SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
รายงานสรุปหนังสือ
เรื่อง
นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
เสนอ
อาจารย์ ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
รายวิชา จริยศาสตร์ในสังคมฐานวิทยาศาสตร์ (GEN 311)
สมาชิก
นาย ศุภกฤต อายุเจริญ รหัสนักศึกษา 54211828
นางสาว เกศลาวรรณ์ อุ่นเมือง รหัสนักศึกษา 54212135
นาย กัตติกร วรวงษ์วิวัฒน์ รหัสนักศึกษา 54212137
นาย พงษ์พิทักษ์ สุนทรานุยุตกิจ รหัสนักศึกษา 54212143
นางสาว ภัทราภรณ์ กินลา รหัสนักศึกษา 54212144
นาย วรสิทธิ์ วงษา รหัสนักศึกษา 54212146
นาย ธรรมธัช อภินันท์วิริยกุล รหัสนักศึกษา 54211220
นางสาว สิริวรรณ แสงวงศ์ รหัสนักศึกษา 54216621
นาย อธิคม ดาวเรือง รหัสนักศึกษา 54270350
สรุปสาระสาคัญของหนังสือ
ภาคที่หนึ่ง : มรดกวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
บทที่1. ฮิตเลอร์,นักวิทยาศาสตร์
ก า ร เป็ น ผู้ น า ที่ ไม่ เ ข้ า ใจ ใน เรื่ อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริง ข อ ง ฮิ ต เล อ ร์
ท าให้เข าไม่ สาม ารถ จัด การกั บ เท ค โนโลยีที่ เกิด ให ม่ อย่ างรว ดเร็ว ในสมัย นั้นได้
อีกทั้งการที่เขาเป็นคนที่ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว เชื่อในลางสังหรณ์ของตน ไม่สนโลกภายนอก
จึงทาให้เกิดปัญหาต่างๆขึ้นมากมายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามเทคโนโลยี) เช่น…
1. ฮิตเลอร์ดื่มน้ายาล้างลากล้องปืน อันเป็นสารพิษร้ายแรง เพราะ เขาเชื่อว่าเป็นยาชั้นยอด
ช่วยกล่อมท้องไส้ของเขาในสนามรบ ตอนสงครามโลกครั้งที่ 1
2. นา “การเหยียดเชื้อชาติ” มาเป็ นแก่นของรัฐนาซีเยอรมนี โดยฮิตเลอร์เชื่ อแนวคิด
“การเมืองชีวะของสายเลือดบริสุทธิ์” จากทฤษฏีของผู้แต่งวรรณกรรมชาวฝรั่งเศส โดยไม่สนใจ
“ทฤษฏีการถ่ายทอดลักษณะเชิงพันธุกรรม” ของเมนเดลเลย
3. ฮิตเลอร์ต้อต้านอาวุธสมัยใหม่
>> ปืนกลเบา เพราะ จะทาให้ทหารขี้ขลาด และไม่กล้าสู้ระยะประชิดตัว
>> เครื่องบินไอพ่น เพราะ ความเร็วสูงทาให้การบังคับเครื่องต่อสู้กันบนฟ้าลาบาก
บทที่2. เยอรมนี นครเมกกะ(ใหญ่)แห่งวิทยาศาสตร์
ในสมัยนั้นเยอรมนียืนอยู่แถวหน้าสุดของวงการวิท ยาศาสตร์ทุกแขนง จนมีคากล่าวว่า
“เทคโนโลยีล้ายุคทุกอย่างมีแหล่งกาเนิดจากเยอรมนี ” แม้กระทั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1
ซึ่ ง เ ย อ ร มั น แ พ้ ค ร า ม แ ต่ ก ลั บ เ ป็ น “ ศ ต ว ร ร ษ ข อ ง เ ย อ ร ม นี ” เ พ ร า ะ
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมนีกวาดรางวัลโนเบลไปครึ่งหนึ่งในสาขาวิทยาศาสตร์ เช่น ฟริตซ์
ฮาเบอร์จากผลงานสร้างแอมโมเนียจากธาตุพื้นฐาน หรือ อัลเบิร์ก ไอน์สไตน์ จากผลงานโฟโต้อิเล็กทริก
(ก่อนที่เขาจะประกาศสละสัญชาติเยอรมนี) และคนอื่นๆอีกมากมาย มีอะไรในเยอรมนี? ระบบการศึกษา
ประวัติศาสตร์ ห รือว่าลักษณ ะผู้คนในช าติ ที่ท าให้เยอรมนีโดดเด่นเป็ นที่ห นึ่ง และ
และมีการศึกษาวิจัยค้นคว้าเรื่องต่างๆอย่างลึกซึ่งมากมาย
บทที่3. ฟริตซ์ฮาแบอร์
ฟ ริ ต ซ์ ฮ า เ บ อ ร์ เ ป็ น นั ก เ ค มี ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ข อ ง เ ย อ ร ม นี
แ ล ะ เ ป็ น ผู้ ที่ แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม โ ห ด ร้ า ย ข อ ง นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
โดยเขาเป็นผู้ที่ริเริ่มนาเอาเทคโนโลยีแก๊สพิษมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งฆ่าทหารให้ล้มตายไปกว่า
1.3 ล้านคน และเขาเป็นผู้นาทัพบุกเบิกเข้าไปในสนามรบและปล่อยแก๊สพิษด้วยตนเอง
ตอ นส ง ค รามโลก ค รั้ง ที่ 1 เ ข าอ ายุ 4 6 ปี เข าได้พัฒ น าสารเค มีที่ ใช้ ท าระเบิ ด
เ ข า ทุ่ ม เ ท ใ ห้ กั บ ศึ ก ส ง ค ร า ม ไ ม่ ต่ า ง จ า ก ท ห า ร ใ น ส น า ม ร บ
อีกทั้งฮ าเบ อร์กับ เพื่อนนักวิทย าศาสตร์อีกประมาณ 100 ค น ลงชื่ อในป ระกาศฟุลดา
ซึ่งเกี่ยวกับการปฏิเสธความรับผิดชอบของเยอรมนีในการทาสงครามและการกระทาทารุณโหดร้าย
เมื่อถูกประกาศตีพิมพ์ไป แล้ว อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เพื่อนของฮ าเบ อร์ ไม่ร่วมลงชื่ อด้วย
และยังไปลงชื่อต่อต้านโดยสนับสนุนให้เยอรมันวางตัวเป็นกลางและแสวงหาสันติในรูปแบบเอกภาพเยอ
รมันแยกออกจากยุโรปแทน
ใ น ข ณ ะ ที่ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ 1 ยั ง ด า เ นิ น ต่ อ ไ ป
การป ระณ ามติเตีย นเย อรมันจากป ระเท ศ ต่างๆก็มีมากขึ้นด้วย และในระห ว่างนั้น
ในระห ว่ างนั้นโครง การวิจัย อาวุ ธเคมีข องฮาเบ อร์ก็ให้ผลท าลายล้างสูงในสนามรบ
โ ด ย ผ่ า น ใ น วั น เ ดี ย ว ส า ม า ร ถ ฆ่ า ท ห า ร ไ ป ไ ด้ ถึ ง 1 5 0 0 0 ค น
ทาให้ชื่อเสียงของกองทัพเยอรมันและวิทยาศาสตร์เยอรมันมั่วหมองลงไปเรื่อยๆ
บทที่4. นักวิทยาศาสตร์แก๊สพิษ
สมัย สงค รามโลกค รั้งที่ 1 นั้น เย อรมันมองว่าแก๊สพิษเป็ นอาวุธสุดมหัศจรรย์
เพราะเยอรมนีอ้างว่า เทคโนโลยีอาวุธใหม่มีพลังอานาจที่จะช่วยชีวิตทหารไว้ได้ถ้าได้ชัยชนะรวดเร็ว
อีกทั้งยัง เป็นฆ่าอย่างสูงส่งเพราะร่างกายไม่ฉีกขาดกระจุยกระจายเหมือนถูกกระสุนปืนใหญ่ยิง
แต่แพทย์ฝ่ายตรงข้ามไม่ได้มองเช่นนั้น เพราะนอกจากเขาจะเห็นทหารที่เขารักษาตายอย่างทรมานแล้ว
สัตว์ต่างๆที่อยู่บริเวณนั้นก็ล้มตายไปด้วย อีกทั้งแก๊สพิษรังแต่จะย้าความแค้นเคืองให้ศัตรู
แ ล ะ ใ ช้ อ า วุ ธ รุ น แ ร ง ขึ้ น
ท้ายที่สุดทั้งสองฝ่ายก็จะละเมิดสนธิสัญญาที่วางกรอบให้มนุษย์พึงปฏิบัติต่อกันในการสู้รบ
หลังจากเย อรมันแพ้สงค รามโลกค รั้งที่ 1 ฮ าเบ อร์ได้ห นีไป อยู่ สวิตเซอร์แลนด์
แ ล ะ ถู ก เ รี ย ก ตั ว ก ลั บ ม า เ พื่ อ ฟื้ น ฟู ป ร ะ เ ท ศ ห ลั ง แ พ้ ส ง ค ร า ม
แ ต่ เข า ก็ ยั ง ค้ น ค ว้ า วิ จั ย แ ก๊ ส พิ ษ ต่ อ โด ย ไม่ ส น ใจ ค า สั่ง ห้ า ม ใน ส น ธิ สัญ ญ า
แล ะ ป่ าว ป ระ ก าศ ก า รใช้ แ ก๊ ส พิ ษ ว่ า ไม่ โห ด ร้าย ไป ก ว่ าก าร ใช้ อ าวุ ธ ธร รม ด า
แ ล ะ สุ ด ท้ า ย ฮ า เ บ อ ร์ ก็ เ สี ย ชี วิ ต เ พ ร า ะ ค ว า ม ซึ ม เ ศ ร้ า
เพราะความรู้สึกหลอกหลอนว่าตนเองทาผิดชั่วร้ายในชีวิตนี้
บทที่ 5 วิทยาศาสตร์ว่าด้วยอนามัยของเผ่าพันธุ์
ใ น ปี 1 9 0 0
เยอรมันได้เฉลิมฉลองศตวรรษใหม่ด้วยการประกวดบทความทางชีววิทยาชิงรางวัลก้อนโต
เพื่อแสวงหาทฤษฏีวิวัฒนาการ เพื่อจะนาไปใช้ในทางการเมืองและสังคม และรางวัลชนะเลิศตกเป็นของ
ฟรีดริช วิลเฮล์ม ชาลล์มาเยอร์ ในเรื่อง การปรับป รุงลักษณะท างพันธุกรรมของมนุษย์
ในยุคนี้วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งเดียวที่ใช้อธิบายสิ่งต่างๆ และเป็นเครื่องมือที่มีอานาจในการควบคุมสังคม
