแยกชนชั้นนาไปสู้ความขัดแย้งจนเกิดการจลาจลบ่อยครั้งจนไม่สามารถยับยั้งความรุนแรงได้
จนมีนักป ฏิรูป สังค มชื่ อนาย “Robert Owen” เข้ามาท าก ารป ฏิวัติให้ ค ว ามรู้แรง งาน
ใ ห้ แ ร ง ง า น มี ส่ ว น ร่ ว ม ม า ก ขึ้ น
เพิ่มค่ าจ้างท าให้ เกิดค นช น ชั้นกลาง ขึ้นมาแต่ก็บ รรเท าได้เพีย งบ าง ส่ว นเท่ านั้น
ด้วยเหตุนี้ยังมีกลุ่มคนที่ต้องการความเท่าเทียมเสมอภาคอย่างแท้จริงเกิดเป็นสังคมแนวทางใหม่ที่เรียก
“สั ง ค ม นิ ย ม ” ห รื อ “ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ”
ซึ่ง มีก รรับ ฟัง ค น ช นชั้น ล่าง ม าก ขึ้ นแ ละ ได้รับ ค ว าม นิย ม ใน ท วีป ยุ โรป ม าก ขึ้ น
แต่ไม่ ว่าจะเป็ นทุ นนิย มห รือสัง ค ม นิย มแนว คิดทั้งสอง ก็ยัง ยึดติดอยู่ กับ วัตถุนิย ม
หรือก็คือทุกคนต้องแข่งขันแย่งชิงเพื่อให้ได้สิ่งของมาใช้เป็นตัวแบ่งชนชั้นของแต่ละคนนั่นเอง
บทที่ 16
สงครามกับการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี
เทคโนโลยีในปัจจุบันนี้ ล้วนเป็นผลพลอยได้จากการพัฒ นาอาวุธ และเทคโนโลยี
จ าก ภ าว ะส ง ค ร าม โล ก ภ าย ใน อ ดี ต ทั้ ง ส ง ค ร าม โล ก ค รั้ง ที่ 1 แ ล ะค รั้ง ที่ 2
นอกจากนี้ยังมีสงครามเย็นที่ก่อตัวก่อนสงครามอีกด้วย เทคโนโลยีต่างๆ เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็ น
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ , พ า ห น ะ , เ ค รื่ อ ง บิ น , พ ลั ง นิ ว เ ค ลี ย ร์ ฯ ล ฯ
ล้ว น เกิ ด จ าก ค ว าม พ ย าย า ม ที่ จ ะเอ าตัว รอด ข อ ง ม นุ ษ ย์ ภ าย ใน ภ าว ะบี บ คั้น
ให้พัฒ นาตนเองเพื่อต่อสู้กับ ป ระเท ศตรงข้าม เป็ นเรื่องน่ าตลกที่อุตสาห กรรมต่าง ๆ
นั้ น ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ฟื้ น ฟู ตั ว ไ ด้ ภ า ย ใ น ภ า ว ะ ส ง ค ร า ม เ ห ล่ า นี้
และยังสามารถป ระคับป ระคองอุตสาหกรรมให้ดารงอยู่ได้ โดยอาศัยทุนท างการท หาร
เป็ น ตัว กอ บ กู้อุต สาห ก รรม วิก ฤต เห ล่านี้ แ ละ สามารถพัฒ น าเท ค โนโลยีต่ าง ๆ
เพื่อนาไปใช้เพื่อการท หารได้อีกด้วย ซึ่งเมื่อสงครามสิ้นสุดลงแล้ว ผลพลอยได้เหล่านั้น
ล้ว น เป็ น ผ ล ผ ลิต ที่ ม า จ าก ค ว าม ต าย ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ แ ก่ ง แ ย่ ง กั น ท า ง ส ง ค รา ม
ทว่าสิ่งเหล่านี้จะไม่อาจเกิดขึ้นได้หากมนุษย์ไม่อยู่ในสภาวะที่บีบคั้นเพื่อเอาตัวรอดเหล่านี้
เพ ราะ ใน ท าง อุต ส าห ก ร รม แล้ว สิ่ง เห ล่ านั้น ล้ว น ใช้ ทุ น ม ห าศ าล ใน ก าร พัฒ น า
ซึ่งนักลงทุ นทั้งหลายล้วนพิจารณาแล้วว่าไม่คุ้มทุน หากแต่เมื่อนาไป ใช้ในทางสงคราม
แ ล ะ ให้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ น า ไ ป ใ ช้ เ พื่ อ เ อ า ช น ะ ใ น ส ง ค ร า ม เ ห ล่ า นั้ น
เทคโนโลยีเหล่านั้นจึงได้พัฒนาตัวมาจนถึงปัจจุบันนี้
บทที่ 17
องค์ความรู้ทางวัตถุกับองค์ความรู้ทางจิตใจ
ในบทนี้จะกล่าวถึงความรู้ทางวัตถุ และความรู้ในทางจิตวิญญาณซึ่งในทางวัตถุนั้น
คือสิ่งของรอบตัวเรา ทั้งวัตถุ สิ่งของ อาหาร บ้านเรือน ฯลฯ ส่วนในทางจิตใจนั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่ทั่วไป
ทั้งในเดรัจฉาน และมนุษย์ อันได้แก่ ความรู้สึกต่างๆ ความรัก ความห่วงใย ความดีงาม ฯลฯ
ซึ่งแฝงอยู่ในความคิดของมนุษย์ และต่อมาจึงพัฒนากลายไปเป็นสิ่งที่เราเรียกกันว่า ศีลธรรม
มนุษย์นั้นล้วนแล้วแต่มีสัญชาตญาณสัตว์อยู่ในตัว แต่สิ่งที่มนุษย์นั้นแตกต่างกับสัตว์ คือ
ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม รู้ ท า ง จิต วิ ญ ญ า ณ ห รือ ศี ล ธ ร ร ม ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ ง ยั บ ยั้ ง ชั่ง ใ จ
ไม่ให้มนุ ษย์นั้นห ลงผิดไป ในท างมิชอบ ห รือห ยุดไม่ให้มนุ ษย์นั้นกระท าชั่ว ไป กว่านี้
และดารงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขได้ โดยไม่แก่งแย่ง หรือฆ่าฟันกันไปก่อน
ในยุคปัจจุบันนี้ที่เทคโนโลยีก้าวไกลไปมากนั้น มนุษย์นั้นยึดติดอยู่กับวัตถุสิ่งของ
หรือความรู้ทางวัตถุมากเกินไป ซึ่งทาให้ความรู้ทางจิตวิญญาณนั้นถูกสิ่งเหล่านั้นเบียดเบียนไป
ทาให้มนุษย์ยึดติดกับความสุขเพียงชั่วครู่ ซึ่งในทางศาสนาแล้ว ยกตัวอย่างเช่นพระเยซูได้กล่าวไว้ว่า
“ม นุ ษ ย์ ค ว ร ที่ จ ะ สั่ง ส ม ค ว า ม ดี ต่ า ง ๆ ดี ก ว่ า ที่ จ ะ สั่ง ส ง แ ต่ วั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง
เ พ ร า ะ วั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง เ ห ล่ า นั้ น ล้ ว น แ ล้ ว แ ต่ จ ะ ผุ พั ง ท ล า ย ไ ป
แต่ความดีเหล่านั้นล้วนแล้วแต่ติดตัวเราไปตลอดกาล” ทว่ากับคนเราในปัจจุบันนี้ที่เห็นวัตถุสิ่งของ
ดีกว่ามนุ ษย์ อุตสาห กรรมต่างๆ ที่กระทาให้มนุ ษย์ไม่ต่างกับ สิ่งของ สินค้า แรงงาน
ทาให้มนุษย์เริ่มเห็นคุณค่าในตัวเองลดลง และเริ่มทาให้เกิดความขัดแย้งภายในสังคมเกิดขึ้น
เพราะฉะนั้นแล้วมนุษย์นั้นควรที่จะมีศีลธรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาทางเทคโนโลยีไปอีกด้วย
เพื่อให้ยังมีแรงถ่วงรั้งให้เราสามารถอยู่ร่วมกันได้ต่อไป
บทที่ 18
จากประชาธิปไตย...สู่เผด็จการเสรีนิยม
ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ นั้ น เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ได้ รับ ก า ร ย ก ย่ อ ง ส ร ร เ ส ริ ญ
ว่าเป็ นแม่แบ บ ป ระช าธิป ไตย ใน ระดับ โลก ท ว่ าแล้ว นักอน าค ตศ าสตร์ทั้งห ลาย
พยายามพยากรณ์แนวโน้มต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับประเทศนี้ ในสังคมอนาคตข้างหน้า
โดยเฉพาะในสังคมที่เทคโนโลยีก้าวหน้านี้ ทุกสิ่งล้วนตกอยู่ ในมือของสิ่งที่เรียกว่า ทุน และ รัฐ
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งพยายามที่จะควบคุมบงการมนุษย์ในสังคมประชาธิปไตย โดยริดรอนสิทธิส่วนบุคคล
จนไม่เหลือความเป็นส่วนตัวเลยแม้แต่น้อย โดยอ้างถึงคาว่าประชาธิปไตย และส่วนรวม
สิ่งที่กล่าวมาเห ล่านี้นั้นถูกเรีย กว่า ระบอบ เผด็จการเสรีนิยม สิ่งนี้จะมีผู้บ งการโดย รัฐ
ซึ่ ง จ ะ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ค อ ย ส อ ด ส่ อ ง ค ว บ คุ ม บ ง ก า ร
และแท รกแซง วิถีชีวิตข อง ป ระช นโด ย แฝง มาในค ราบ ข อง ข้ออ้างท าง สาธารณ ะ
และหยิบยื่นสิ่งที่ดีให้โดยไม่อาจรู้ได้เลยว่า มันจะทาให้เราถูกควบคุมโดยไม่รู้ตัว
บทที่ 19
หวนกลับไปสู่ความโหยหาศีลธรรม
“ลัท ธิพี่เลี้ย ง เด็ก ” (Nannyism) ห รือคาว่า “เผด็จการเสรีนิย ม ” (Liberal Fascism)
ม า ก ม า ย ซั ก เ ท่ า ไ ห ร่ นั ก ทั้ ง ๆ ที่ ถ้ อ ย ค า เ ห ล่ า นี้ ก า ลั ง
เป็นคาพูดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศแม่แบบประชาธิปไตย ทั้งหลาย ไม่ว่าในอังกฤษ หรืออเมริกา
ซึ่ง นายเอีย น แมค เลีย วด์” (Iain Macleod) แห่ งพ รรค อนุ รักษนิย ม ได้เค ย ห ยิบ ย กมา
ใช้ ร ะ บ า ย ค ว า ม อึ ด อั ด ต่ อ บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ภ า ย ใต้ ร ะ บ อ บ
ประชาธิปไตยแบบอังกฤษเข้ายุ่มย่ามกับวิถีชีวิตของ ผู้คนพลเมือง เข้าไปแทรกแซงความเป็นส่วนตัว
หรือสิทธิอัตวินิจฉัยส่วน บุคคล แบบหนักหนา สาหัส ยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ไม่ต่างอะไรไปจาก “พี่เลี้ยง เด็ก”
พย าย าม ใช้เงิน ใช้ท อง ใช้ วัตถุ สิ่ง ข อง ตอบ สน องค ว าม ต้อง การข องพ ลเมือ ง
ไม่ต่างไป จากการซื้อข นมให้เด็กๆ เป็ น“อานาจนิย ม” ในอีกรูป แบ บ ห นึ่งนั่นเอง ที่
ถึ ง แ ม้ จ ะ ไ ม่ แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง “ค ว า ม เ ป็ น เ ผ ด็ จ ก า ร ” แ บ บ ชั ด ๆ จ ะ จ ะ แ ต่ ก็
พร้อมจะอาศัยรูปแบบความเป็นประชาธิปไตยหรือเรียกว่า
“เ ผ ด็ จ ก า ร เ ส รี นิ ย ม ” นั้ น . . . ก ล า ย เ ป็ น ที่ รู้ จั ก แ ล ะ โ ด่ ง ดั ง ขึ้ น
มาจากงานเขียนของนักเขียนชาวอเมริกันรายหนึ่ง ชื่อว่า “นายโจนาห์ โกลด์เบิร์ก” (Jonah Jacob
Goldberg) ค อลัม นิสต์และบ รรณ าธิก าร นิ ตย สารออน ไลน์ (National Review Online)
มันไปตอบสนองความอึดอัดของชาวอเมริกันจานวน ไม่น้อย ที่มีต่อระบอบประชาธิปไตยแบบอเมริกัน
แนวคิดเดียวกันกับพวก “ฟาสซิสต์” (Fascism) ยุคแรกๆ หรือ ล้วนแต่มีรากฐานมาจากแนวคิด
“วัตถุนิยม” ไปด้วยกันทั้งสิ้น และโดยความเชื่อของ “นายโจนาห์ โกลด์เบิร์ก” ดูๆ แกออกจะ
เชื่อเอาจริงๆ ว่า...บรรดาเผด็จการเสรีนิยมทั้งหลายนี่แหละ คือผู้ควบคุม บงการ อานาจทางการเมือง
แล ะอาน าจ ต่ าง ๆ ส่อ ให้ เห็ น ถึง ค ว าม พ ย าย าม ที่ จ ะ “ค ว บ คุ ม ” แ ละ “บ ง ก าร ”
ใครต่อใครหนักหน่วงยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าในแง่ การกิน การอยู่ การใช้ชีวิตในลักษณะต่างๆ
จนแม้แต่การรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร
“ไม่ว่า NPR (สถานีวิทยุสาธารณะหรือ National Public Radio กว่า 900 เครือข่าย) และ PBS
(สถ านีโท รทัศ น์ สาธารณ ะห รือ Public Broadcasting Service 354 เค รือข่ าย ) ต่างถู ก
ควบคุมโดยพวกเผด็จการเสรีนิยม จนทาให้ใครก็ตามที่มีแนวคิด กลางๆ และเป็ นอิสระ
ไม่สามารถนาเสนอข้อมูลและข่าวสารที่เป็นจริง
“ก า ร ส อ ด ส่ อ ง ส า ย ต า ไ ป ยั ง ผู้ ค น แ ต่ ล ะ ค น ทั่ ว ทั้ ง โ ล ก ใ บ นี้
จะกลายเป็นสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในทั่วทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะโดยผ่านการดักฟังทางโทรศัพท์ การใช้
อิน เท อ ร์เ น็ ต ภ าย ใน อน าค ต อีก ไม่ ใก ล้ -ไม่ ไก ล นั บ จ าก นี้ โด ย ค ว าม ร่ ว ม มื อ
ข อง ห น่ ว ย ง า น เพื่ อก ารบั ง คับ ใช้ ก ฎ ห ม าย ทั้ ง ใน สห รัฐแ ล ะใน สห ภ า พ ยุ โร ป
ที่ได้เริ่มต้นวางพื้นฐานของระบบลักลอบดักฟังในวงกว้าง เพื่อให้ สามารถดักฟังโทรศัพท์มือถือ
การติดต่อทางอินเทอร์เน็ต การส่ง ข้อความทางโทรสารและเพจเจอร์ได้ทั่วทั้งยุโรปและอเมริกา”
รู้ จั ก กั น ใ น น า ม Enfopol 98 ซึ่ ง ถู ก ย ก ร่ า ง ขึ้ น ม า อ ย่ า ง ลั บ ๆ โ ด ย เ จ้ า
หน้าที่ตารวจและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว

More Related Content

Similar to กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว

South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e newsshm-nstda
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..Lib Rru
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...Klangpanya
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองFURD_RSU
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project naleenaleesaetor
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงfreelance
 

Similar to กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว (20)

V 297
V 297V 297
V 297
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project nalee
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
 
Saravit eMagazine 2/2556
Saravit eMagazine 2/2556Saravit eMagazine 2/2556
Saravit eMagazine 2/2556
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นคว

  • 1. รายงานนาเสนอหนังสือ ชื่อหนังสือ สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจาก...เทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นควาย ผู้แต่ง ชัชรินทร์ ไชยวัฒน์ กลุ่ม กระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า รายชื่อสมาชิก 1. นายพศุตม์ เกษมภูมิรัตน์ 56130500045 IT 2. นายทิยานนท์ กลิ่นขจร 56130500021 IT 3. นางสาวพิชญา แก้วมณี 56130500049 IT 4. นายภาวิต ชุ่มจิตต์ 56130500116 IT 5. นางสาวณัชชารีย์ อัครปัญญาทิพย์ 54213362 CHM 6. นางสาวอนุษรา เคนแสน 56130500125 IT 7. นายชาย กิจขจรเกียรติ 56130500089 IT 8. นางสาวณัฐฐา บุญนาชัย 56130500090 IT เสนอ อาจารย์ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
  • 2. คานา ราย ง าน ฉ บั บ นี้ ป ระ ก อ บ ด้ว ย เนื้ อ ห า ที่ ส รุ ป ได้ จ าก ห นั ง สือ เรื่ อ ง สู่คลื่นลูกที่สี่...หลังจาก...เทคโนโลยีเปลี่ยนคนให้เป็นควาย ของผู้แต่งชัชรินทร์ ไชยวัฒ น์ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่แสดงความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ และมุมมองต่อหนังสือเล่มนี้ ซึ่ง เป็ น ส่ว น ห นึ่ ง ข อง รา ย วิช า GEN311 จ ริย ศ าส ต ร์ใน สัง ค ม ฐาน วิ ท ย า ศ าสต ร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมและสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเหล่านี้กับกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน และวิเคราะห์วิจารณ์เพื่อให้เกิดค วามเข้าใจต่อความซับซ้อนในประเด็นทางจริยธรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจต่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี และสามารถให้ความหมายและกาหนดมาตรฐานจริยธรรมของตนเองซึ่งพัฒนาขึ้นจากการวิพากษ์วิจาร ณ์ร่วมกันจากทัศนะต่างๆ ด้วยความเคารพ
  • 3. ผู้จัดทา กระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า สารบัญ ประวัติผู้แต่ง………………………….…………………………………………………………………1 สรุปเนื้อหาจากหนังสือ บทที่ 1 ยื่นหัวเข้าไปในเตาไมโครเวฟ………………………….……………………………... 2 บทที่ 2 มนุษย์กาลังจะกลายพันธุ์???………………………….………………………….......3 บทที่ 3 สมองหมา...ปัญญาควาย!!!………………………….…………………………………4 บทที่ 4 เจน วาย…มนุษย์พันธุ์ใหม่!!!………………………….……………………………….5 บทที่ 5 เทคโนโลยีและการล้างสมอง………………………….………………………………. 6 บทที่ 6 วิกฤตการณ์ที่ไม่เคยมีมาก่อน………………………….……………………………...6 บทที่ 7 อรุณรุ่งแห่งมวลมนุษยชาติ………………………….…………………………………7 บทที่ 8 อรุณรุ่งแห่งวิทยาศาสตร์………………………….……………………………………7 บทที่ 9 ความเจริญทางวัตถุ- ความเสื่อมทางจิตวิญญาณ………………………….…………8 บทที่ 10 เมื่อดาร์ธ เวเดอร์ เผชิญหน้ากับ เจได………………………….……………………9 บทที่ 11 The Empire Strikes Back!!!………………………….……………………………..9 บทที่ 12 ปฏิวัติวิทยาศาสตร์………………………….……………………………………..…10 บทที่ 13 ปืน ทุน เทคโนโลยี และความโลภ………………………….………………………. 10 บทที่ 14 กองเกวียนคนทุกข์ในยุคจักรกล………………………….…………………………. 11 บทที่ 15 ลัทธิอุตส่าห์ - หา - กรรม………………………….…………………………………11 บทที่ 16 สงครามกับการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี………………………….………………12 บทที่ 17 องค์ความรู้ทางวัตถุกับองค์ความรู้ทางจิตใจ………………………….…………......12 บทที่ 18 จากประชาธิปไตย...สู่เผด็จการเสรีนิยม………………………….………………….13 บทที่ 19 หวนกลับไปสู่ความโหยหาศีลธรรม………………………….……………………….13 บทที่ 20 ผลไม้แห่งชีวิตกับคลื่นลูกที่สี่………………………….……………………………...15 สรุปความเชื่อมโยงของเนื้อหากับแนวคิดจริยศาสตร์………………………….…………………. 16 สรุปบทบาท วิธีการทางาน และความเห็นต่อหนังสือ………………………….………………..... 20 แหล่งอ้างอิง…………………….……………………………………………………………….………23