เ ช่ น ใ น ช่ ว ง นั้ น ห นั ง สื อ Origin of species ข อ ง ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น
บั่นทอนความขลังคาสอนของศาสนาคริสต์ ด้วยการประกาศว่า มนุษย์มีวิวัฒนาการมาหลายร้อยล้านปี
ไม่ได้เริ่มวิวัฒนาการจากยุคของอดัม ซึ่งเกิดแค่เพียงไม่กี่สหัสวรรษที่ผ่านมา
บทที่ 6 การปรับปรุงสายพันธุ์มนุษย์กับจิตเวชศาสตร์
ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ส า ย พั น ธุ์ ม นุ ษ ย์ นั้ น
ใน ที่ นี้ ห ม า ย ถึ ง ก า ร คั ด เลื อ ก ส า ย พั น ธุ์ที่ ดี แ ล ะส่ ง ต่ อ ไป ยั ง รุ่ น ลู ก รุ่น ห ล า น
ทาให้เกิดปัญ ห ามากมายในยุ คสมัยนั้น เช่น แสวงห าค นที่ฉลาดห รือคนชั้นสูงในสังค ม
เ พื่ อ น า ม า ผ ส ม พั น ธุ์ กั น เ พื่ อ ใ ห้ ลู ก ห ล า น ส ติ ปั ญ ญ า ดี
ห รื อ เ ส น อ น โ ย บ า ย ใ ห้ รั ฐ บ า ล ว่ า ใ ห้ มี ก า ร จั ด ง า น แ ต่ ง ง า น ฟ รี
ถ้าคู่แต่ง งานผ่ านเกณ ฑวัดในเรื่องป รับ ป รุง สานพันธุ์มนุ ษย์ ซึ่งอุดมการณ์ข อง นาซี
ก็ได้อิงมาจากลัทธิดาร์วินจอมปลอม รวมกับ นิยายปรัมปราสายเลือดอารยันสุดสูงส่ง
สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลให้เกิดผู้ป่ วยมากมาย ทาให้ผู้ป่ วยไม่ไม่รับ การดูแล
และล้ม ต าย ไป ม ากม าย อีก ทั้ง เกิ ด ปั ญ ห าวิ ก ฤต ด้าน เศ รษ ฐกิ จ แล ะ ก ารเมือ ง
ท า ใ ห้ ถู ก ตั ด ง บ ใ น ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ไ ป
แ ล ะมี ก าร เส น อ ว่ าให้ แ พ ท ย์ มี สิท ธิข าด ใน ก า รสั่ง ก าจัด ค ว าม ทุ ก ข์ ท รม า น
และคว รกาจัดชีวิตที่เป็ นภาระข องสังค ม เพราะตอนนั้นท รัพ ยากรมีอยู่ อย่ างจากัด
ไ ม่ ค ว ร น า ไ ป ใ ห้ ค น บ้ า ปั ญ ญ า อ่ อ น
และการการุณยฆาตนี้ได้ถูกนามาใช้ในระบอบการปกครองของนาซีเพราะได้รับแรงหนุนจากญาติของผู้
ป่วยด้วย
ภาคที่สอง : ฟิ สิกส์ยุกต์ใหม่ 1918-1933
บทที่ 7 ฟิ สิกส์หลังสงครามโลกครั้งที่ 1
นักวิทยาศาสตร์สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผลงานเกิดขึ้นมากมาย เช่น รัตเทอร์ฟอร์ด
ที่คิดค้น “ไฮโดรโฟน” เครื่องตรวจจับความเคลื่อนไหวในน้า ซึ่งคลื่นเสียงที่ใช้ในการตรวจจับมีชื่อว่า
โซน่าร์ และ แม็กซ์ พลังค์ ที่ค้นพบการแผ่รังสี เป็นเพียงกระจุกพลังงานจานวนน้อยนิด ที่เรียกว่า
ค วอนตา แต่พ ลัง ค์ไม่สามารถอธิบ าย ในข้อสันนิฐานข องเข าได้ เข าบ อกได้แค่ว่ า
ค ลื่ น แ ส ง แ ผ่ ก ร ะ ตุ ก วู บ ว า บ
ต่อมาไอน์ สไต น์ได้นาเรื่อง ข อ งค ว อนตัมข อง พ ลัง ค์มาพัฒ นาและได้ค ว าม คิดว่ า
แสงเกิดจากพลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอนที่ปล่อยออกมา ซึ่งกลุ่มที่ปล่อยแสงออกมานั้นเรียกว่า โฟตอน
แล้ว ได้เขีย นห นังสือที่ ชื่ อว่ า ท ฤ ษฎี สัมพันธภาพ และเป็ นที่ โด่งดังในเว ลาต่อม า
ในประเทศเยอรมันได้เกิดกลุ่มต่อต้านทฤษฎีสัมพันธภาพขึ้นโดยมี ฟิลิปป์ เลนาร์ด และ โยฮันเนส
ส ต า ร์ ค ส อ ง ท่ า น นี้ เ ป็ น ผู้ ก่ อ ข บ ว น ก า ร ต่ อ ต้ า น ขึ้ น
ซึ่งการต่อต้านนั้นมีจุดประสงค์ที่ต้องการต่อต้านชาวยิวและเข้าร่วมกับฮิตเลอร์ จึงเป็นพรรคชื่อว่า
พ ร ร ค น า ซี ที่ มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ คื อ ต่ อ ต้ า น ช า ว ยิ ว แ ล ะ ชิ ง ชั ง ไ อ น์ ส ไ ต น์
เพราะเขาคิดว่าไอน์สไตน์เป็นผู้นาชาวยิว
บทที่ 8 วิทยาศาสตร์เยอรมันรอดชีวิต
หลังจากสงครามครั้งที่ 1 เยอรมนีตกอยู่ในวิกฤต เศรษฐกิจใกล้ล้มละลาย พันธมิตรขาดรุ่งริ่ง
ความยิ่งใหญ่ทางทหารถูกปราบราบคาบ ถูกกดขี่ด้วยเงื่อนไขสัญญาสันติภาพแวร์ซายน์
ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก็ เ ช่ น กั น
นักวิท ย าศ าสตร์เย อรมัน ถูก สั่งห้ ามไม่ ให้ เข้าร่ว มป ระชุ มเชิง วิช าการน าน าช าติ
ย ก เ ว้ น ไ อ น์ ส ไ ต น์ เ ป็ น เ พี ย ง ค น เ ดี ย ว ที่ ไ ด้ นั บ เ ชิ ญ แ ต่ เ ข า ป ฏิ เ ส ธ
เพื่ อ แ ส ด ง ค ว า ม เ ป็ น น้ า ห นึ่ ง ใจ เ ดี ย ว กั น กั บ เพื่ อ น ร่ว ม อ าชี พ ช า ว เ ย อ ร มั น
ในเว ลาต่ อม ามีนั ก วิท ย า ศ าสต ร์ที่ มีชื่ อ เสีย ง ม าก ม าย เกิด ขึ้ น เช่ น นี ล ล์ โบ รห์
ผลงานแบบจาลองอะตอมไฮโดรเจน , ไฮเซนแบร์ก คิดค้นวิธีการ “กลศาสตร์เมทริกซ์” , แอร์วิน
ชโรดิงเงอร์ คิดค้นกลศ าสตร์ค ลื่น และพอล ดิแรก สร้าง ท ฤษฎีค ว อนตัมกลศ าสตร์
ที่สอดคล้องกับทฤษฎีสัมพันธภาพ เป็นการก้าวกระโดดเป็นฟิสิกส์ยุคใหม่ในปี 1927
ภาคที่สาม : ความคึกคักของนาซี การค้อมหัวศิโรราบและการกดขี่ข่มเหง 1933-1939
บทที่ 9 การขับไล่ยิว
ในฤดูใบไม้ผลิปี 1933 นักวิทยาศาสตร์ยิวถูกไล่ออกจากงานทั้งยวงหลัง ฮิตเลอร์ขึ้นเถลิงอานาจ
ตาแหน่งงานที่ว่างลงถูกฉกฉวยไปครองโดยเพื่อร่วมงานอายุน้อยที่ไม่ใช่ชาวยิง
แสดงให้เห็นถึงความเสื่อมทรามเชิงศีลธรรมอย่างยิ่งในชุมชนวิทยาศาสตร์เยอรมัน
ฮิตเลอร์ไม่ยอมให้อานาจใดมากดข่ มให้เขาแบ่งอานาจในมือ เมื่อวันที่ 5 มีนาค ม
ฮิตเลอร์สามารถชนะเสียงข้างมากจากการเลือกตั้งโดยการข่มขู่ และ กดขี่ข่มเหงสื่อมวลชล
ร ว ม ถึ ง พ ร ร ค ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย คู่ แ ข่ ง โ ด ย ชั ย ช น ะ ข อ ง ฮิ ต เ ล อ ร์น า ม า สู่
“กฏหมายบาบัดความเดือดร้อนของประชาขนและรัฐ” ทาให้ฮิตเลอร์ได้อานาจเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ
โ ด ย เ มื่ อ สิ้ น สั ป ด า ห์ แ ร ก ข อ ง เ ดื อ น เ ม ษ า ย น
ได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการไล่ผู้ที่มีแนวคิดสังคมนิยมและไม่มีสายเลือดอารยันออกจากงานราชการซึ่ง
ทาให้นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์รวมถึง ศาสตราจารย์ถูกไล่ออกจากงานทันที ต่อมา
พรรค นาซีเริ่มเข้ามาแผ่อิท ธิพลในด้านการศึกษา เริ่มป รับ แนว การเรีย นการสอน
ไม่ว่าจะเป็นแนวการสอนให้คนเหยียดผิว ปรับปรุงตาราเรียนให้สอดคล้องกับอุดมการณ์พรรคนาซี
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ท า ก า ร เ ผ า ห นั ง สื อ ข อ ง ช า ว ยิ ว ก ว่ า 1 0 0 0 0 ร า ย ก า ร
รวมถึงการถูกขับไล่อย่างไม่เป็นธรรมของนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังไม่ว่าจะเป็น ไอน์สไตน์ รวมถึง ฟริตน์
ฮ า เ บ อ ร์
ที่พร้อมทาทุกอย่างเพื่อเยอรมันเสมอมาแต่เขากับได้รับการปฏิบัติราวกับเป็นเพียงชาวยิวคนหนึ่งเท่านั้น
บทที่ 10 วิศวกรกับนักสร้างจรวด
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมัน หนึ่งในประเทศผลิตอาวุธใหญ่ที่สุดของโลกหยุดการผลิตปืน
เกราะ และ สรรพาวุธทั้งปวงตามข้อบังคับของสนธิสัญญาแวร์ชายส์
ก า ร เ ถ ลิ ง อ า น า จ ข อ ง ฮิ ต เ ล อ ร์ นั้ น
ทาให้วงการวิศวกรเยอรมันอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมซึ่งเกิดจากการเผยแผ่อุดมการณ์ของชาวนาซีที่มีต่อเ
ทคโนโลยี โดยในระหว่างที่ระบอบเผด็จการขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วจึงทาให้ ฮิตเลอร์ประกาศอ้าแขนรับ
วิศ ว กร อีกค รั้ง โดย ในระย ะแรกเกิดค ว ามขัดแย้งในห มู่วิศ วกรเองเป็ นอย่ างม าก
แ ต่ ใ น ร ะ ห ว่ า ง นั้ น เ ย อ ร มั น ก็ ไ ม่ ห ยุ ด ที่ จ ะ พั ฒ น า อ า วุ ธ อ ย่ า ง ลั บ ๆ
โดยจุดสาคัญ ของการวิจัยในเวลานั้นคือการ พัฒ นาจรวดในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
ให้มีลักษณะเพรียว ลม ห ลังจากนั้นไม่นานฮิตเลอร์ได้ท าการฉีกสนธิสัญ ญ าแวร์ชาย ส์
ก่ อ น ที่ จ ะ พั ฒ น า จ ร ว ด อ ย่ า ง เ ต็ ม รู ป แ บ บ
ดังนั้นโครงการวิจัยจรวดของเยอรมนีกลายเป็นตัวอย่างแรกของการทุ่มทรัพยากรของรัฐ
เพื่อทาให้เทคโนโลยีใหม่กลายเป็นจริงขึ้นมา
บทที่ 11 การแพทย์ภายใต้ฮิตเลอร์
เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นครองอานาจในฐานะจอมเผด็จการ
ก็ได้รับการตอบรับการกลุ่มอาชีพแพทย์เป็นอย่างดี
ซึ่งมีความกระตือรือร้นที่จะสังกัดพรรคนาซีมากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น
แต่หนึ่งสัปดาห์หลังฮิตเลอร์ครองอานาจ การขับไล่หมอยิวก็เริ่มขึ้น ซึ่งมีจานวน16
เปอร์เซ็นต์ของแพทย์ทั้งหมดในเยอรมนีออกจากงาน ไม่ว่าจะเป็น พญ.แฮร์ธา นาโธรฟฟ์
ผู้เป็นที่นับหน้าถือตาในเยอรมนี เป็นอย่างมากในเวลานั้น รวมถึง นักจิตวิเคราะห์ชื่อก้องโลกอย่าง
ซิกมันด์ ฟรอย ซึ่งเป็นคนที่สร้างชื่อเสียงให้กับเยอรมนีเป็นอย่างมาก
บทที่ 12 ความเป็นเลิศในงานวิจัยมะเร็ง
วิทยาศาสตร์หลายสาขาในเยอรมนี เสื่อมทรามลงภายใต้อุดมการณ์นาซี การกดขี่บางสาขา
โดยเมื่อมองถึงความเจริญรุดหน้าในการรณรงค์ต่อต้านมะเร็งในเยอรมันนั้นเปรียบได้กับการที่
เป็น”ต้นเลว-ผลงาม”
หลังจากฮิตเลอร์ชึ้นค รองอานาจ การรณ รงค์แพรร่ไป ในสื่อสิ่งพิมพ์ และ วิท ยุ
เ ชิ ญ ช ว น ใ ห้ ผู้ ค น ต ร ว จ ร่ า ง ก า ย เ ป็ น ป ร ะ จ า
ไม่น าน การต่ อต้านยิว และการรณ รง ค์ต่ อต้านม ะเร็งป ราก ฏ ให้ เห็ นอย่ าง ชัด เจ น
โด ย มีม า ต รก ารต่ าง ๆ ที่ อ อก ม าเ พื่ อ ค ว า ม ป ลอ ด ภั ย จ า ก โรค ท า ให้ เว ล านั้ น
เยอรมนีขึ้นไปอยู่ในระดับแนวหน้าของโลกในวิถีปฏิบัติความปลอดภัยและสุขอนามัยในที่ทางาน
แต่ก็มีข้อบังคับในยามศึกนั้น ให้คนงานที่ป่วยไข้ลาหยุดได้เพียง 5 เปอร์เซ็นต์ในเวลาเดียวกัน
การุณยฆาตถือเป็นคาตอบอีกทางของการป่วยไข้ก็เริ่มปรากฏให้เห็นแล้ว
บทที่ 13 ภูมิศาสตร์การเมืองกับการขยายดินแดน
ภูมิศาสตร์ได้เสนอแนวคิดการขยายดินแดนเพื่อการตั้งถิ่นฐาน หรือที่เรียกว่า เลเบนส์รอม
ซึ่ ง แ ป ล ว่ า ( ก า ร เ ส า ะ ห า ผื น ดิ น ที่ ท า กิ น ก ว้ า ง ใ ห ญ่ )
สนับสนุนการรุกรานขยายดินแดนของฮิตเลอร์ด้วยข้อสนับสนุนเชิงวิทยาศาสตร์ที่ชอบธรรมคือ
เกโอโพลิทิค ซึ่งหมายถึง วิทยาศาสตร์แห่งความสัมพันธ์ของโลกกับกระบวนการทางการเมือง
ตั้งอยู่บนรากฐานกว้างใหญ่ของวิชาภูมิศาสตร์ ภายใต้ระบอบการปกครองของนาซี เกโอโพลิทิค
ถื อ เ ป็ น วิ ช า บั ง คั บ ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ไ ป แ ล้ ว
จ น ส ถ า น ะ ข อ ง เ ก โอ โพ ลิ ทิ ค ได้ พั ฒ น า แ ล ะ ไ ต่ สู ง เ ป็ น จ ริง เ ป็ น จั ง ม า ก ขึ้ น
เมื่อกองกาลังท หารนาซียึดครองดินแดนทางตะวันออกด้วยการบุ กโปแลนด์และรัสเซีย
และมีการตั้งอาณานิคมเยอรมันในโปแลนด์ กาจัดยิว และส่งแรงงานทาสกลับมาทางานในเยอรมนี
บทที่ 14 ฟิ สิกส์นาซี
เรื่องราวของฟิสิกส์นาซีแสดงให้เห็นว่านักฟิสิกส์ที่ไม่ฝักใฝ่นาซียอมให้ตนเองถูกกดดันมากเพียง
ใด ร ว ม แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ข อ บ เ ข ต ข อ ง พ ว ก เ ข า ใน ก า ร ต่ อ ต้ า น แ ข็ ง ขื น
นักฟิสิกส์เยอรมันไม่มีโอกาสตั้งตัวต้านรับแรงกดดันจากภายในที่มีมากกว่าแรงกดขี่จากภายนอก
เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นครองอานาจในปี1993 เลนาร์ดกับสตาร์คอายุเจ็ดสิบเอ็ดและห้าสิบเก้าตามลาดับ
เลนาร์ดบ อกกับ ฮิตเลอร์ว่า วงการวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอยู่ในภาวะเสื่อมทราม
มี ค ว า ม จ า เ ป็ น ต้ อ ง ป ฏิ รู ป ใ ห ม่
เขาเสนอว่าพร้อมจะทุ่มเทเพื่อรับใช้ท่านผู้นาสะสางปัญหาหากได้ตาแหน่งที่เหมาะสมในหมู่นักฟิสิกส์เย
อรมัน ต่อมาเลนาร์ดเดินสายบรรยายจนมีหนังสือเป็นของตนเอง 4เล่ม ชื่อว่า ดอยต์เชอ ฟิสีค
มีบ ท ค วามตอนห นึ่งที่เลนาร์ดได้เขีย นไว้ใน โฟล์คิซเช อร์ เบ โอบ อัช เท อร์ ค วามว่ า
แน ว คิด ข อง ไอน์สไต น์ในว ง ก ารฟิสิก ส์นั้นเป็ นเพีย ง ค ว ามรู้พ อรับ ฟังได้ส่ว นห นึ่ ง
“เจือ ด้ว ย ก า รป รุง แ ต่ ง ต าม อ าเภ อใจ ส อด เ กี่ ย ว ร้อ ย รัด ด้ว ย สูต รค ณิ ต ศ าสต ร์
เป็นชะตากรรมที่สุดแสนจะธรรมดาของผลผลิตผิดธรรมชาติ”
บทที่ 15 วิทยาศาสตร์เก๊ของฮิมม์เลอร์
ฮิ ม ม์เลอ ร์เติบ โต ขึ้ น ม า ใน ค รอบ ค รัว เค ร่ง ศ าส น าค ริส ต์นิ ก าย ค าท อ ลิก
ใ น วั ย เ ด็ ก เ ข า ส น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ สั ต ว์ แ ล ะ พื ช
เขาหมกมุ่นในเรื่องแพทย์ทางเลือกและธรรมชาติบาบัด ซึ่งเค้าคิดว่าให้ผลการรักษาเป็นเลิศ
เห นื อ ก ว่ า ย า สั ง เ ค ร า ะ ห์ เ พี ย ง ส อ ง ปี ห ลัง จ า ก ฮิ ต เ ล อ ร์ขึ้ น ค ร อ ง อ า น า จ
ฮิ ม ม์ เ ล อ ร์ มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ใ น ก า ร ก่ อ ตั้ ง “อ า ห์ เ น เ น อ ร์ เ บ อ ”
อันเป็นสมาคมการวิจัยที่พร้อมให้การสนับสนุนแนวคิดเพี้ยนพิสดารของวิทยาศาสตร์เก๊ทุกประเ ภท
ปรัชญาแก่นกลางของสมาคม “อาห์เนเนอร์เบอ” ก็คือทฤษฎีเทวปรัชญาสุดเพี้ยนที่รู้จักกันในชื่อ
เวลต์ไอซ์เลห์เรอ
บทที่ 16 คณิตศาสตร์เยอรมัน
มีนักคณิตศาสตร์คนหนึ่งชื่อ ลุดวิก บีเบอร์บาค
เขาอยากดึงให้คณิตศาสตร์ได้เข้าไปในขบวนลัทธินาซีให้ได้
ซึ่งแนวคิดของบีเบอร์บาคนั้นอยู่บนรากฐานของทฤษฎีของเอริช รูดอล์ฟ เยนช์ นักมานุษยวิทยา
ที่กล่าวอ้างอย่างคลุมเครือถึงความเกี่ยวโยงระหว่างจิตวิทยากับประเภทของเผ่าพันธุ์
บีเบอร์บาคเชื่อว่านักคณิตศาสตร์ยิวและนักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศสมีแนวโน้มที่จะเอียงไปหานามธรรม
แทนที่จะฝักใฝ่สัจธรรมในโลกความเป็นจริงจับต้องได้รอบตัวคณิตศาสตร์นาซีเรียกร้องให้มีมิตที่จับต้องไ
ด้ วาดภาพได้ง่ายชัดเจนหากกล่าวถึงคณิตศาสตร์บริสุทธิ์
“โลกความเป็นจริงของคณิตศาสตร์เยอรมัน”เขียนโดยเพื่อนนักคณิตศาสตร์วิญญาณนาซี, แอร์ฮาร์ด
ทอร์เนียร์ ระบุว่า
ทุกทฤษฎีในคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ถือว่าน่าเชื่อถือถ้าตอบคาถามเรื่องวัตถุจับต้องได้อย่างจริงแท้
หลังจากนั้น บีเบอร์บาคได้มีโอกาสบรรยายในการประชุมสภาวิทยาศาสตร์ปรัสเซีย ว่า
”คณิตศาสตร์อาจจะประกอบไปด้วยความจริงไร้กาลเวลาหลายแง่มุม” เขาแสดงให้เห็นว่า
“งานวิจัยคณิตศาสตร์ถือได้ว่าเป็นการแสดงตัวตนของโฟล์คทรงพลังยิ่ง
อาจจะไม่เห็นชัดประจักษ์ต่อตาทันทีเหมือนผลงานศิลปะ
ทั้งนี้เพราะงานคณิตศาสตร์ไม่อาจเข้าใจได้ในทันทีที่พบเห็น”
ภาคที่สี่ : วิทยาศาสตร์แห่งการทาลายและป้ องกันประเทศ 1933-1943
บทที่17 เสาะหาการแตกตัวของอะตอม
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ น า ไ ป สู่ ร ะ เ บิ ด ป ร ม า ณู เ ป็ น ค รั้ ง แ ร ก
เริ่มต้นด้วยความตื่นเต้นโดยที่เหล่านักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายยังไม่ได้ตระหนักถึงสิ่งที่จะตามมาของงานวิ
จั ย ข อ ง พ ว ก เ ข า เ ห ล่ า นั้ น
ท่ามกลางไฟร้อนระอุเยอรมันก็เริ่มทาการเรียกตัวเหล่าวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์หลายๆสาขาให้กลับม
าที่ประเทศเพื่อให้เป็ นขุมกาลังในการทาสงครามซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ซิลลาร์ด โดยซิลลาร์ด
เขาเป็นเด็กหนุ่มที่อัจฉริยะระหว่างที่ยืนอยู่ที่สี่แยกนั้นเขาก็เกิดนิมิตเชิงวิทยาศาสตร์เขาเข้าใจในตอนนั้น
ถึงหนทางที่เป็นไปได้ในการปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกจากอะตอมมันจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปล
ง โฉ ม โลก ไป จน ไม่ เ ห ลือ เค้าเ ดิม ซึ่ง ค ว าม เ ป็ น ไป ได้ นั้น คือ ป ฏิ กิ ริย าลู ก โซ่
โดยนักวิทยาศาสตร์ทั้ง2ฝ่ายต่างมุ่งมั่นหาวิธีการในการทามันขึ้นมา
เพาล์ ฮาร์เทคได้เขียนจดหมายถึงหัวหน้าสานักวิจัย กรรมสรรพาวุธมีเนื้อความว่า
เราขอถือวิสาสะเรียนให้ท่านทราบถึงพัฒนาการใหม่ล่าสุดในแวดวงนิวเคลียร์ฟิสิกส์
จ า ก ค ว าม เ ห็ น ข อ ง เ ร า เชื่ อ มัน ว่ าเ ป็ น ไ ป ได้ ที่ จ ะ ผ ลิต อ า วุ ธ อ า น าจ รุ น แ ร ง
ทาลายล้างสูงยิ่งกว่าอาวุธทั้งมวลที่ใช้กันอยู่ ประเทศใดที่นาเรื่องนี้มาใช้งานได้ก่อนจะได้เปรียบชาติอื่นๆ
บทที่18 สงครามโลกครั้งที่2
เ ส้ น ท า ง สู่ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ 2 เ ริ่ ม ต้ น ตั้ ง แ ต่ ปี 1 9 3 5
เ มื่ อ ฮิ ต เ ล อ ร์ ไ ด้ ฉี ก ส น ธิ สั ญ ญ า แ ว ร์ ซ า ย ทิ้ ง แ ล ะ ติ ด อ า วุ ธ ให้ เ ย อ ร ม นี
ก่ อ น ที่ จ ะ จ ะ ส่ ง ก อ ง ก า ลั ง เ ข้ า ไ ป ใ น เ ข ต ป ล อ ด ท ห า ร ไ ร น์ แ ล น ด์
และฮิตเลอร์ได้ผนวกออสเตรียเข้ากับเยอรมนีและส่งทหารไปยึดส่วนหนึ่งของเชโกสโลวาเกียในฤดูใบไม้
ร่วงและต่อมาก็ได้ยึดเชโกสโลวาเกียส่วนที่เหลือแล้วท้ายที่สุด ฮิตเลอร์ก็ได้เป็นเจ้ายุโรป
ป ก ค ร อ ง ดิ น แ ด น ตั้ง แ ต่ เทื อ ก เข าพิ เ รนิ ส ไป จ น ถึง แ ห ล ม เ ห นื อ ข อ ง น อ ร์เ ว ย์
ทิ้งให้อังกฤษต้องต่อสู้กับนาซีอย่างโดดเดี่ยวจนตระหนักว่าจะต้องพึ่งพาเทคโนโลยีแทนกาลังพลและอาวุ
ธ ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาอาวุธใหม่ๆและอาวุธที่มีพลังอันมหาศาลขึ้นมาใช้ในการทาสงคราม
บทที่19 เครื่องจักรสงคราม
ในท่ามกลางสงครามอันตรึงเครียดนั้นบรรดาเหล่าวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ของแต่ละฝ่ายก็ระ
ดมสมองเพื่อที่จะผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยขึ้นมาใช้ในการทาสงครามเพื่อช่วงชิงการได้เปรียบและ
เพิ่มอัตราการช นะสงครามโดย ได้มีการผลิตสิ่งต่างๆดังนี้ ผลิตรถถังขึ้นมาแข่ งกัน ,
มี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ เ ร ด า ร์ , พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง บิ น ที่ ใ ช้ ทิ้ ง ร ะ เ บิ ด ,
สร้างเรือรบ,เรือดาน้าเพื่อช่วงชิงการเป็นเจ้าแห่งท้องทะเล, มีการผลิตเครื่องบินไอพ่นและสุดท้ายคือ
ขีปนาวุธอาวุธที่ทรงอานุภาพที่สุดขึ้นมาใช้ในการทาสงครามในครั้งนี้
บทที่20 เรดาร์
ในระหว่างสงครามได้มีบุคคลท่านหนึ่งกล่าวว่าเรดาร์จะเป็นตัวที่ชี้เป็นชี้ตายในการทาสงครามค
รั้งนี้โดยทางฝั่งของเยอรมนีได้ทาการวิจัยเรื่องนี้ขึ้นเป็นประเทศแรกแต่ก็เกิดปัญหาขึ้นทาให้นักวิทยาศา
สตร์ฝั่งเยอรมนียอมแพ้กับปัญหาที่พบแต่กลับกันทางฝั่งอังกฤษไม่ยอมแพ้และคิดหาวิธีแก้ไขของผิดพล
าดต่างๆจนสุดท้ายอังกฤษก็ผลิตเรดาร์ขึ้นมาสาเร็จและเจ้าเรดาร์ตัวนี้ก็ช่วยให้อังกฤษรอดจากการโจมตี
อันรวดเร็วของเยอรมนีได้และก็เป็นตัวช่วยให้อังกฤษเอาชนะเยอรมนีเช่นกัน
บทที่21 รหัสลับ
รหั สลับ ก็เป็ นอีกตัว ห นึ่ง ที่ ชี้ทิ ศ ท าง ข องสง ค รามดังค ากล่าว ข องซุ นวู ที่ ว่ า
“รู้ เ ข า รู้ เ ร า ร บ ร้ อ ย ค รั้ ง ช น ะ ร้ อ ย ค รั้ ง ”
เรื่องรหัสลับทางเยอรมนีมีความเชี่ยวชาญและชานาญกว่าประเทศอื่นๆซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของทางฝั่งน
าซีแต่ด้วยความที่คิดว่าไม่มีใครสามารถถอดรหัสลับที่ตัวเองสร้างขึ้นมาได้ก็ได้ย้อนกลับมาทาร้ายตัวเอง
ในภายหลังเนื่องจากเกิดการหักหลังกันเองในองค์กรจนสุดท้ายฝ่ายอังกฤษก็สามารถสร้างเครื่องถอดรหั
สของเยอรมนีได้สาเร็จโดยระหว่างการแข่งขันช่วงชิงการถอดรหัสของแต่ละฝ่ายก็เกิดการประดิษฐ์คอม
พิวเตอร์เครื่องแรกขึ้นมาและแข่งขั้นกันพัฒนาจนเป็นคอมพิวเตอร์อย่างเช่นในปัจจุบันนี้โดยสมัยนั้นเรีย
กสิ่งนี้ว่า เครื่องอีนิกมา, ไทเป็กซ์และเทคโนโลยีไอบีเอ็ม
ภาคที่ห้า : วิทยาศาสตร์แห่งการทาลายและป้ องกันประเทศ 1941-1945
ตัวละครหลัก
1. แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก :
กาลังศึกษาการแผ่รังสีกลางอาวกาศและรับหน้าที่บรรยายฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในประเทศที่นาซียึ
ดได้
2. นีลส์ โบห์ร : นักวิจัยชาวเดนมาร์ก เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ถูกยกย่องว่ามีคุณธรรมสูงส่ง
และเป็นผู้อานวยการสถาบันวิจัยนีลส์ โบห์ร
3. อัลแบร์ต สเปเออร์ : สถาปนิกหนุ่มผู้มากความสามารถ
เขาได้รับแต่งตั้งในตาแหน่งรัฐมนตรียุทโธปกรณ์และบริหารเศรษฐกิจของนาซี
4. แซมมวล กาวด์สมิต : หัวหน้าหน่วย Alsos
บุกเข้าจับตัวไฮเซนแบร์กและทาลายสถาบันวิจัยของเขา
บทที่ 22 : โคเปนเฮเกน
 ไฮเซนแบร์กเดินทางไปบรรยายฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่โคเปนเฮเกนประเทศเดนมาร์ก
 นีลส์ โบห์ร และไฮเซนแบร์กได้สนทนากันถึงเรื่องการสร้างระเบิดปรมาณู
แต่โบห์รไม่เห็นด้วยและรู้สึกอึดอัดที่ไฮเซนแบร์กพยายามดึงเขาเข้าไปพัวพันกับนาซี
 โบห์รและไฮเซนแบร์กเขียนจดหมายตอบโต้ตอบกันหลังจากจบกการบรรยายครั้งนั้น
และยังมีจดหมายที่โบห์รเขียนแล้วไม่ได้ส่งไปให้ไฮเซนแบร์กอ่าน
เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นความอึดอัดใจของโบห์รที่อาจจะเข้าใจไฮเซนแบร์กผิดและนาเสนอเรื่องนี้ให้
ฝ่ายสัมพันธมิตร
 ความสัมพันธ์ที่เริ่มมืดมนของ นีลส์ โบห์ร กับ
ไฮเซนแบร์กหลังจากที่สถาบันของโบห์รถูกยึดโดยเยอรมัน
 การเสาะหามโนธรรมในตัวของไฮเซนแบร์ก แท้จริงแล้วเขาเป็นคนยังไงยังไม่มีใครทราบแน่ชัด
มีนักประวัติศาสตร์ออกมาวิเคราะห์การกระทาของเขาเป็นจานวนมาก
 มาร์ก วอกเกอร์ นักประวัติศาสตร์
ได้ออกมาสรุปว่าการสร้างระเบิดปรมาณูของเยอรมันนั้นเป็นเพียงนิทานปรัมปราดังเช่นบทสนท
นาของนีลส์ โบห์รและไฮเซนแบร์ก
บทที่ 23 : สเปเออร์กับไฮเซนแบร์ก
 หลังจากมีการพัฒนาระเบิดปรมาณูจากผลการทดลองของ ฟริช ไพแอร์ลส์ในอังกฤษ
ฝ่ายสัมพัทธมิตรก็พัฒนาไปได้ไกลกว่าเยอรมัน
 สเปเออร์สถาปนิกหนุ่มได้รับตาแหน่งรัฐมนตรียุทโธปกรณ์หลังจากผู้กุมตาแหน่งคนก่อนถูกฆาต
กรรม
 สเปเออร์ได้รายงานความคืบหน้าของโครงการพัฒนาระเบิดของไฮเซนแบร์กต่อฮิตเลอร์
ฮิตเลอร์จึงตัดงบประมาณการวิจัยระเบิดปรมาณูออกไปและไปทุ่มเทให้กับกองกาลังทางอากาศ
แทรตามคาแนะนาของสเปเออร์
 ไฮเซนแบร์กยังคงมุ่งหน้าทาหน้าที่ต่อไปแต่ไม่ได้จดจ่ออยู่กับการพัฒนาระเบิดปรมาณู
สเปเออร์ได้เสนอทุนสนับสนุนงานวิจัยของเขา แต่ไฮเซนแบร์กปฏิเสธ
 ส เ ป เ อ อ ร์ เ ป็ น ค น ห ล ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ม า ก
เข า ส าม า รถ บ ริห ารจัด ก าร ค น แ ล ะ คิด จ ะ ส ร้าง ก าร ค้า เส รีใน ต ล า ด ขึ้ น
จึงดึงแรงงานและช่างฝีมือกลับ มาจากสงคราม รวมถึงนาสตรีเข้ามาทางานฝีมือ
เมื่ อ สเ ป เอ อ ร์ม อ ง เห็ น เค้าล าง แ ห่ ง ค ว าม พ่ าย แ พ้ข อ ง ส ง ค ราม ใน ค รั้ง นี้
เขาจึงรีบสร้างอานาจให้กับตัวเองโดยไม่บอกให้คนงานเหล่านั้นทราบถึงผลการกระทาที่จะตาม
มา
 สเป เออร์ได้ขยายอานาจออกไปควบคุมฐานเศรษฐกิจต่างๆระหว่างสงครามนาซี
แต่ไม่มีผู้ใดร่วงรู้ถึงการใช้แรงงานทาสอย่างโหดเหี้ยมภายใต้คาสั่งของเขา
 ไ ฮ เ ซ น แ บ ร์ ก ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที่ ฮ า ร์ น า ร์ ค เ ฮ า ส์
ในการประชุมครั้งนี้มีสเปเออร์รวมอยู่ด้วยและเขาได้สอบถามถึงงบประมาณในการสร้างระเบิดป
รมาณูกับไฮเซนแบร์ก แต่ไฮเซนแบร์กได้ขอมากเกินความจาเป็นจึงทาให้เขาหงุดหงิด
 สเปเออร์ได้พิจารณาจากผลงานการพัฒนาระเบิดปรมาณูของไฮเซนแบร์กแล้วคงไม่มีบทบาทใน
การทาสงครามในครั้งนี้ โครงการวิจัยของไฮเซนแบร์กจึงปิดตัวลง
 เตาปฏิกรณ์ของไฮเซนแบร์กเกิดการระเบิดและประจวบเหมาะกับการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธ
มิตรทาให้โครงการของเขาสะดุดเป็นระยะๆ
 ไฮเซนแบร์กได้เป็นอาจารย์มหาลัยเบอร์ลินและผอ.สถาบันไกเซอร์ วิลเฮล์มสาขาฟิสิกส์
และยังคงหิวกระหายเกียรติยศชื่อเสียงอย่างไม่จบสิ้น
 ไฮเซนแบร์กได้เดินทางไปเยือนฮอลแลนด์และมีการยื่นผลประโยชน์ให้กับนักวิทยาศาสตร์และส
ถาบันวิจัย ต่าง ๆแม้ว่ าจะมีค นตาย มากมาย ก็ตาม(ส่ว นให ญ่ เป็ น นักศึกษา)
มีคนออกมาประณามการกระทาของไฮเซนแบร์กว่าพยายามขยายระบอบนาซี
 ไฮเซนแบร์กเยือนโป รแลนด์ และได้รู้จักกับ ฮันส์ ฟรางค์เป็ นการส่วนตัว ฮันส์
ฟ ร า ง ค์ เ ป็ น ค ว า ม ชิ ง ชั ง ข อ ง ค น โ ป ร แ ล น ด์
เขานาคนยิวไปเข้าเตาเผาในค่ายมรณะเทรบลิงกาสร้างความเคียดแค้นให้กับคนยิวในโปรแลนด์
เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก ไ ฮ เ ซ น แ บ ร์ ก ท ร า บ เ รื่ อ ง นี้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
แต่เขายังคงเมินเฉยปิดหูปิดตากับการกระทาของเพื่อนเก่าและยังเต็มใจเดินทางไปคราคอฟเพื่อ
เชิดชูวัฒนธรรมเยอรมัน
บทที่ 24 : ไฮเกอร์โลคกับลอสอะลามอส
 ไฮเซนแบร์กได้ย้ายสถาบันวิจัยไปที่ไฮเกอร์โลคหลังจากสหรัฐฯและอังกฤษทิ้งระเบิดสร้างความเ
สียหายให้กับห้องวิจัยของเขา
 ไฮเซนแบร์กตกเป็นเป้าสังหารของนายพลโกรฟส์ หัวหน้าโครงการแมนฮัตตันของสหรัฐฯ
 นายพลโกรฟส์ได้ส่งสายลับและมือสังหารไปฆ่าไฮเซนแบร์กในการบรรยายสาขาฟิสิกส์ที่สวิตเซ
อร์แลนด์ โดยมีมอริส เบิร์กเป็นมมือลอบสังหารในภารกิจครั้งนี้แต่ไม่สาเร็จ
 ฝ่ายอเมริกาไม่ทราบรายละเอียดอย่างแน่ชัดของการพัฒนาระเบิดปรมาณูของเยอรมันเพราะใน
รายงานของสายลับบอกว่าไฮเซนแบร์กได้ยอมรับความพ่ายแพ้ต่อสงครามครั้งนี้และมีความฝักใ
ฝ่ที่จะวิจารณ์หลังสงครามเสร็จสิ้นมากกว่า
 การบุกภาคพื้นยุโรปของอเมริกาและอังกฤษได้ส่งหน่วย อัลซอส โดยมีหัวหน้าคือ แซมมวล
กาวด์สมิต ซึ่งรู้จักกับไฮเซนแบร์กเป็นการส่วนตัว
 นักวิทยาศาสตร์จานวนมากถูกจับตัวและได้ให้การเกี่ยวกับการสร้างระเบิดปรมาณูของเยอรมัน
 หน่วยอัลซอสของอเมริกาบุกเข้าทาลายสถาบันวิจัยของไฮเซนแบร์ก
 หลังจากนั้นไม่นานไฮเซนแบร์กก็ถูกจับกุมและนาไปคุมตัวร่วมกับนักวิทยาศาตร์เยอรมันคนอื่น
ๆ ที่กองบัญชาการใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตรในยุโรป
ภาคที่หก : วิทยาศาสตร์ในนรก 1942-1945
บทที่ 25: แรงงานทาสที่โดรา
สงค รามโลกค รั้งที่ 2 ส่งผลให้เย อรมนีเกิดการขาดแคลนแรงงานโรงงานอุตสาห กรรม
จึ ง ท า ใ ห้ เ ย อ ร ม นี ต้ อ ง ใ ช้ แ ร ง ง า น ต่ า ง ช า ติ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
ต่อมารูดอล์ฟได้สั่งนักโทษจากค่ายกักกันมาทางานที่เพเนอมุนเดอ ซึ่งเป็นโรงงานผลิตจรวด
ใ น เ ว ล า ต่ อ ม า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ ทิ้ ง ร ะ เ บิ ด ที่ เ พ เ น อ มุ น เ ด อ
ท าให้ ที่ พัก อาศัย เกื อบ ทั้ง ห มด ท าง ด้าน ตะวันออก ข อง เพ เนอมุ นเดอถู กท าลาย
หลังจากนั้นเยอรมนีได้ย้ายโรงงานไปยังฐานทัพลับที่อยู่ในใต้ดิน และปรับปรุงที่พักอาศัยของคนงาน
ซึ่งเรียกว่าชุมชนโดรา
บทที่ 26 ‘วิทยาศาสตร์’ แห่งการล้างเผ่าพันธุ์ และการนามนุษย์มาทดลอง
การผนึกกาลัง กันระห ว่ างสานักงานการรุณ ย ฆ าตกับ วิท ย าศ าสตร์ (โลกวิช าการ)
ซึ่งสานักงานการรุณยฆาตจะทาการคัดเลือกเหยื่อเพื่อกาจัดทิ้งในห้องรมแก๊สที่สร้างขึ้ นมา
ให้ เ ห มื อน โรง อา บ น้ า ซึ่ง เ ป็ น รู ป แ บ บ ที่ จะ น าไป ใช้ กั บ โร ง ง าน ใน ค่ าย ม รณ ะ
บางครั้งก็นาสมองคนจากศูนย์การรุณยฆาตที่บรานเดินบูรก์ ไปยังสานักงาน
เทคโนโลยีสังหารและการกาจัดศพ
เยอรมนีใช้เทคโนโลยีในการกาจัดศพโดยใช้เตาเผาที่มีระบบซับซ้อน ประหยัดพลังงาน
โดยนาเอาความร้อนจากห้องเผาไหลเวียนกลับมาป้อนรางเผา แต่มีปัญหาของเครื่อง
คือต้นทุนสูงและขนาดใหญ่ จึงทาให้วิศวกรเยอรมนีต้องออกแบบระบบใหม่ของเทคโนโลยีเผาศพ
โดยใช้แรงอัดอากาศเย็นฉีดพ่นเข้าไปในเตา ลดเชื้อเพลิง เร่งความเร็วในการเผา
การทดลองโดยใช้มนุษย์ นักวิทยาศาสตร์นาซีได้ใช้ประโยชน์จากนักโทษในค่ายกักกัน