  • 4. ประวัติผู้แต่ง ชัชริ น ทร์ ไชย วัฒ น์ เกิ ดที่ ช ะอา จ.เพชรบุรี แต่ไปเติบโตที่ อ.กันตัง จ.ตรัง ได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนที่เขียนหนังสือได้เร็ว และหลากหลายสไตล์มากที่สุดคนหนึ่ง ทั้ง ง า น ว ร ร ณ ก ร ร ม ก วี นิ พ น ธ์ งานทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ปรัชญา บท วิเค ราะห์ท างการเมือง สารค ดี เรื่ อ ง ต ล ก แ ล ะ บ ท ค ว า ม ต่ า ง ๆ เรื่องสั้นเรื่องแรกได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสา ร “ชาวกรุง” ตั้งแต่ยังเป็นนักเขียนชั้นมัธยมศึกษาและทางานเขียนสารคดีลงใน “สยามรัฐ” มาตั้งแต่ยังไม่จบ ม.ศ.5 เป็นนักข่าวอาชีพที่เข้าไปสัมภาษณ์บุคคลระดับรัฐมนตรีตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี ผ่านงานหนังสือพิมพ์ที่อภิวัฒน์รายสัปดาห์ ประชาชนรายเดือนประชาชาติรายวัน ตะวันออกปริทัศน์ อาทิตย์รายวัน มาตุภูมิรายวัน เขาเป็นบรรณาธิการนิตยสารการเมืองที่อายุน้อยที่สุดด้วยวัยเพียง 20 ปี เ มื่ อ พ .ศ . 2517 เ ขี ย น บ ท ค ว า ม ชื่ อ “ตุ ล า ก า ร อ ง ค์ ก ร ที่ ไ ร้ เ ดี ย ง ส า ” ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ป ระช าธิป ไตย บท ความนี้ได้ส่งผลให้ชัชรินท ร์ต้องติดคุกถึง 2เดือน เนื่องจากถูกฟ้องในข้อหาละเมิดอานาจศาล เขาเป็นผู้ก่อตั้งผู้อานวยการนิตยสารอาทิตย์รายสั ปดาห์ ปัจจุบันยังคงมีผลงานอยู่ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารหลายฉบับอย่างสม่าเสมอ เช่น สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ไทยโพสต์ ผู้หญิง GM และจัดรายการ “คลื่นความคิด” ทางวิทยุคลื่น FM 99.5เมกะเฮิรตซ์ หนึ่งในผลงานเขียนที่ได้รับการกล่าวขาน คือ รวมเรื่องสั้นชุด อิสรภาพและความตาย ที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2539 ผลงานรวมเล่ม - พ.ศ. 2518 ผลงานรวมเรื่องสั้นและบทกวีชื่อ “พญาโหงบนโลงแก้ว” โดยสานักพิมพ์ประพันธ์สาส์น - พ.ศ. 2520 ผลงานนวนิยาย “ล่าตารวจ” โดยสานักพิมพ์การเวก - พ.ศ. 2521 ผลงานรวมเรื่องสั้น “คนทรยศ” (นักหนังสือพิมพ์) โดย สานักพิมพ์หนุ่มสาว - พ.ศ. 2523 ผลงานรวมเรื่องสั้น “คอมมิวนิสต์บุก” โดยสานักพิมพ์อาทิตย์ จากัด - พ.ศ. 2533 ผลงานรวมเรื่องสั้น “ด้วยศรัทธา ฉันจึงเป็นอยู่” โดยสานักพิมพ์สมาพันธ์ - พ .ศ . 2536 ผลงาน รว มเรื่องสั้น “ค อมมิว นิสต์บุ ก ” “ค นท รย ศ ” (นักห นังสือพิมพ์) และด้วยศรัทธาฉันจึงเป็นอยู่ ได้รับการพิมพ์ซ้าในรูปลักษณ์ใหม่ โดยสานักพิมพ์บ้านหนังสือ จากนั้นมีผลงานออกมาอย่างสม่าเสมอ เช่น “อิสรภาพและความตาย” “โลกในพายุทุนนิยม” “ตูมตามก่อนอัสดง” “พระเจ้ามีจริง” “คลื่นความคิด 1-3” “ความคิดติดหนวด” “ดิน น้า ลม ไฟ”
  • 5. “จุดไฟในนาคร” “รอยสักมังกร” “การผจญภัยของแมลงสาบ” “สงครามล้างโลก” ฯลฯ ล่าสุดมีผลงาน 2 เล่ม คือ “มหัศจรรย์ผู้หญิง” และ “ระวังผู้หญิง” จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์พิมพ์คา สรุปเนื้อหาจากหนังสือ บทที่ 1 ยื่นหัวเข้าไปในเตาไมโครเวฟ ค ลื่ น รั ง สี ซึ่ ง ถู ก ใช้ เ ป็ น ตั ว น า สั ญ ญ า ณ ข อ ง โ ท ร ศั พ ท์ แ ท็ บ เ ล็ ต โดยส่วนใหญ่ แล้วก็คือคลื่นรังสีแบบเดียวกับที่ใช้กับเตาไมโครเวฟ ห รือที่รู้จักกันในนาม “ค ลื่ น รั ง สี แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ” ซึ่งสามารถท าให้วัตถุที่ไม่ได้เป็ นสื่อไฟฟ้ าเดือดพล่านขึ้นมาในช่ วงเวลาแค่ไม่กี่นาที เพีย งแต่ว่าเตาไมโค รเวฟจะเริ่มแผ่ออกมาตั้งแต่ระดับ 300 MHz จนไป ถึง 300 GHz แต่โทรศัพท์โดยส่วนใหญ่ จะแค่ 2-3 Watt หรือง่ายๆว่า 1,000 Watt มีค่าเท่ ากับ 950 MHz ซึ่งเล็กน้อยมาก แต่ถ้าเราดันเอาโทรศัพท์แนบหูไว้นานๆ แบบ บรรดาพวกวัยรุ่น วัยวุ่น ป ระ เภ ท ผีเ จ าะ ป า ก ทั้ ง ห ล า ย โอ ก า ส ที่ เ รา จ ะ เกิ ด อ า ก าร ร้อ น วู บ ๆ ว าบ ๆ เกิดความรู้สึกซ่าๆบริเวณผิวหนังส่วนศรีษะ ทาให้คิดกันไปว่า แล้วมันจะดก่อให้เกิดอาการ เหนื่อยอ่อน ป ว ด หั ว วิ ง เ วี ย น ตั ว สั่น ค ว า ม จ า เ สื่ อ ม เ นื้ อ ง อ ก ใ น ส ม อ ง ฯ ล ฯ ทาให้เกิดการถกเถียงในบรรดานักวิชาการที่ยังไม่ได้ข้อสรุป และเป็นที่เราทั้งหลายน่าจะต้องสนใจ ไม่ใช่เอาแต่ใช้ เอาแต่เพลิดเพลินไปกับความสะดวกสบาย และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี บ รร ด า นั ก วิ ท ย าศ า ส ต ร์แ ล ะ ผู้เ ชี่ ย ว ช า ญ ใน ห ล า ย ต่ อ ห ล ย า ป ระ เท ศ ได้เคยออกมาตั้งคาถามถึง “อันตราย” หรือ “มีผลกระทบข้างเคียง” ของเทคโนโลยีเหล่านี้ เ พ ร า ะ ค ลื่ น รัง สี ที่ โ ท ร ศั พ ท์ ใช้ กั บ เ ต า ไ ม โ ค ร เ ว ฟ เ ป็ น ช นิ ด เ ดี ย ว กั น โดยเฉพาะคลื่นรังสีชนิดนี้ได้ถูกจัดเป็นคลื่นรังสีในกลุ่ม “Group 2 B” ที่สามารถก่อ “มะเร็ง” โดยสถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ แต่ความปรารถนาของผู้คนหรือ “พลังแห่งอุปสงค์” ระดับสุดลิ่มทิ่มริดสีดวงทวาร โดยไม่เคยตั้ง ค า ถ า ม ถึ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ใ ช้ อ ยู่ ท า ใ ห้ ผู้ ที่ มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ กิ จ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ จ ะ ห า ท า ง ล บ ล้ า ง จิ น ต น า ก า ร อั น น่ า ส ย ด ส ย อ ง พ อ ง ข น โดยการสนับสนุนนักวิทยาศาสตร์และบรรดาผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงานวิจัย สถาบันระดับชาติ เพื่อให้ช่วยกันลบล้างจินตานาการดังกล่าว เช่น งานวิจัยในเดนมาร์กที่อ้างถึงกลุ่มตัวอย่าง 420,00 คน ในขอบ เขตพื้นที่ไม่น้อยกว่า 13 ประเทศ ในช่วงระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 20 ปี รว ม ทั้ ง ก า รค้ น ศึ ก ษ าค้ น ค ว้ า โด ย ห น่ ว ย ง า น ก า รป้ อ ง กั น รัง สีจ าก เ ย อ ร มั น ต ล อ ด จ น ร า ย ง า น จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ยุ โ ร ป
  • 6. ซึ่งล้วนแล้วแต่ให้คายืนยันแบบหัวเด็ดตีนขาดถึงความปลอดภัย ก็ยังมิอาจลบทิ้งลงไปได้ซะทั้งหมด เนื่องจากบรรดานักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญที่ความเป็นอิสระ แม้จะมีความรู้สึกอันเกิดจากอคติ ห รื อ ผู้ น า เ อ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม า ตี ค ว า ม ผิ ด ๆ แต่ก็ไม่จาเป็นต้องพึ่งพาเงินวิจัยจากกองทุนวิจัยซึ่งมักได้รับการสนับสนุนจากบริษัทธุรกิจสื่อสาร ยกตัวอย่างเช่ น ดร.โรนัลด์ เกลเซอร์ ศาสตราจารย์ด้านชีวฟีสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น โ ร ค ม ะ เ ร็ ง แ ล ะ โ ร ค ที่ เ กิ ด จ า ก เ ชื้ อ ไ ว รัส ใน ดี เ อ็ น เ อ ไ ด้ พ ย า ม อ อ ก ค ว า ม เ ห็ น แ บ บ เ ชิ ง วิ ช า ก า ร เอาไว้ทนองว่าคลื่นความถี่จากโทรศัพท์น่าจะมีส่วนก่อให้เกิดแรงก ระตุ้นโมเลกุลภายในเซลล์ หรือทาให้กลไกลการทางานของยีนภายในร่างมนุษย์เกิดความเปลี่ยนแปลง ดร. เลนนาร์ต ฮาร์เดล ศาสตราจารย์จากสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเนื้องอก ที่ อ อ ก ม า ฟั น ธ ง เ อ า ไ ว้ แ บ บ ชั ด เ จ น ว่ า การใช้โทรศัพท์มือถือก่อให้เกิดอัตราเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นต่อการเป็นโรคทางสมอง มีความเกี่ยวพันระหว่างกา รใช้ โท รศั พ ท์ มือ ถื อกั บ อัต ร าก าร เพิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ผ ล ก ร ะท บ ต่ อ ร ะบ บ ป ร ะส า ท ก า ร ป ร า ก ฏ ข อ ง เ นื้ อ ง อ ก ใน ส ม อ ง ที่ เ กิ ด กั บ บ ร ร ด า ผู้ ใช้ โท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ มักจะปรากฏให้เห็นในบริเวณศรีษะด้านที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ บทที่ 2 มนุษย์กาลังกลายพันธุ์??? ขณะที่ฝ่ายหนึ่งพยาพยามสรุปว่าการใช้โทรศัพท์นั้นปลอดภัยมีผลกระทบน้อยมาก ยังไม่เกิด อาการขนลุกขนพอง น่าสยอสยองมากมายสักเท่าไหร่ แต่หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์ด้านรังสีวิทยาอย่าง ดร. เฮนรี ลาย และ ดร. นาเรนดรา ซิงห์ ได้ออกมายืนยันแบบหัวเด็ดตีนขาดในปี 1995 ทานองว่า แม้คลื่นความถี่จากโทรศัพท์มือถือจะเชื่อว่าอยู่ในระดับปลอดภัย แต่ถ้าลองได้รับรังสีชนิดนี้นานๆ จะส่ง ผลเ สีย ห าย ต่ อ “ดีเอ็นเอ ” แพ ท ย์ผู้เชี่ ย ว ช าญ ด้าน สม อง อย่ าง ดร. ลาร์ส มาลม์เกรน และนักประสาทวิทยาอย่าง ดร. ลีฟ ซาลฟอร์ด จึงร่วมกับทีมงาน ลงมือทดลองกับหนู โดย ใช้ค ว ามเข้มข อง รัง สีที่อยู่ ใน มาตรฐาน ซึ่งแม้ภาย นอกห นู จะไม่ มีอาการใด ๆ แต่หนูเกิดการหลั่งสารอัลบูมิน อันจะกลายเป็นอุปสรรคกีดขวางต่อการทางานของระบบเลือดในสมอง แม้ว่าการทดลองคราวนี้จะได้รับการยอมรับจากนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงแต่ก็ไม่อาจฝ่าด่าน นักวิทยาศาสตร์ที่พร้อมจะกระโดดออกมาปกป้องผลประโยชน์ของบริษัทธุรกิจสื่อสารอย่างไม่มีวันลดละ แม้จะทดลองกับหนูแล้วแต่ก็ยังไม่มีหลักฐานว่าจะส่งผลกับสัตว์อื่นๆหรือไม่ ในปี 2004 ทีมนักวิทยาศาสตร์จากยุโรป ได้รวมตัวกันศึกษาถึงอันตรายอันเนื่องมาจากคลื่น ความถี่ต่าเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้ปรากฏร่องรอยความเสียหายซึ่งมีต่อ DNA ภายในเซลล์ แม้ว่าไม่มี
  • 7. หลักฐานแน่ชักว่ารังสีสามารถเปลี่ยนแปลงการทางานของยีน แต่มันก่อให้เกิดผลกระทบต่อการทางาน ของระบบไฟฟ้าในสมอง และระบบเลือดที่ล่อเลี้ยงสมอง สาหรับปุถุชนทั่วไปถึงแม้จะพยามฟ้องร้องเอาผิดกับบรรดาผู้ให้บริการทางโทรศัพท์ที่ตั้งเสาในชุ ม ช น จ น น่ า กั ง ว ล กั บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น รั ง สี เ ห ล่ า นี้ แต่รัฐบาลกับกฎหมายก็ยังมองไม่เห็นอันตรายนี้ ในขณะที่องค์การอนามัยโลกได้ออกมาตอกย้าถึงอันต รายและเรียกร้องให้บรรดาผู้เกี่ยวข้องร่วมกันยกระดับมาตรฐานที่ปลอดภัยกับผู้คนยิ่งขึ้น แต่ด้วยพลังแห่งอุปสงค์ที่ต้องการความสะดวกสบายจากเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพนี้ในยุคโ ลกแห่งข้อมูลข่าวสารอันตรายจึงการใช้โทรศัพท์จึงถูกจากัดลงให้เป็นที่น่าวิตกในวงแคบๆ เ พี ย ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ เ ถี ย ง กั น ไ ม่ จ บ ซึ่งก็ไม่เป็ นที่สนใจกันมากนักเพราะยุ คที่การสื่อสารต้องเร็ว หากใค รเล่นไลน์ไม่เป็ น ก็เป็นอะไรที่หนักยิ่งกว่าคนหลังเขา เพราะถึงแม้จะอยู่ในซอกหลืบใดการใช้โทรศัพท์เพื่อสื่อสาร หรือรับรู้ข่าวสาร เพื่อทาให้อยู่บนโลกนี้ได้โดยไม่แปลกแยกนัก จนแม้เด็กรุ่นใหม่ๆก็ถูกขนานนามว่า เ ด็ ก รุ่ น หั ว แ ม่ โ ป้ ง เ พ ร า ะ ใ ช้ กั น จ น เ ป็ น กิ จ วั ต ใช้อุป กรณ์เห ล่านี้เป็ นสิบ ๆชั่ว โมงซึ่งโอกาสที่จะเกิดผลข้า งเคีย งนาไป สู่โรค ร้าย ๆ ก็มากถึงและอาจส่งผลไปยังรุ่นต่อไปในระดับยีน แต่โลกไม่ว่าต่างต้องอยู่ในยุคที่มีแต่อุปกรณ์เหล่านี้ ย่ อ ม อั น ต ร า ย แ ล ะ มี ค ว า ม เ สี่ ย ง ด้ ว ย กั น ทั้ ง สิ้ น อาจถึงขั้นต้องกลายพันธุ์ไปเป็นมนุษย์อีกประเภทหนึ่งอันเนื่องมาจากต้องใช้ชีวิตอยู่ในโลกซึ่งครอบคลุม ไปด้วยคลื่นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าจากเทคโนโลยีชนิดนี้ บทที่ 3 สมองหมา...ปัญญาควาย!!! จากสภาพแวดล้อมของโลกยุคใหม่ ที่เป็นตัวกาหนดวิถีชีวิตของมนุษย์มีแต่ต้องหันไปพึ่งพา เทคโนโลยีมากขึ้น ทาให้เราต้องสัมผัสกับอันตรายและความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐ์ ยุคใหม่ๆ อย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ และอุปกรณ์เหล่านี้ไม่ได้เพียงเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายของใคร คนใดค นห นึ่งเท่ านั้น แต่ลึกลงไป กว่านั้นมันยังสามารถส่งผลกระท บ ไป ถึง อารมณ์ จิตใจห รือแม้แต่สติปัญญ า ของมนุษย์ทุก คน แถมยังส่งมอบไปรุ่นต่อไป ผ่านยีนอีก ด้วย ดังที่นักวิท ย าศาสตร์ผู้มีชื่อเสีย งโด่งดังระดับ โลกราย ห นึ่งชื่ อ ดร.เจอรัลด์ ค ราบ ท รี ศาสตราจารย์ด้านอายุรศาสตร์และพัฒนาชีววิท ยา ได้เผยเผื่อการวิจัยอันน่าตะลึงในชื่อ “ค ว า ม บ อ บ บ า ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ร า ” ซึ่งสรุปแบบฟันธงว่าขณะที่เราเพลิดเพลินไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้เราดูเหมือนจะฉลาดกว่าบรรพ บุ รุ ษ แ ล้ ว นั้ น แ ต่ จ ริ ง ๆ แ ล้ ว ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ร า เ ร า ก า ลั ง ล ด ล ง ห รื อ ก็ คื อ ก า ลั ง ส ม อ ง ห ม า ปั ญ ญ า ค ว า ย ห นั ก ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
  • 8. โดยจากการตรวจสอบตัวอย่างยีนและนามาสู่ข้อสรุปที่ว่ายีนที่เป็นตัวสร้างระบบพื้นฐานทางสติปัญญาให้ กั บ ม นุ ษ ย์ มี สั ด ส่ ว น ที่ ล ด ล ง และยีนอีกหลายส่วนได้กลายพันธุ์จนทาให้ยีนเหล่าเหลือเพียงเสี้ยวเดียวของบรรพบุรุษเรา ซึ่งเขาได้สรุปไว้ยีนที่ทาหน้าที่สาคัญนี้กาลังเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่สูญเสียขีดความสามารถใน การทาหน้าที่ลงไปเรื่อยๆ ซึ่งสาเหตุน่าจะมาจากสองเรื่องคือ เรื่องที่หนึ่งกระบวนการกลายพันธุ์ของยีนซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมายาวนาน ดังนั้นยุคโสกราตีส พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พ ร ะ เ ย ซู ค ริ ส ต์ ถู ก ส รุ ป ว่ า มี ส ติ ปั ญ ญ า และความมั่นคงทางอารมณ์มากกว่ามนุษย์ในยุคถัดมา เรื่องที่ สองคือคว ามก้าวไกลท างเท ค โนโลยีเป็ นตัวเร่งกระบ วนการดังกล่าว ใ ห้ เ ป็ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ร็ ว ขึ้ น แ ล ะ แ ร ง ขึ้ น เพราะมนษย์ยุคก่อนต้องดิ้นนรนในกฎการคัดสรรจากธรรมชาติจึงเป็นตัวสร้างความมั่นคงทางอารมณ์ แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ห รื อ พู ด ง่ า ย ๆ คื อ ถ้ามนุษย์ไม่ต่อสู้กับกฏเกณฑ์ทางธรรมชาติมากมายเกินไปนัก ไม่คิดจะไปคว้าเอาสิ่งประดิษฐ์ เอาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือในการเอาชนะธรรมชาติไปในแทบทุกเรื่อง การดารงรักษา “สติ- ปัญ ญ า” และ “ค ว าม มั่นค งท าง อารมณ์ ” ข อง มนุ ษย์ให้ ต้องตกอยู่ ในสภาพอ่อนแอ ชนิดที่อาจส่งผลให้คนยุคใหม่ๆต้องกลายพันธุ์ไปเป็น “มนุษย์พันธุ์โง่” อย่างมิอาจเลี่ยงได้ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ค น ใน ยุ ค ก า ร ป ฏิ วั ติ เ ท ค โ น โ ล ยี ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ยิ่งสาหัสมากขึ้น แม้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือจะยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดถึงอันตรายของมันแต่ก็มิอาจปฏิเ สธเสียงจากบรรดานักวิทยาศาสตร์หรือแม้แต่องค์การอนามัยโลกที่ออกมาบอ กว่ามันอันตราย ถึงมันจะยังไม่แสดงออกต่อระบบสุขภาพแต่อย่างน้อยภายใต้ภาวะ ความบอบบางทางสติปัญญาของเรา กาลังหนักขึ้นเรื่อยๆเมื่อต้องใช้ชีวิตในยุคแห่งการปฏิวัติเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร ที่น่าตกลงใจขึ้นไปอีกคือยีนโง่เหล่านี้กาลังถูกส่งมอบไปยังรุ่นต่อไป ย่อมมีผลทาให้จานวน และ ปริมาณ “มนุษย์พันธุ์โง่” กาลังมีมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นโลกเสรี เผด็จการ จะรวยหรือจน ก็ควรนา ข้อเสนอข อง ด ร.เจอรัลด์ ค ราบ ท รี ไป ใช้ก าห นดระบ บ และแบ บ แผนท างสังค ม นับตั้งแต่บัดนี้ไปจนอนาคตเบื้องหน้า เพราะเทคโนโลยีกาลังเปลี่ยนคนให้กลายเป็นควายหนักขึ้นทุกที บทที่ 4 เจน วาย...มนุษย์พันธ์ใหม่ ในบทนี้ผู้เขียนบรรยายถึงคานิยามของ “เจนวาย” และความแตกต่างทางบุคลิกของคน “เจนวาย” และคน “เจนเอ็ก” คานิยามของ “เจนเอ็กซ์” ใช้เรียกคนทึ่เกิดมาในช่วงปี 1980 เป็ น ลู ก ห ลาน ข อง ผู้แ ส ว ง ห าค ว าม รัก สัน ติภ าพ ค ว าม รู้สึก ด้าน จิต วิญ ญ า ณ