เพื่อนามนุษย์มาทดลอง ซึ่งการทดลองมีหลายแบบ
 การทดลองไวรัสตับอักเสบโดยใช้เด็กชาวยิว ให้อดอาหารและทาการสังเกตการณ์บันทึกผล
 นานักโทษมาดื่มน้าเค็ม เพื่อวัดความทดทานว่ามนุษย์ดื่มน้าเค็มได้นานแค่ไหน
 นานักโทษจับเข้าห้องปรับความดันอากาศ
 นานักโทษไปรับแก๊สพิษหรือนาเชื้อโรคมาเพาะในตัวเพื่อหาทางบาบัดรักษา
 ฉีดสารย้อมเข้าไปในดวงตาของบุรุษ สตรี และเด็ก
 ให้นักโทษถูกยิงด้วยกระสุนอาบยาพิษ และสังเกตการณ์จดบันทึกว่ายาพิษออกฤทธิ์เร็วแค่ไหน
บทที่ 27 นักเคมีของปีศาจ
ในศตวรรษที่ 19 เยอรมนีมีการขยายตัวทั้งทางอุตสาหกรรมการทหาร มีแหล่งถ่านหินไม่จากัด
ซึ่ง ใช้ เ ป็ น แ ห ล่ ง พ ลัง ง า น ส า ห รับ เ ค รื่ อ ง จัก ร ไอ น้ า เ มื่ อ ถึ ง ศ ต ว รร ษ ที่ 2 0
ซึ่งเป็นยุคของน้ามันเบนซินและเครื่องยนต์ดีเซล ทาให้เยอรมนีเสียเปรียบทางเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
เ พ ร า ะ ไ ม่ มี บ่ อ น้ า มั น
จึงมีการกระตุ้นนักวิทยาศาสตร์เยอรมันให้มีการวิจัยจนได้น้ามันปิโตรเลียมสังเคราะห์ ในเวลาต่อมา อีเก
ฟาร์เบน ได้ตัดสินใจสร้างโรงงานผลิตยางสังเคราะห์ แต่เกิดปัญหาภาวะขาดแคลนแรงงาน
จึงต้องมีการจ้างแรงงานต่างชาติ
บทที่ 28: อาวุธมหัศจรรย์
ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้วงการวิทยาศาสตร์คิดค้นอาวุธใหม่ เพื่อใช้ในการทาสงคราม ซึ่งมีทั้ง
เค รื่ อ ง บิ น พั น ธุ์ให ม่ มี ลัก ษ ณ ะค ล้าย จ าน บิ น , เค รื่อ ง จัก รต้ าน แ รง โน้ ม ถ่ ว ง ,
อุปกรณ์ที่จะทาลายระบบอิเล็กทรอนิกส์บนเครื่องบินศัตรู, กังหันออกซิเจน สาหรับเรือดาน้า
และปืนวิเศษ ที่ยิงไม่ออกเป็นวิถีเส้นตรง นอกจากนี้เยอรมนีได้พัฒนา
 เทคโนโลยีจรวดและเครื่องยนต์ไอพ่น
 เครื่องบินขับไล่ของประชาชน
 เครื่องบินพุ่งชน
 ระเบิดสกปรก (มีขนาดเท่าผลฟักทองขนาดเล็ก มีระเบิดยูเรเนียมขนาดเล็กหลายลูก
ล้อมด้วยระเบิดธรรมดา)
 แก็สพิษของฮิตเลอร์
ภาคที่เจ็ด : ใต้เงาของฮิตเลอร์
บทที่ 29 ฟาร์มฮอลล์
หลังจากที่ฮิตเลอร์ยิงตัวตาย พร้อมกับภรรย า ค รองอานาจได้สองปี สามเดือน
ม ห า อ า ณ า จั ก ร ไ ร ชื ที่ 3
ยอมแพ้อย่างเป็นทางการในสัปดาห์ถัดมาและสงคราสิ้นสุดอย่างเป็นทางการในสมรภูมิยุโรป
เย อ ร ม นี ยั บ เ ยิ น ช า ว เ ย อ ร มั น ห ล า ย ค น ไร้ที่ อ ยู่ อ า ศั ย อ ด อ ย า ก หิ ว โ ห ย
เดินร่อนเร่ไปทั่วประเทศคล้ายผู้ลี้ภัย สองเดือนหลังจากนั้นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชั้นยอดสิบคน
เ ดิ น ท า ง ม า ถึ ง ค ฤ ห า ส น์ ใ ก ล้ แ ม่ น้ า อู ซ ( ฟ า ร์ ม ฮ อ ล ล์ )
ทุกห้องในคฤหาสน์ติดตั้งอุปกรณ์ดักฟังเตรียมพร้อมรับการกลับมาของคณะนักวิทยาศาสตร์
นั ก ฟิ สิก ส์ระ ดับ สุ ด ย อด ข อ ง เ ย อ รม นี อ ยู่ ใน ห้ ว ง ล อ ย ไม่ รู้ช ะต าก ร รม ข อ ง ต น
พูดคุยกันดดยไม่รู้ว่ามีเครื่องดักฟัง ตลอดหกเดือน นักฟิสิกส์ทั้งสิบถูกกักซ่อนตัวจากโลกภายนอก
พวกเขามีหนังสือพิมพ์ให้อ่าน มีการฟังวิทยุยามเย็น หลังจากนั้นจะเล่นไพ่กันจนถึงเที่ยงคืน
โ ด ย มี เ ช ล ย ศึ ก เ ย อ ร มั น เ ป็ น ค น รั บ ใ ช้
เทปดักฟังถอดเนื้อหาออกมาเผยให้เห็นว่านักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้ไม่มีมโนธรรมประจาใจตาหนิตนเองเล
ย พ ร้อ ม จ ะ ย ก โ ท ษ ให้ อ ภั ย ต น เ อ ง จ า ก ก า ร ท า ง า น รั บ ใช้ ร ะ บ อ บ น า ซี
ไม่ ได้ ม อ ง ต น เ อ ง ว่ า เ ป็ น นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์น า ซี ใน วั น ที่ 6 สิ ง ห าค ม 1945
ข่ าว ที่ อเม ริก าแ ละ อัง ก ฤ ษ ทิ้ ง ระ เบิ ด ป รมาณู ล ง ในญี่ ปุ่ น มีผู้เสีย ชี วิต ห ลาย ค น
ส่ ง ผ ล ใ ห้ นั ก ฟิ สิ ก ส์ เ ย อ ร มั น ทั้ ง สิ บ ค น ต้ อ ง ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย
ไว ซ์ เซ ค เก อ ร์เห็ น ว่ าเ ล ว ร้า ย เ ห ลือ เกิ น ที่ ค น อ เม ริกั น ส ร้า ง ร ะ เบิ ด ป ร ม า ณู
น่ า จ ะ เ ป็ น ค ว า ม บ้ า เ สี ย ส ติ ข อ ง ค น อ เ ม ริ ก า
คาถามของฮาห์นแสดงให้เห็นว่านักวิทยาศาสตร์เยอรมันเคยอภิปรายกันเรื่องการสร้างระเบิดปรมาณู
แ ต่ ใ น ภ า ย ห ลั ง พ ว ก เ ข า ป ฏิ เ ส ธ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง นี้
เป็ นสิ่งที่นักฟิสิกส์หว นกลับ ไป อภิป รายกันเรื่องเชิงศีลธรรมในการใช้ระเบิดป รมาณู
ซึ่ง ดู เห มือ น เป็ น เรื่อง ขั ด แย้ ง กั น ใน ตัว เอ ง สาห รับ นั ก นิ ว เค ลีย ร์ฟิ สิก ส์เย อ รมัน
ที่เชื่อฟังเสียงกระซิบของมโนธรรม และพยายามที่จะขัดขวางไม่ให้สร้างระเบิดปรมาณู
ในขณะที่เพื่อนร่วมอาชีพทุ่มเทพลังความสามารถที่จะสร้างระเบิดปรมาณู
บทที่ 30 วีรบุรุษ ผู้ร้ายหรือผู้ร่วมขบวนแห่
หลังสิ้นสุดสงครามโลกค รั้งที่ 2 การกักขังคุมตัว สร้างค วามกดดันเชิงจิตวิทย า
ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว า ม เค รีย ด ระ ห ว่ า ง บุ ค ค ล แ ล ะ ค ว าม ห ม าง ใจ ที่ เพิ่ ม ที ล ะ น้ อ ย
นัก วิท ย าศ าส ตร์ทั้ง สิบ ค น เค ย ท าง าน ภ าย ใต้ระบ อ บ การป กค รอง ข อง ฮิ ตเลอ ร์
แต่ไม่ มีผู้ใดยื ดอก รับ ค ว ามรับ ผิดช อบ เชิ ง ศีลธรรมสาห รับ การใช้ระบ อ บ น าซี
นอก จาก ฮ าห์ น และเลาเออแล้ว มีเพีย ง การแสว งห าค ว ามช อบ ธรรม ให้ ตัว เอ ง
และการรักษาชีวิตให้รอดหลังสงคราม ซึ่งแสดงให้เห็นเรื่องราวเหี้ยมโหดของระบอบนาซี
มุมมองของวอร์กเกอร์วางอยู่บนรากฐานของการแบ่งนักวิท ยาศาสตร์เป็นสองกลุ่มให ญ่
กลุ่มแรกอ้าแขนรับลัทธินาซี กลุ่มสองเอาตัวออกห่างจากลัทธินาซีทั้งในทางศีลธรรมและการเมือง
จ า ก จ ด ห ม า ย ข อ ง ไม ต์ เ น อ ร์ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ที่ ท า ง า น ใต้ ร ะ บ อ บ น า ซี
จ บ ล ง ด้ ว ย ค ว า ม เ ศ ร้ า เ สี ย ใ จ แ ล ะ ก า ร ต า ห นิ ต น เ อ ง
โดย ช ะตากรรมนักวิท ย าศ าสตร์ข อง ฮิตเลอร์ห ลังสงค รามต่าง แตกต่างกับ ออกไป
บางคนก็ทางานให้องค์กรในเยอรมัน บางคนก็บาดหมางใจกันจนคืนดีกันไม่ได้
บทที่ 31 การปล้นสมบัติทางวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการแข่งกันปล้นทรัพย์ทางวิทยาศาสตร์ในระหว่างสงครามของฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษประกาศว่า การแย่งชิงแปลนและผลงานวิจัยพัฒนาอาวุธเยอรมัน เป็นเรื่องสาคัญที่สุด
ต้อ ง ท า ให้ ทั น ท่ ว ง ที ข น ถ่ าย นั ก วิ ท ย าศ าส ต ร์จาก เย อ รม นี ม ายั ง ป ร ะเท ศ เร า
เ พื่ อ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง อั ง ก ฤ ษ
ในขณะที่รัสเซียและฝรั่งเศสกระทาเช่นเดียวกัน รัสเซียถอดโรงงานทั้งโรงออกเป็ นชิ้นๆ
ส่งกลับไปประกอบที่ประเทศของตนพร้อมด้วยคนงาน อังกฤษและอเมริกาก็ทาเช่นเดียวกัน
ในระยะแรกอเมริกาให้นักวิทยาศาสตร์เยอรมันอาศัยอยู่ในโรงเรือนค่ายทหารได้อาหารอิ่มหมีพีมัน
ได้เงินเดือน สิทธิพิเศษ และเสรีภาพขอบเขต ส่วนในสหภาพโซเวียตไม่ได้ดีไปกว่าอังกฤษและอเมริกา
บ า ง เ ล ว ร้ า ย ยิ่ ง ก ว่ า
มีการประมาณการว่านักวิทยาศาสตร์และวิศวกรเยอรมันถูกกวาดต้อนไปสหภาพโซเวียต ราว 6000-
100000 ค น ถู ก ส่ ง ไป อ ยู่ ที่ เ ก า ะ โ ก โล ด อ ม เ ลี ย ก ล า ง ท ะ เ ล ส า บ เ ซ ลิ เ ก อ ร์ ซี
ในช่วงนั้นนักวิทยาศาสตร์ต้องทางาน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หากไปทางานสายจะถูกปรับ
นันทนาการจะเป็นการเล่นแฮนด์บอลและเทนนิส
ภาคที่แปด: วิทยาศาสตร์จากสงครามเย็นสู่สงครามต่อต้านก่อการร้าย
บทที่ 32 ทัศนะนิวเคลียร์
ผู้ ร่ ว ม เ ส ว น า ไ ป ยั ง ฟ า ร์ ม ฮ อ ล ล์ ที่
มีการโต้แย้งกันถึงการสร้างระเบิดป รมาณู ลูกแรกข องโลกข องอังกฤษและอเมริกัน
มีผู้สนับสนุนว่าการใช้ระบิดปรมาณูย่นเวลาทาสงคราม และมีคนเสียชีวิตน้อยกว่าการใช้อาวุธธรรมดา
ผู้โต้แ ย้ ง ว่ าก ารใช้ ระ เบิ ด ป รม า ณู จ ะ น าไป สู่ ก าร ใช้ ระ เบิ ด ที่ ร้า ย แ รง ม าก ขึ้ น
นักวิท ศาสตร์ที่ลอสอะลามอสป้ องกันไม่ให้ฮิตเลอร์มีระเบิดปรมาณู ธันวาค มปี 194 4
พ บ ว่ าฮิ ต เลอ ร์ไม่ มีระเบิ ด ใน ปี 1 9 4 9 รัสเซีย ท ด สอ บ ระเบิ ด ป รม าณู ลู ก แร ก
สหรัฐเริ่มงานวิจัยระเบิดไฮโดรเจนในปี 1947 และทดลองระเบิดครั้งแรก 1 พฤศจิกายน 1952
ซาก ารอฟ ถูก สั่ง ให้ท าง าน ที่ “อินสตอลเลชัน” ศู นย์พัฒ น าอาวุ ธ นิว เค ลีย ร์รัสเซีย
ต่ อ ม า โ ซ เ วี ย ต พั ฒ น า อ า วุ ธ นิ ว เ ค ลี ย ร์ เ ชิ ง ยุ ท ธ วิ ธี ไ ด้ ส า เ ร็ จ
อ เ ม ริ กั น พั ฒ น า จ น ปื น ธ ร ร ม ด า ใ ช้ ไ ด้ แ ต่ โ ซ เ วี ย ต ก็ ต า ม ส า เ ร็ จ
จากวิกฤตขีปนาวุธทาให้โลกเลี่ยงการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 3 โดยบังเอิญ รัสเซียมีหัวรบนิวเคลียร์กว่า
6 , 0 0 0 ลู ก แ ต่ เ สื่ อ ม ส ล า ย ล ง เ พ ร า ะ ข า ด ง บ บ า รุ ง รั ก ษ า
สหภาพโซเวียตสร้างโรงไฟฟ้พลังงานนิวเคลียร์แห่งแรกที่เมืองโอมินสก์ ในปี 1954 ต่อมาสองปี
อังกฤษก็สร้างที่วินด์สเกลในคัมเบอร์แลนด์ ในปี 1957 เตาปฏิกรณ์ชิปปิงพอร์ตในมลรัฐเพนซิลเวเนีย
สหรัฐอเมริกาเริ่มเดินเครื่อง กลางทศวรรษ 1970 มีโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 514 แห่งทั่วโลก
บทที่ 33 เฉพาะนาซีเท่านั้นหรือ?
ระบอบนาซีปั้นแต่งและส่งเสริมวิทยาสาสตร์เก๊หยามเหยียดเชื้อชาติ นาไปสู้ค่ายมรณะ
ซึ่ ง ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ผ ล ง า น ค รั้ง ห นึ่ ง เ ดี ย ว ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ม นุ ษ ย ช า ติ
เรียกได้เต็มปากว่าเป็นผลงานวิทยาศาสตร์นาซี การนามนุษย์มาทดลองโดยไม่ได้รับความยินยอม
ซึ่ ง ไ ต่ ถึ ง ร ะ ดั บ น่ า ส ย ด ส ย อ ง เ หี้ ย ม โ ห ด ผิ ด ม นุ ษ ย์ ใ น มื อ ข อ ง น า ซี
ใช่ว่าจะเกิดขึ้นครั้งแรกและที่เดียวในค่ายมรณะ ในช่วงสงครามญี่ปุ่นสร้างค่ายกักกันในประเทศต่าง ๆ
มีที ม วิจัย นาม นุ ษ ย์ ห ลาย พัน ค น ม าท ด ลอง เชื้ อโรค ร้าย แรง และย าพิษ สารเค มี
การใช้แรงงานทาสจนล้มตายเป็นใบไม้ร่วงเกิดขึ้นในสหภาพโซเวียต การขุดคลองบอลติก-ทะเลขาว
ใ ช้ แ ร ง ง า น นั ก โ ท ษ ล้ ม ต า ย ไ ป ก ว่ า 1 5 0 , 0 0 0 ค น
ความเชื่ อมโยงกับ การใช้แรงงานท าสนาซียังค งดาเนินต่อไป แม้สงครามจะสิ้นสุดลง
ก า ร ก ร ะ ท า ท า รุ ณ ต่ อ แ ร ง ง า น ท า ส ใ น ยุ ค น า ซี รุ่ ง เ รื อ ง
แฉให้เห็นความลี้ลับที่ว่าปาฏิหาริย์ทางเศรษฐกิจของเยอรมนี เกิดจากการใช้แรงงานทาสที่เรียกว่า
“ศูนย์ชั่วโมง” ในการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ของอังกฤษ บนเกาะของออสเตรเลีย จงใจให้ทหารได้รับรังสี
เพื่อบันทึกผลที่มีต่อร่างกาย ในโซเวียตมีการต้อยเฉลยศึก ไป กักขังบนเกาะแรงเกิล
เพื่ อ ท ด ล อ ง กั ม มัน ต รัง สีต่ อ ร่าง ก าย ม นุ ษ ย์ ก ารป รา ก ฏ ตัว ข อ ง ค อม พิ ว เต อ ร์
ช่ ว ย ใ ห้ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ส ร้ า ง แ บ บ จ า ล อ ง
ไปจนถึงการคานวณมหาศาลและวิเคราะห์ด้วยความเร็วสูง “โลกาภิวัตน์” ทาให้เศรษฐกิจไร้พรมแดน
เงิน เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และสินค้า เคลื่อนถึงกันอย่างไม่มีอะไรขวางกั้น จรรยาบรรณการโคลนนิ่ง
โครงการจีโนมมนุษย์ดาเนินไปท่ามกลางความขัดแย้งเรื่องสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญา
ในเวลาเดียว กันก็ป ลุกปัญ ห าคว ามเกี่ยว ข้องระห ว่างการวินิจฉัย โรค กับ พันธุศ าสตร์
และยังมีปัญหาเรื่องการโคลนนิ่งอีก
บทที่ 34 วิทยาศาสตร์ทาสงครามอีกครั้ง
ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล อ เ ม ริ ก า
วิท ย าศ าสต ร์แท บ ทุ กสาข ามรศักย ภ าพ ที่ จะใช้ เป็ น อาวุ ธใน สงค รามก่ อการร้าย
การโจมตีตึกเวิลด์เท รดจนถล่มราบ ตามด้วยการก่ อการร้ายด้วยเชื้อโรคแอนแทรกซ์
ส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อการบริหารจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐบาลสหรัฐและประเทศอื่น
ๆ ในโลกตะวันตก นักวิท ยาศ าสตร์อาจรู้สึกถึงผลกระท บ ภาระและค ว ามเสียห าย
เ ชื้ อ โ ร ค น า น า ป ร ะ เ ภ ท ถื อ ว่ า มี ห น ท า ง น า ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ส อ ง ท า ง
ทั้ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ อ า วุ ธ ก่ อ ก า ร ร้ า ย
วอชิงตันเชื่อว่าสงครามที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจะสู้รบโดยความเหนือชั้นเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข
องฝ่ายอเมริกา ไม่ว่าจะเป็นการสอดแนมข้อมูล ระเบิดอัจฉริยะ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
สงค รามสู้รบผ่านภาพจาลอง สงครามในโลกเสมือนจริงที่ท าลายล้างเป้ าหมาย ได้จริง
นักวิทยาศาสตร์ที่ดีจะไม่ยอมนามนุษย์มาใช้เป็นเหยื่อทดลองเพื่อเป็นเครื่องมือไปสู้ผลลัพธ์
หลักการดังกล่าวนับวันจะซับซ้อนเหมือนที่เราพบเห็นในวงการเทคโนโลยีชีวภาพและพันธุศาสตร์
“นักวิทยาศาสตร์เป็นมนุษย์เป็นอันดับแรก และเป็นนักวิทยาศาสตร์ในลาดับสอง” คนกลุ่มนี้จะสอดส่อง
ตรวจสอบ และส่งเสียงเตือนภัยให้สาธารณะชนได้ทราบ หากมีการฉกฉวยใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
ไปก่อภัยคุกคาม ไม่เพียงแต่ดินแดนอเมริกา หากแต่เป็นสังคมและผู้คนทุกหนแห่ง สิ่งแวดล้อม
สันติภาพ มนุษยชาติ และธรรมชาติโดยรวม
การสรุปการเชื่อมโยงเชิงจริยธรรม
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์