  • 9. และหันมาอยู่ ภาย ใต้กรอบ ทุ นนิย ม และวัตถุนิยม เมื่อคนเห ล่านี้มีลูกห ลานออกมา พวกเขาก็แทบไม่ต้องทาอะไรเลย เพราะรุ่นพ่อรุ่นปู่ได้แสวงหาไว้ให้หมดเเล้ว ทาให้คน “เจนเอ็กซ์” ก็ไม่รู้ว่าจะเอายังไงต่อกับชีวิตดี ก็เลยใช้ชีวิตแบบมึนๆ งงๆ กันไป สาห รับ คาว่ า “เจนว าย” นั้นจะห มาย ถึงลูกห ลานรุ่นถัดมาของค น “เจนเอ็กซ์” ที่เกิดมาท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เรียกกันว่าแทบจะขั้นสูงสุดของมวลมนุษย์ พูดง่ายๆก็คือพวกที่เกิดมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์หนึ่งตัว และทีวีทีมีช่องให้เลือกมากกว่าห้าร้อยช่อง จากผลสารวจรวจทางบุคลิกภาพของมหาลัยชื่อดังหลายแห่งพบว่า 1. เจนวาย มีทัศนะคติต่อความร่ารวย โดยให้ความสาคัญต่ออนาคตตนเองมากกว่าคนเจนเอกซ์ 2. เจนวาย ความสนใจทางการเมืองของคนเจนวายลดลง 3. เจนวาย ให้ความสาคัญต่อการแสวงหาความหมายของชีวิตลงลดเป็นเท่าตัว ใ น ส่ ว น ข อ ง ส า เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ ค น เ จ น ว า ย มี ทั ศ น ค ติ ต่ า ง จ า ก ค น เ จ น เ อ็ ก ซ์ นั้ น มี ผ ล ม า จ า ก ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ทั้ ง สิ้ น ไม่ว่าจะเป็ นลักษณ ะการเลี้ย งดูข องพ่อแม่ที่มีผลต่อความใส่ใจในตัว เองข องเจนวาย , การบีบรัดของเศรษฐกิจที่ทาให้เจนวาย ต้องยังคงอาศัยอยู่กับครอบครัวทั้งที่อยู่ในวัยทางานแล้ว และยังรวมถึงเทคโนโลยีที่เติบโตยิ่งกว่าดอกเห็ดในยุคสมัยนี้อีก ที่ทาให้เหล่าเจนวายหันไปจิ้มๆทิ่มๆ ห น้ า จ อ โ ด ย มี ป ฎิ สั ม พั น ธ์ กั บ ค น ร อ บ ข้ า ง ล ด ล ง ผลการสารวจพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกงานของคนเจนวายคือ 1. หน้าที่การงานต้องสมดุลกับชีวิต 2. วัฒนธรรมขององกรค์ที่เข้ากับตนเองได้ 3. งานมีความหลากหลาย ไม่จาเจ 4. ผู้บริหารมีความโปร่งใส 5. ผู้บริหารจะต้องยอมรับคาตัดสินแบบหมู่คณะ บทที่ 5 เทคโนโลยีและการล้างสมอง ในบทนี้ผู้เขียนกล่าวถึงสาเหตุที่ทาให้ทัศนคติของคนเจนวายแตกต่างจากคนรุ่นก่อนๆ นั้ น มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก อ ะ ไ ร น อ ก จ า ก ที่ เ ก ริ่ น ม า จ า ก บ ท ที่ เ เ ล้ ว โดยผู้เขียนได้ลงน้าหนักกับบทบาทหน้าที่ของเทคโนโลยี ที่ทาให้ เจนวาย เปลี่ยนไปได้อย่างมีนัยสาคัญ เนื่องจากเจนวายเกิดมาในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยสื่อ อย่างโทรทัศน์ 500 ช่อง, อินเตอร์เน็ต, คอมพิว เตอร์ ห รือเเม้แต่โท รศัพ ท์มือถือ ท าให้เจนวาย มีการเสพสื่อโฆ ษณ าต่าง ๆ ที่ อ ยู่ ใน อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นี้ ม า ก ก ว่ า 30,000 ชิ้ น ก่ อ น เข้ า เรีย น อ นุ บ า ล ด้ ว ย ซ้ า ซึ่งมีนักวิชาการได้กล่าวเอาไว้ว่า สื่อเหล่านี้กาลังเปลี่ยนให้คนที่เสพอยู่กลายไปเป็นผู้บริโภคของตน ทาให้มีความไม่พอใจในสิ่งทีมี อย ากได้สิ่งใหม่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งจากผลสารว จพบว่ า
  • 10. นักศึกษาที่เรียนในมหาวิทยาลัย เจนวายมีการให้ความสาคัญ ต่อความร่ารวยในอนาคต แปรผันตรงกับจานวนชั่วโมงที่เหล่าเจนวายนี้ได้เสพสื่อต่างๆ ต่อวัน การพัฒนาของคอมพิวเตอร์ ที่ ย่ อ ข น า ด เ ม น เฟ ร ม อัน ให ญ่ โต ม หึ ม า ให้ เ ล็ก ล ง เพี ย ง เ ด็ก ป ระ ถ ม แ บ ก ไ ด้ ท า ใ ห้ เ จ น ว า ย มี ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร เ ส พ สื่ อ ห รื อ ไ ด้ รับ ข้ อ มู ล แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ให ม่ ๆ เ ข้ า ม า ไ ด้ เ ร็ว ก ว่ า ค น รุ่ น ก่ อ น ซึ่งมนุษย์เราก็ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ที่จะสามารถโหลดไฟล์มาเก็บในเครื่องโดยไม่มีผลกระทบอะไร ข้อมูล และป ระส บ ก ารณ์ เห ล่ านี้ ล้ว นเ เล้ว ส่ ง ผ ลต่ อค ว ามคิด ค ว าม จ าข อ ง เราทั้ง สิ้น เ นื่ อ ง จ า ก ข้ อ มู ล ที่ รั บ แ ต่ ล ะ วั น มี ม า ก จ น นั บ ไ ม่ ถ้ ว น ทาให้เจนวายมีความแปรปรวนทางอารมณ์และความคิดค่อนข้างสูง บทที่ 6 วิกฤตการณ์ที่ไม่เคยมีมาก่อน ในบทนี้ผู้เขียนได้กล่าวถึงบทบามของเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิต ไม่แม้เเต่กับเหล่า เจนว าย เท่นั้น แต่รวมถึงมนุ ษย์ที่อาศัยอยู่ท่ ามกลางโลกสีเขียว ๆ ใบ นี้ อินท อร์เน็ต เทคโนโลยีอันท รงประสิทธิภาพที่สามารถเข้าถึงผู้คนได้หลายล้านคน ในเวลาเดียวกัน แต่กลับย่นระยะเวลาและระยะทางให้เหมือนอยู่กับแค่ปลายจมูก ยังไม่รวมเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อบทบาทการใช้ชีวิตของเรา เช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ไปจนถึง นาโนเทคโนโลยี ทีกาลังเข้ามารุกรานความเป็นธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งนั่นก็อาจจะสื่อได้ว่า เรากาลังจะกลายพันธ์ไปเป็นไอ้ลิงโง่เขย่งหยิบกล้วย แข่งกับลิงชิมแปนชีในสวนสัตว์ก็เป็นได้ บทที่ 7 อรุณรุ่งแห่งมวลมนุษยชาติ เมื่อเทคโนโลยีกาลังเปลี่ยนแปลงมนุษย ชาติไปอย่างกู่ ไม่กลับ เช่นนั้นแล้วใครล่ะ ที่เป็นคนเริ่มต้นเทคโนโลยีที่กาลังจะทาให้โลกของเราวินาศ มองย้อนกลับไปในอดีตประมาณ 2.5 ล้านปี ที่แล้ว เมื่อลิงตัวหนึ่งได้คว้า “หินห นึ่งก้อน” ขึ้นมาใช้ชาแหละเนื้อสัตว์ที่ตาย แล้ว หรืออาจเอามาไล่ทุบ ไล่ตีศัตรู เพียงหินก้อนเดียวก้อนนี้จะว่าเป็ นจุดกาเนิดของมนุษยชาติก็ว่าได้ แม้หินก้อนนี้อาจไม่ได้ให้กาเนิดมนุษย์ แต่เป็นสิ่งที่ตัดขาดมนุษย์ออกจากความเป็นธรรมชาติ เป็นตัวขีดเส้นแบ่งมนุษย์ออกจากสัตว์เดรัจฉาน เริ่มจากมนุษย์โฮโม ฮาบิลิส ที่มีลักษณะไปทางครึ่งคน- ครึ่งลิง เช่นคุณลูซี่ ซึ่งเป็นผู้เริ่มต้นหยิบหินมาใช้ ต่อมามนุษย์โฮโม อีเร็กตัส เริ่มรู้จักเทคโนโลยีการใช้ “ไฟ” เมื่อไฟถูกนามาใช้ในการทาให้อาหารอร่อยขึ้น ทานง่ายขึ้น จึงเกิด “ความเปลี่ยนแปลงทางสรีระ” เพราะอาหารที่ทานง่ายขึ้นทาให้ฟันเล็กลง เมื่อใช้ความคิดมากขึ้น ปริมาณก็สมองเพิ่มขึ้น รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการเปล่งเสียงมากขึ้นด้วย และวิวัฒนาการเป็นมนุษ ย์โฮโม
  • 11. ซ า เ ปี ย น ส์ อ ย่ า ง เ ร า ๆ นี่ เ อ ง เ มื่ อ บ ท บ า ท ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี เ พิ่ ม ขึ้ น จึงท าให้ป ระวัติศ าสตร์ข องมว ลมนุ ษย ช าติเริ่มป รากฏ เป็ นรูป เป็ นร่างอย่ างชัดเจน และส่งต่อเทคโนโลยีนั้นมาจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งดร.เจอรัลด์ คราบทรี วิเคราะห์ลึกลงไปถึงระดับยีน เขาพบว่ามนุษย์กาลังอ่อนแอลงทางสติปัญญาและความมั่นคงทางอารมณ์ เขาจึงมีข้อเสนอแนะว่า เร าต้ อ ง ฟื้ น ฟู คุ ณ ธ ร รม ศี ล ธ รร ม ก ร ะตุ้ น ให้ เกิ ด ค ว าม รู้สึก ช่ ว ย เห ลือ ฯ ล ฯ เ ร า จึ ง จ ะ พ อ มี เ ว ล า ใน ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ห ล่ า นี้ ไ ด้ แ ม้ ว่ า ด ร .เ จ อ รั ล ด์ จ ะ มี เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ เ ต็ ม ไ ม้ เ ต็ ม มื อ แต่เขากลับมีข้อเสนอแนะไม่ต่างอะไรจากท่านพุทธทาสภิกขุ ที่ท่านกล่าวไว้ก่อนจะมรณภาพว่า “ศี ล ธ ร รม ไ ม่ ก ลั บ ม า ...โล ก า จ ะ วิ น า ศ ” ใน บ ท อ รุ ณ รุ่ง แ ห่ ง ม ว ล ม นุ ษ ย ช า ติ จึง เ ป็ น บ ท ที่ ก ล่ า ว ถึ ง จุ ด เ ริ่ม ต้ น ข อ ง เ ท ค โ น โล ยี ว่ า เริ่ม ต้ น ม า จ า ก อ ะ ไ ร สิ่งนี้จะส่งผลให้เกิดอะไรในภายหลังกันแน่... บทที่ 8 อรุณรุ่งแห่งวิทยาศาสตร์ ในยุคแรกเทคโนโลยีถูกนามาใช้เพื่อความอยู่รอด แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความแออัดเพิ่มขึ้น เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ม่ ไ ด้ ถู ก น า ม า ใ ช้ เ พื่ อ ด า ร ง ชี วิ ต อี ก ต่ อ ไ ป แ ต่ ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ใ ช้ เ พื่ อ แ ย่ ง ชิ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร เ ห ล่ า ผู้ ค น ห ลั่ ง ไ ห ล ม า อ ยู่ ร ว ม กั น เ ป็ น จ า น ว น ม า ก ขึ้ น แต่ ละ เมือ ง จึง จ าเ ป็ น ต้อ ง ต อ บ ส น อ ง ให้ เพี ย ง พ อ กั บ ค ว าม ต้อ ง ก าร ข อ ง ผู้ค น ทาให้เกิดการจดบันทึกสิ่งของที่นามาแลกเปลี่ยนลงบนดินเหนียว “การเขียน” จึงได้อุบัติจากจุดนี้ เป็นผลพลอยให้ ความรู้ และเทคโนโลยีต่างๆถูกแพร่ออกไป เมื่อความรู้เหล่านี้ไปถึงมือชาวกรีก แล้วชาวกรีกนาค วามรู้นั้นๆไป ต่อย อด ทาให้เกิดเหล่านักป ราช ญ์ขึ้นเป็ นจานวนมาก ซึ่งเห ล่านักปราชญ์ ชาวกรีกนาคว ามรู้ที่ได้มานั้น ท าแยกโลกของจิตวิญ ญ าณออกไป แ ล้ ว หั น ไ ป ฝั ก ใ ฝ่ ใ น วั ต ถุ นิ ย ม ม า ก ขึ้ น แม้ว่ าเพลโตจะพย ายามไม่ให้ผู้ค นนาค วามรู้ไป แยกมนุษย์ออกจากธรรมช าติเท่ าไร ภ า ย ห ลัง เ มื่ อ เ พ ล โต เสี ย ชี วิ ต เข า ได้ ส่ ง ต่ อ ให้ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ คื อ อ ริส โต เ ติ ล แต่เมื่ออริสโตเติลได้ย้ายไป ปักหลักที่เอเธนส์ การคลุกคลีกับ เหล่านักปราชญ์ก ลุ่มอื่นๆ อ ริ ส โ ต เ ติ ล ก็ ค ล้ อ ย ต า ม ก ร ะ แ ส ใ น ที่ สุ ด วิธีคิดแบบเป็นเหตุเป็นผลจึงกลายเป็นมาตรฐานความรู้ของชาวกรีก อันตั้งอยู่บนพื้นฐานที่เรียกว่า สสารนิยม ด้วยแนวคิดและวิธีคิดเช่นนี้ ยิ่งทาให้เทคโนโลยีที่เกิดจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ยิ่งทาให้มนุษย์ถูกแยกออกห่างจากโลกแห่งจิตวิญญาณและความเป็นธรรมชาติไกลห่างออกไปทุกที และหันมาหมกมุ่นกับโลกแห่งสสารแทน
  • 12. บทที่ 9 ความเจริญทางวัตถุ – ความเสื่อมทางจิตวิญญาณ เ มื่ อ 348-347 ก่ อ น ค ริ ส ต ศั ก ร า ช เ พ ล โ ต เค ย ก ล่าว เตือ น ไว้ ว่ าไม่ ให้ น าค ว าม รู้ไป ใช้ ในท างที่ ไม่ ถู ก ต้อ ง โด ย ก ล่าว ไว้ว่ า “นครรัฐอันเป็นแหล่งผลิตสติปัญญาแห่งความใฝ่รู้ ใฝ่แสวงหา สุดท้าย...อาจต้องถูกความใฝ่รู้ ใฝ่แสวงหา ทาลายล้างขนบธรรมเนียม ประเพณี อันเป็น รากฐานและ เจตนารมณ์อันลึกซึ้งของนครรัฐ” เมื่อชาวกรีกต่างหมกมุ่นกับโลกแห่ งสสาร จนไม่ใส่ใจกับค วามนึกคิดด้านจิตใจอีกต่อไป แม้ก ระทั่ง ค ว าม ศ รัท ธาอัน แรง ก ล้าต่อเท พ ซุ สที่ มีม าช้ านานก็ เลือน ห าย เช่ น กั น จนความเสื่อมและความเสถียรภาพของจักรวรรดิชัดเจนขึ้น ท้ายที่สุดกรีกล่มสลาย ลง ภายใต้การยึดอานาจของโรมัน แม้ว่ากรีกจะล่มสลายลงแต่แนวคิดต่างๆไม่ได้หายไปไหน กลับถูกส่งต่อไป ให้ช าวโรมราวกับมรดกบ าป ชาวโรมอาจไม่ใช่นักป ราชญ์ดังชาวกรีก อ อ ก จ ะ เ ป็ น นั ก ก า ร ท ห า ร เ สี ย ม า ก ก ว่ า ด้ ว ย ซ้ า แต่ ก็ ไม่ ว าย น า ค ว าม รู้ไป ใช้ ต่ อย อ ด ฉ ก ฉ ว ย ห าผ ล ป ร ะโย ช น์ แ ก่ ต น เอ ง จ น ได้ ห ากจะกล่าวถึงเท ค โนโลยีที่ สร้างค ว ามพังพินาศ ให้ ช าว โรมได้มากที่สุดแล้วล่ะก็ ไม่ใช่ขีปนาวุธยุทโธป กรณ์ใด แต่เป็ นเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มีชื่อว่า “ลาติฟุนเดีย ” ห รือก็คือการท าฟาร์มข นาดให ญ่ นั่นเอง เมื่อช าว โรมยึดดินแดนได้เห ล่าผู้มีอานาจ ผู้มีเงินก็กว้านซื้อที่ดินไปครอบครองเพื่อทาลาติฟุนเดีย เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่ ที่ ไม่ ใช่ ก ารเพ าะป ลู กเ พื่ อค ว าม อ ยู่ รอ ดอีก ต่อ ไป แต่ เป็ น เรื่อ ง ข อ ง กาไรล้ว น ๆ จนกระทั่งเหล่าช าวนาอิสระต้องข ายที่ดินของตัวเองเพราะท นต่อค วามขัดสนไม่ไห ว ไหนจะถูกเกณฑ์เป็นท หารอีก หลังจากขายที่ดินที่เป็นดังจิตวิญ ญ าณของชาวโรมแล้ว ช าว นาเห ล่านี้ ก็ก ลาย เป็ นพ ว ก เร่ร่อน ว่ าง ง าน จนก ลาย เป็ นอ าช ญ ากรใน ที่สุ ด ประชาธิปไตยของโรมจึงตายลง เมื่อทุกสิ่งผิดเพี้ยน วิปริตอย่างที่สุดของที่สุดที่แม้แต่กษัตริย์ก็วิปลาส ผู้ค นจึงหันกลับ ไป ห าที่ยึดเห นี่ย วท างจิตใจ ป ระจวบ เห มาะที่ว่าจุดเสื่อมของโรมัน ช่ า ง เ กิ ด ขึ้ น พ อ ดิ บ พ อ ดี กั บ ศ า ส น า ค ริ ส ต์ เ สี ย เ ห ลื อ เ กิ น ท า ใ ห้ ใ น ช่ ว ง นั้ น ศ า ส น า ค ริ ส ต์ แ พ ร่ อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว แม้ภายหลังคอนสแตนตินมหาราชจะประกาศศาสนาอย่างเป็นทางการก็ไม่อาจหยุดยั้งการล่มสลายของจั กรวรรดิได้อยู่ดี บทที่ 10 เมื่อดาร์ธ เวเดอร์ เผชิญหน้ากับ เจได
  • 13. ในบ ท นี้ ได้มีก ารเป รีย บ เรื่อง ข อง การล่ม สลาย ข อ งจักรว รรดิกรีก -โรมัน เหมือนดั่งฉากจบของหนังฮอลลีวูดดังอย่างเรื่อง สตาร์วอร์ส ที่ถึงจบสิ้นแล้วเป็นรุ่น ยุค สมัย แล้ว ยังมีการสืบต่อไปอีกเรื่อยๆ ดังภาคต่อของหนังเรื่อง สตาร์ วอร์ส ซึ่งจะมีตัวแทนพลังด้านมืดอย่าง อนาคิน สกายวอล์คเกอร์ หรือ ดาร์ธ เวเดอร์เป็นผู้ถ่ายทอด ส่งมอบ มรดกบาป นี้ต่อไปเรื่อยๆ เป็น รุ่น ยุค สมัย จนถึงปัจจุบัน ความรู้ของจักรวรรดิกรีก-โรมัน ที่ชาวยุโรป ที่เปรียบเสมือน อนาคิน สืบทอดมานั้น มีการแทรกแซงจากพวกคริสเตียน ที่เปรียบเป็นดั่ง อัศวิน เจได ในเรื่องของแนวคิดที่ขัดแย้งกัน คือ ความรู้ของคริสเตียนเป็นแบบที่มาจากพระเจ้า ไม่ใช่ ความรู้ที่พยายามแยกพระเจ้าออกจากมนุ ษย์ อ ย่ า ง ก รีก ท า ให้ ช า ว ยุ โร ป ถู ก ค ร อ บ ง า จ า ก ช า ว ค ริส เตี ย น ใน ร ะ ย ะ ห นึ่ ง และพวกคริสเตียนยังได้แทรกแซงจักรวรรดิอิสลาม เช่นเดียวกัน แต่ก็ไม่สามารถทาอะไรชาวมุสลิมได้ และเป็นเพราะพระเข้าไปยุ่งกับทางโลกย์มากขึ้น และได้แป รสภาพเปลี่ยนไป กันสิ้นเชิง จน ท า ให้ ก ารป ฏิ บั ต ข อง พ ระห รือ นั ก บ ว ช นั้น ขั ด กั บ แ น ว คิด ใน คัม ภี ร์ไบ เบิ ล เป็นผลทาให้ความรู้กรีกได้ฟื้นฟูกลับขึ้นมาในยุโรปอีกครั้ง ความรู้ของชาวกรีกในด้านต่างๆ ที่แปลกใหม่ มันช่างน่าตื้นเต้นกว่า ความรู้ทางศาสนา ที่ ซ้ า ซ าก น่ า เบื่ อ สิ่ง เห ล่ านี้ ส ร้า ง ค ว าม ห ล ง ให ล ให้ กั บ ช าว ยุ โรป โด ย ทั่ว ไป และผู้ที่มีบทบาทอิทธิพลต่อพระ เซนต์ โธมัส อไควนัส ยังอด เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ไม่ได้ มีการเสนอให้แยกเรื่อง เทววิทยา ออกจาก ปรัชญาเพื่อให้ความรู้ต่างๆ ไม่ต้องมาก้าวก่ายกัน เท่ากับว่า เปิดทางสะดวกให้กับ ดาร์ธ เวเดอร์ ฟื้นคืนชีพกลับมาเริ่มต้นฉายหนัง สตาร์ วอร์ส ภาคใหม่ หรือ ภาค เอ็มไพร์ สไตรค์ แบ็ค ขึ้นมาในทวีปยุโรปตั้งแต่บัดนั้น บทที่ 11 The Empire Strikes Back!!! ในบทนี้ ได้บอกให้เห็นถึง การที่คัมภีร์เริ่มหายไป ศาสนาคริสต์เริ่มไม่ค่อยมีบทบาทอานาจ เนื่ อง มาจาก น าย โย ฮัน เนส กู เต นแบ ร์ก ช าว เย อรมัน ที่ เป็ นผู้คิด ค้น ป ระดิษ ฐ์ เค รื่ อ ง พิ ม พ์ ที่ อุ บั ติ ขึ้ น ม า ใน ดิ น แ ด น ยุ โร ป มี ค ว า ม คิ ด ที่ ห ยุ ด ตี พิ ม พ์ คั ม ภี ร์ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ร า ย ไ ด้ ที่ น้ อ ย ล ง จ า ก ก า ร ท า ห นั ง สื อ แ บ บ เ ดิ ม จึง ท าให้ เกิดห นังสือค วามรู้ช าวก รีกที่น่ าสนใจกว่ าค ว าม รู้ศ าสนาที่ซ้าซากน่ าเบื่ อ กลับมาฟื้นฟูอย่างจริงจัง และความรู้ก็นาเอามาใช้ในประโยชน์หลายด้านจนถึงปัจจุบันนี้ ภายใต้สภาพบรรยากาศเช่นนี้ ดาร์ธ เวเดอร์ จึงสามารถเปิดฉากปฏิบัติการ เอ็มไพร์ สไตรค์ แบ็ค แผ่พลังด้านมืดทั่วยุโรป อย่างถึงรากโคน ความรู้ของชาวกรีกถูกตีพิมพ์ เผยแพร่ อย่างกว้างขวาง โด ย ไม่ ส น ใจ ก าร ก ลั่น ก ร อ ง จึง เ ริ่ม เป ลี่ย น ทั ศ น ค ติ มุ ม ม อ ง ข อ ง ช าว ยุ โร ป ต่างไปจากยุคศาสนจักรคนละเรื่อง และวิธีคิดแบบมีเหตุผลของ อริสโตเติล ที่ถูกรวบรวม