More Related Content

What's hot

ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตTongsamut vorasan
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีJutarat Piamrod
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
History prince thong
History prince thongHistory prince thong
History prince thongi_cavalry
 

What's hot (11)

ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
สส
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
History prince thong
History prince thongHistory prince thong
History prince thong
 

Viewers also liked

กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2freelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนfreelance
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือfreelance
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่freelance
 

Viewers also liked (11)

กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 

Similar to กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์

กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...freelance
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงfreelance
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาfreelance
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้าfreelance
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์tommy
 
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดfreelance
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตwunnasar
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundAtas Nama Cinta
 
ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ Picha Stm
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 

Similar to กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์ (20)

กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stround
 
ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์

  • 1. รายงานสรุปหนังสือ เรื่อง นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์ เสนอ อาจารย์ ศิรินันต์ สุวรรณโมลี รายวิชา จริยศาสตร์ในสังคมฐานวิทยาศาสตร์ (GEN 311) สมาชิก นาย ศุภกฤต อายุเจริญ รหัสนักศึกษา 54211828 นางสาว เกศลาวรรณ์ อุ่นเมือง รหัสนักศึกษา 54212135 นาย กัตติกร วรวงษ์วิวัฒน์ รหัสนักศึกษา 54212137 นาย พงษ์พิทักษ์ สุนทรานุยุตกิจ รหัสนักศึกษา 54212143 นางสาว ภัทราภรณ์ กินลา รหัสนักศึกษา 54212144 นาย วรสิทธิ์ วงษา รหัสนักศึกษา 54212146 นาย ธรรมธัช อภินันท์วิริยกุล รหัสนักศึกษา 54211220 นางสาว สิริวรรณ แสงวงศ์ รหัสนักศึกษา 54216621 นาย อธิคม ดาวเรือง รหัสนักศึกษา 54270350
  • 3. ภาคที่หนึ่ง : มรดกวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์ บทที่1. ฮิตเลอร์,นักวิทยาศาสตร์ ก า ร เป็ น ผู้ น า ที่ ไม่ เ ข้ า ใจ ใน เรื่ อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริง ข อ ง ฮิ ต เล อ ร์ ท าให้เข าไม่ สาม ารถ จัด การกั บ เท ค โนโลยีที่ เกิด ให ม่ อย่ างรว ดเร็ว ในสมัย นั้นได้ อีกทั้งการที่เขาเป็นคนที่ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว เชื่อในลางสังหรณ์ของตน ไม่สนโลกภายนอก จึงทาให้เกิดปัญหาต่างๆขึ้นมากมายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามเทคโนโลยี) เช่น… 1. ฮิตเลอร์ดื่มน้ายาล้างลากล้องปืน อันเป็นสารพิษร้ายแรง เพราะ เขาเชื่อว่าเป็นยาชั้นยอด ช่วยกล่อมท้องไส้ของเขาในสนามรบ ตอนสงครามโลกครั้งที่ 1 2. นา “การเหยียดเชื้อชาติ” มาเป็ นแก่นของรัฐนาซีเยอรมนี โดยฮิตเลอร์เชื่ อแนวคิด “การเมืองชีวะของสายเลือดบริสุทธิ์” จากทฤษฏีของผู้แต่งวรรณกรรมชาวฝรั่งเศส โดยไม่สนใจ “ทฤษฏีการถ่ายทอดลักษณะเชิงพันธุกรรม” ของเมนเดลเลย 3. ฮิตเลอร์ต้อต้านอาวุธสมัยใหม่ >> ปืนกลเบา เพราะ จะทาให้ทหารขี้ขลาด และไม่กล้าสู้ระยะประชิดตัว >> เครื่องบินไอพ่น เพราะ ความเร็วสูงทาให้การบังคับเครื่องต่อสู้กันบนฟ้าลาบาก บทที่2. เยอรมนี นครเมกกะ(ใหญ่)แห่งวิทยาศาสตร์ ในสมัยนั้นเยอรมนียืนอยู่แถวหน้าสุดของวงการวิท ยาศาสตร์ทุกแขนง จนมีคากล่าวว่า “เทคโนโลยีล้ายุคทุกอย่างมีแหล่งกาเนิดจากเยอรมนี ” แม้กระทั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่ ง เ ย อ ร มั น แ พ้ ค ร า ม แ ต่ ก ลั บ เ ป็ น “ ศ ต ว ร ร ษ ข อ ง เ ย อ ร ม นี ” เ พ ร า ะ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมนีกวาดรางวัลโนเบลไปครึ่งหนึ่งในสาขาวิทยาศาสตร์ เช่น ฟริตซ์ ฮาเบอร์จากผลงานสร้างแอมโมเนียจากธาตุพื้นฐาน หรือ อัลเบิร์ก ไอน์สไตน์ จากผลงานโฟโต้อิเล็กทริก (ก่อนที่เขาจะประกาศสละสัญชาติเยอรมนี) และคนอื่นๆอีกมากมาย มีอะไรในเยอรมนี? ระบบการศึกษา ประวัติศาสตร์ ห รือว่าลักษณ ะผู้คนในช าติ ที่ท าให้เยอรมนีโดดเด่นเป็ นที่ห นึ่ง และ และมีการศึกษาวิจัยค้นคว้าเรื่องต่างๆอย่างลึกซึ่งมากมาย บทที่3. ฟริตซ์ฮาแบอร์ ฟ ริ ต ซ์ ฮ า เ บ อ ร์ เ ป็ น นั ก เ ค มี ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ข อ ง เ ย อ ร ม นี แ ล ะ เ ป็ น ผู้ ที่ แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม โ ห ด ร้ า ย ข อ ง นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ โดยเขาเป็นผู้ที่ริเริ่มนาเอาเทคโนโลยีแก๊สพิษมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งฆ่าทหารให้ล้มตายไปกว่า 1.3 ล้านคน และเขาเป็นผู้นาทัพบุกเบิกเข้าไปในสนามรบและปล่อยแก๊สพิษด้วยตนเอง ตอ นส ง ค รามโลก ค รั้ง ที่ 1 เ ข าอ ายุ 4 6 ปี เข าได้พัฒ น าสารเค มีที่ ใช้ ท าระเบิ ด เ ข า ทุ่ ม เ ท ใ ห้ กั บ ศึ ก ส ง ค ร า ม ไ ม่ ต่ า ง จ า ก ท ห า ร ใ น ส น า ม ร บ อีกทั้งฮ าเบ อร์กับ เพื่อนนักวิทย าศาสตร์อีกประมาณ 100 ค น ลงชื่ อในป ระกาศฟุลดา ซึ่งเกี่ยวกับการปฏิเสธความรับผิดชอบของเยอรมนีในการทาสงครามและการกระทาทารุณโหดร้าย
  • 4. เมื่อถูกประกาศตีพิมพ์ไป แล้ว อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เพื่อนของฮ าเบ อร์ ไม่ร่วมลงชื่ อด้วย และยังไปลงชื่อต่อต้านโดยสนับสนุนให้เยอรมันวางตัวเป็นกลางและแสวงหาสันติในรูปแบบเอกภาพเยอ รมันแยกออกจากยุโรปแทน ใ น ข ณ ะ ที่ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ 1 ยั ง ด า เ นิ น ต่