  • 14. ในงานเขียนชื่อ Organon ถูกนามาตบแต่ง ต่อยอด โดยนักคิด นักปรัชญา ฝรั่งเศส เรอเน เดส์การ์ตส์ กลายมาเป็นมาตรฐานของ ปรัชญายุคใหม่ ยุคเหตุผลนิยม ยุคแห่งแสงสว่างทางปัญญา จึงค่อยๆ อุบัติขึ้นทั่วทวีปยุโรป และความรู้ของชาวกรีกยังเหมาะกับยุคสมัยสงครามนั้นเริ่มเกิดขึ้น ศิลปิน วิศวกร และนักบริหารชาวอิตาเลียนในยุคเรอเนสซองซ์ ก็ได้คิดริเริ่มสร้างสรรค์องค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ ภาพวาด อย่ างเรือขับ เค ลื่อนด้ว ย ระ บ บ ก ารห มุนใบ พัด ปั๊มลูก สูบ ก ารใช้ดินปื นในสง ค ราม ถือว่าเป็นการปฏิวัติทางทหาร การปฏิวัติดินปืน ปืนใหญ่ ในกองทัพยุโรป ภาพโมนาลิซา ภาพร่างสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ จากที่จุดมุ่งหมายของความรู้ จากเพื่อเข้าใจความหมายของชีวิต ถูกแปรสภาพเป็น การเรียนรู้เพื่อให้มีชีวิตอยู่เป็นหลัก เพื่อเติบโตในตาแหน่งการงาน ไขว่คว้าหาประโยชน์ให้ตัวตนตัวเอง โดยเฉพาะรัฐ ห รือชาติ ต่างไม่ต้องเป็นเพียงแค่ อาณาจักรคริสเตียน กระจอกๆ ต่อไป แต่มุ่งหวังเป็นชาติอันทรงพลังอานาจ ทั้งในทางการเมือง การทหารเศรษฐกิจ การค้า การพาณิชย์ ระบบการศึกษาแบบใหม่จึงถูกกาหนดกาเกณฑ์ ให้ต้องตอบสนองความต้องการดังกล่าว โดยเลี่ยงไม่ได้ บทที่ 12 ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ บ ท นี้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ป ฏิ วั ติ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า เกิดจากชาวยุโรปนั้นนาความรู้ของชาวกรีกหรือความเชื่อแบบเดิมๆ นั้น มาปรับเปลี่ยน และทาให้เกิดความรู้ใหม่ เช่น การเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อแบบเดิมๆของอริสโตเติล ว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ซึ่งพวกพระมีความเชื่อแบบนี้มาเป็นเวลานานให้เป็นความรู้ใหม่ ความจริงใหม่ที่ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ตามแนวคิดของ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส นั ก ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ด า ร า ศ า ส ต ร์ ช า ว โ ป แ ล น ด์ ซึ่ง ก า รป ฏิ วั ติท าง วิท ย า ศ าส ต ร์ก็ ท า ให้ วิ ถีชี วิ ต ข อ ง ผู้ ค น นั้น เป ลี่ย น ไป เช่ น จากการทาเกษตรแบบพออยู่พอกิน ไปเป็นการทาเกษตรเพื่อการค้ามากขึ้น บทที่ 13 ปืน ทุน เทคโนโลยี และความโลภ ผู้เขียนอธิบ าย เพิ่มเติมถึงแนวคิดของชาวกรีก ที่ช าวยุโรป นามาต่อยอดซะให ม่ ทาให้สามารถแผ่อิทธิพลไปในวงกว้าง โดยเริ่มจากศาสนจักรคริสเตียนค่อยๆล่มสลายไป เป็นผลมาจาก “แสงสว่างทางปัญญา” เข้ามาแทนที่แสงสว่างจากพระเจ้า ทาให้ชาวยุโรปเกิด กิเลส และ ความโลภ จึงทาให้เกิด “สงคราม” ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้ชาวยุโรปรบราฆ่าฟันกันเอง ตัวอย่าง เช่น สงคราม 100 ปี สงครามที่อังกฤษรบกับฝรั่งเศส ตัวอย่าง เช่น สงคราม 100 ปี สงครามที่อังกฤษรบกับฝรั่งเศส ซึ่งอาวุธที่ใช้ในการรบ คือ “ดินปืน” เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดการปฏิวัติทางทหารครั้งสาคัญ ทั้งๆ
  • 15. ที่ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ น ปื น นั้ น ไ ม่ ไ ด้ แ ต ก ต่ า ง จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร พิ ม พ์ คือไม่ใช่สิ่งประดิษฐ์ที่ชาวยุโรปคิดค้นขึ้นมา แต่ว่าเป็นชาวจีนที่เป็นผู้เริ่มประดิษฐ์คิดค้นค้นขึ้นมา ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ น ปื น ม า ใช้ ท า ศึ ก ส ง ค ร า ม จึ ง ไ ม่ ใช่ ข อ ง ให ม่ แต่เหตุที่เทคโนโลยีที่นาไปสู่การปฏิวัติครั้งสาคัญ เนื่องจากการนาไปใช้แบบถูกที่ถูกเวลา ถูกความรู้สึก ม า ก ก ว่ า ใ น ช่ ว ง แ ร ก ๆ ก า ร น า ก ร ะ สุ น ที ท า จ า ก ดิ น ปื น ใช้ในสงค รามระห ว่างชาวยุ โรป ด้ว ยกันเองซึ่งมุ่งค วามต้องการที่จะถล่มกาแพงเมือง ห รือ ป้ อ ม ป ร า ก า ร ข อ ง ฝ่ า ย ต ร ง ข้ าม เ ป็ น ห ลัก เท ค โน โล ยี ส ง ค ร าม ช นิ ด นี้ ไม่ ใช้ แ ค่ อ า วุ ธ เ ส ริม ที่ ไ ว้ ถ ล่ ม ก า แ พ ง เ มื อ ง ป ร า ส า ท พ ร ะ ร า ช วั ง เ ท่ า นั้ น แต่มันได้ถูกพัฒนาเป็นอาวุธประจากองทัพ รวมถึงเป็นเครื่องมือในการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป บทที่ 14 กองเกวียนคนทุกข์ในยุคจักรกล บทนี้ได้กล่าวถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ใน “การปฏิวัติอุตสาหกรรม” ในประเทศอังกฤษ โ ด ย ผู้ เ ขี ย น ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า “การจะทาการปฏิวัติอุตสาหกรรมจะไม่สาเร็จได้หากใช้เพียงความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องอาศัย ค วามเหี้ ย ม และ ค ว ามโลภ เข้ามาช่ ว ย เป็ นแรงขับ เค ลื่อนด้ว ย ” โดยอธิบายความเหี้ยมและโลภผ่านเบื้องหลังความสาเร็จของการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษ โดยมาจากการที่อังกฤษสามารถผลิตสินค้าออกมาขายจานวนมากจนทาให้ขาดทรัพยากรในการผลิต จนเป็นเหตุให้อังกฤษต้องหาแหล่งวัตถุดิบใหม่โดยเลือกใช้ประเทศอาณานิคมในแถบแอฟฟริกาเป็นแหล่ ง ผ ลิ ต วั ต ถุ ดิ บ เ พิ่ ม เ ติ ม และจากการที่เทคโนโลยีเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในโรงงานก็ทาให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตของประชาชนช าวอังกฤษเนื่องจากโรงงานเลือกที่จะจะใช้แรงงานเครื่องจักรแทนแรงงานคนมากขึ้นส่งผลให้ค่าจ้างแรงง านถูกลงและคนตกงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการจลาจลและโรคระบาดในเมือง บทที่ 15 ลัทธิอุตส่าห์ - หา - กรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมของประเทศอังกฤษซึ่งสภาพสังคมในช่วงนั้นเป็น แ บ บ แ ย ก ช น ชั้ น ค น ร ว ย ค น จ น อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ซึ่งการแยกชนชั้นนาไปสู้ความขัดแย้งจนเกิดการจลาจลบ่อยครั้งจนไม่สามารถยับยั้งความรุนแรงได้ จนมีนักป ฏิรูป สังค มชื่ อนาย “Robert Owen” เข้ามาท าก ารป ฏิวัติให้ ค ว ามรู้แรง งาน ใ ห้ แ ร ง ง า น มี ส่ ว น ร่ ว ม ม า ก ขึ้ น เพิ่มค่ าจ้างท าให้ เกิดค นช น ชั้นกลาง ขึ้นมาแต่ก็บ รรเท าได้เพีย งบ าง ส่ว นเท่ านั้น
  • 16. ด้วยเหตุนี้ยังมีกลุ่มคนที่ต้องการความเท่าเทียมเสมอภาคอย่างแท้จริงเกิดเป็นสังคมแนวทางใหม่ที่เรียก “สั ง ค ม นิ ย ม ” ห รื อ “ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ” ซึ่ง มีก รรับ ฟัง ค น ช นชั้น ล่าง ม าก ขึ้ นแ ละ ได้รับ ค ว าม นิย ม ใน ท วีป ยุ โรป ม าก ขึ้ น แต่ไม่ ว่าจะเป็ นทุ นนิย มห รือสัง ค ม นิย มแนว คิดทั้งสอง ก็ยัง ยึดติดอยู่ กับ วัตถุนิย ม หรือก็คือทุกคนต้องแข่งขันแย่งชิงเพื่อให้ได้สิ่งของมาใช้เป็นตัวแบ่งชนชั้นของแต่ละคนนั่นเอง บทที่ 16 สงครามกับการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีในปัจจุบันนี้ ล้วนเป็นผลพลอยได้จากการพัฒ นาอาวุธ และเทคโนโลยี จ าก ภ าว ะส ง ค ร าม โล ก ภ าย ใน อ ดี ต ทั้ ง ส ง ค ร าม โล ก ค รั้ง ที่ 1 แ ล ะค รั้ง ที่ 2 นอกจากนี้ยังมีสงครามเย็นที่ก่อตัวก่อนสงครามอีกด้วย เทคโนโลยีต่างๆ เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ , พ า ห น ะ , เ ค รื่ อ ง บิ น , พ ลั ง นิ ว เ ค ลี ย ร์ ฯ ล ฯ ล้ว น เกิ ด จ าก ค ว าม พ ย าย า ม ที่ จ ะเอ าตัว รอด ข อ ง ม นุ ษ ย์ ภ าย ใน ภ าว ะบี บ คั้น ให้พัฒ นาตนเองเพื่อต่อสู้กับ ป ระเท ศตรงข้าม เป็ นเรื่องน่ าตลกที่อุตสาห กรรมต่าง ๆ นั้ น ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ฟื้ น ฟู ตั ว ไ ด้ ภ า ย ใ น ภ า ว ะ ส ง ค ร า ม เ ห ล่ า นี้ และยังสามารถป ระคับป ระคองอุตสาหกรรมให้ดารงอยู่ได้ โดยอาศัยทุนท างการท หาร เป็ น ตัว กอ บ กู้อุต สาห ก รรม วิก ฤต เห ล่านี้ แ ละ สามารถพัฒ น าเท ค โนโลยีต่ าง ๆ เพื่อนาไปใช้เพื่อการท หารได้อีกด้วย ซึ่งเมื่อสงครามสิ้นสุดลงแล้ว ผลพลอยได้เหล่านั้น ล้ว น เป็ น ผ ล ผ ลิต ที่ ม า จ าก ค ว าม ต าย ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ แ ก่ ง แ ย่ ง กั น ท า ง ส ง ค รา ม ทว่าสิ่งเหล่านี้จะไม่อาจเกิดขึ้นได้หากมนุษย์ไม่อยู่ในสภาวะที่บีบคั้นเพื่อเอาตัวรอดเหล่านี้ เพ ราะ ใน ท าง อุต ส าห ก ร รม แล้ว สิ่ง เห ล่ านั้น ล้ว น ใช้ ทุ น ม ห าศ าล ใน ก าร พัฒ น า ซึ่งนักลงทุ นทั้งหลายล้วนพิจารณาแล้วว่าไม่คุ้มทุน หากแต่เมื่อนาไป ใช้ในทางสงคราม แ ล ะ ให้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ น า ไ ป ใ ช้ เ พื่ อ เ อ า ช น ะ ใ น ส ง ค ร า ม เ ห ล่ า นั้ น เทคโนโลยีเหล่านั้นจึงได้พัฒนาตัวมาจนถึงปัจจุบันนี้ บทที่ 17 องค์ความรู้ทางวัตถุกับองค์ความรู้ทางจิตใจ ในบทนี้จะกล่าวถึงความรู้ทางวัตถุ และความรู้ในทางจิตวิญญาณซึ่งในทางวัตถุนั้น คือสิ่งของรอบตัวเรา ทั้งวัตถุ สิ่งของ อาหาร บ้านเรือน ฯลฯ ส่วนในทางจิตใจนั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่ทั่วไป ทั้งในเดรัจฉาน และมนุษย์ อันได้แก่ ความรู้สึกต่างๆ ความรัก ความห่วงใย ความดีงาม ฯลฯ ซึ่งแฝงอยู่ในความคิดของมนุษย์ และต่อมาจึงพัฒนากลายไปเป็นสิ่งที่เราเรียกกันว่า ศีลธรรม
  • 17. มนุษย์นั้นล้วนแล้วแต่มีสัญชาตญาณสัตว์อยู่ในตัว แต่สิ่งที่มนุษย์นั้นแตกต่างกับสัตว์ คือ ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม รู้ ท า ง จิต วิ ญ ญ า ณ ห รือ ศี ล ธ ร ร ม ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ ง ยั บ ยั้ ง ชั่ง ใ จ ไม่ให้มนุ ษย์นั้นห ลงผิดไป ในท างมิชอบ ห รือห ยุดไม่ให้มนุ ษย์นั้นกระท าชั่ว ไป กว่านี้ และดารงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขได้ โดยไม่แก่งแย่ง หรือฆ่าฟันกันไปก่อน ในยุคปัจจุบันนี้ที่เทคโนโลยีก้าวไกลไปมากนั้น มนุษย์นั้นยึดติดอยู่กับวัตถุสิ่งของ หรือความรู้ทางวัตถุมากเกินไป ซึ่งทาให้ความรู้ทางจิตวิญญาณนั้นถูกสิ่งเหล่านั้นเบียดเบียนไป ทาให้มนุษย์ยึดติดกับความสุขเพียงชั่วครู่ ซึ่งในทางศาสนาแล้ว ยกตัวอย่างเช่นพระเยซูได้กล่าวไว้ว่า “ม นุ ษ ย์ ค ว ร ที่ จ ะ สั่ง ส ม ค ว า ม ดี ต่ า ง ๆ ดี ก ว่ า ที่ จ ะ สั่ง ส ง แ ต่ วั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง เ พ ร า ะ วั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง เ ห ล่ า นั้ น ล้ ว น แ ล้ ว แ ต่ จ ะ ผุ พั ง ท ล า ย ไ ป แต่ความดีเหล่านั้นล้วนแล้วแต่ติดตัวเราไปตลอดกาล” ทว่ากับคนเราในปัจจุบันนี้ที่เห็นวัตถุสิ่งของ ดีกว่ามนุ ษย์ อุตสาห กรรมต่างๆ ที่กระทาให้มนุ ษย์ไม่ต่างกับ สิ่งของ สินค้า แรงงาน ทาให้มนุษย์เริ่มเห็นคุณค่าในตัวเองลดลง และเริ่มทาให้เกิดความขัดแย้งภายในสังคมเกิดขึ้น เพราะฉะนั้นแล้วมนุษย์นั้นควรที่จะมีศีลธรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาทางเทคโนโลยีไปอีกด้วย เพื่อให้ยังมีแรงถ่วงรั้งให้เราสามารถอยู่ร่วมกันได้ต่อไป บทที่ 18 จากประชาธิปไตย...สู่เผด็จการเสรีนิยม ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ นั้ น เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ได้ รับ ก า ร ย ก ย่ อ ง ส ร ร เ ส ริ ญ ว่าเป็ นแม่แบ บ ป ระช าธิป ไตย ใน ระดับ โลก ท ว่ าแล้ว นักอน าค ตศ าสตร์ทั้งห ลาย พยายามพยากรณ์แนวโน้มต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับประเทศนี้ ในสังคมอนาคตข้างหน้า โดยเฉพาะในสังคมที่เทคโนโลยีก้าวหน้านี้ ทุกสิ่งล้วนตกอยู่ ในมือของสิ่งที่เรียกว่า ทุน และ รัฐ เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งพยายามที่จะควบคุมบงการมนุษย์ในสังคมประชาธิปไตย โดยริดรอนสิทธิส่วนบุคคล จนไม่เหลือความเป็นส่วนตัวเลยแม้แต่น้อย โดยอ้างถึงคาว่าประชาธิปไตย และส่วนรวม สิ่งที่กล่าวมาเห ล่านี้นั้นถูกเรีย กว่า ระบอบ เผด็จการเสรีนิยม สิ่งนี้จะมีผู้บ งการโดย รัฐ ซึ่ ง จ ะ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ค อ ย ส อ ด ส่ อ ง ค ว บ คุ ม บ ง ก า ร และแท รกแซง วิถีชีวิตข อง ป ระช นโด ย แฝง มาในค ราบ ข อง ข้ออ้างท าง สาธารณ ะ และหยิบยื่นสิ่งที่ดีให้โดยไม่อาจรู้ได้เลยว่า มันจะทาให้เราถูกควบคุมโดยไม่รู้ตัว บทที่ 19 หวนกลับไปสู่ความโหยหาศีลธรรม
  • 18. “ลัท ธิพี่เลี้ย ง เด็ก ” (Nannyism) ห รือคาว่า “เผด็จการเสรีนิย ม ” (Liberal Fascism) ม า ก ม า ย ซั ก เ ท่ า ไ ห ร่ นั ก ทั้ ง ๆ ที่ ถ้ อ ย ค า เ ห ล่ า นี้ ก า ลั ง เป็นคาพูดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศแม่แบบประชาธิปไตย ทั้งหลาย ไม่ว่าในอังกฤษ หรืออเมริกา ซึ่ง นายเอีย น แมค เลีย วด์” (Iain Macleod) แห่ งพ รรค อนุ รักษนิย ม ได้เค ย ห ยิบ ย กมา ใช้ ร ะ บ า ย ค ว า ม อึ ด อั ด ต่ อ บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ภ า ย ใต้ ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยแบบอังกฤษเข้ายุ่มย่ามกับวิถีชีวิตของ ผู้คนพลเมือง เข้าไปแทรกแซงความเป็นส่วนตัว หรือสิทธิอัตวินิจฉัยส่วน บุคคล แบบหนักหนา สาหัส ยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ไม่ต่างอะไรไปจาก “พี่เลี้ยง เด็ก” พย าย าม ใช้เงิน ใช้ท อง ใช้ วัตถุ สิ่ง ข อง ตอบ สน องค ว าม ต้อง การข องพ ลเมือ ง ไม่ต่างไป จากการซื้อข นมให้เด็กๆ เป็ น“อานาจนิย ม” ในอีกรูป แบ บ ห นึ่งนั่นเอง ที่ ถึ ง แ ม้ จ ะ ไ ม่ แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง “ค ว า ม เ ป็ น เ ผ ด็ จ ก า ร ” แ บ บ ชั ด ๆ จ ะ จ ะ แ ต่ ก็ พร้อมจะอาศัยรูปแบบความเป็นประชาธิปไตยหรือเรียกว่า “เ ผ ด็ จ ก า ร เ ส รี นิ ย ม ” นั้ น . . . ก ล า ย เ ป็ น ที่ รู้ จั ก แ ล ะ โ ด่ ง ดั ง ขึ้ น มาจากงานเขียนของนักเขียนชาวอเมริกันรายหนึ่ง ชื่อว่า “นายโจนาห์ โกลด์เบิร์ก” (Jonah Jacob Goldberg) ค อลัม นิสต์และบ รรณ าธิก าร นิ ตย สารออน ไลน์ (National Review Online) มันไปตอบสนองความอึดอัดของชาวอเมริกันจานวน ไม่น้อย ที่มีต่อระบอบประชาธิปไตยแบบอเมริกัน แนวคิดเดียวกันกับพวก “ฟาสซิสต์” (Fascism) ยุคแรกๆ หรือ ล้วนแต่มีรากฐานมาจากแนวคิด “วัตถุนิยม” ไปด้วยกันทั้งสิ้น และโดยความเชื่อของ “นายโจนาห์ โกลด์เบิร์ก” ดูๆ แกออกจะ เชื่อเอาจริงๆ ว่า...บรรดาเผด็จการเสรีนิยมทั้งหลายนี่แหละ คือผู้ควบคุม บงการ อานาจทางการเมือง แล ะอาน าจ ต่ าง ๆ ส่อ ให้ เห็ น ถึง ค ว าม พ ย าย าม ที่ จ ะ “ค ว บ คุ ม ” แ ละ “บ ง ก าร ” ใครต่อใครหนักหน่วงยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าในแง่ การกิน การอยู่ การใช้ชีวิตในลักษณะต่างๆ จนแม้แต่การรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร “ไม่ว่า NPR (สถานีวิทยุสาธารณะหรือ National Public Radio กว่า 900 เครือข่าย) และ PBS (สถ านีโท รทัศ น์ สาธารณ ะห รือ Public Broadcasting Service 354 เค รือข่ าย ) ต่างถู ก ควบคุมโดยพวกเผด็จการเสรีนิยม จนทาให้ใครก็ตามที่มีแนวคิด กลางๆ และเป็ นอิสระ ไม่สามารถนาเสนอข้อมูลและข่าวสารที่เป็นจริง “ก า ร ส อ ด ส่ อ ง ส า ย ต า ไ ป ยั ง ผู้ ค น แ ต่ ล ะ ค น ทั่ ว ทั้ ง โ ล ก ใ บ นี้ จะกลายเป็นสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในทั่วทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะโดยผ่านการดักฟังทางโทรศัพท์ การใช้ อิน เท อ ร์เ น็ ต ภ าย ใน อน าค ต อีก ไม่ ใก ล้ -ไม่ ไก ล นั บ จ าก นี้ โด ย ค ว าม ร่ ว ม มื อ ข อง ห น่ ว ย ง า น เพื่ อก ารบั ง คับ ใช้ ก ฎ ห ม าย ทั้ ง ใน สห รัฐแ ล ะใน สห ภ า พ ยุ โร ป ที่ได้เริ่มต้นวางพื้นฐานของระบบลักลอบดักฟังในวงกว้าง เพื่อให้ สามารถดักฟังโทรศัพท์มือถือ การติดต่อทางอินเทอร์เน็ต การส่ง ข้อความทางโทรสารและเพจเจอร์ได้ทั่วทั้งยุโรปและอเมริกา” รู้ จั ก กั น ใ น น า ม Enfopol 98 ซึ่ ง ถู ก ย ก ร่ า ง ขึ้ น ม า อ ย่ า ง ลั บ ๆ โ ด ย เ จ้ า หน้าที่ตารวจและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม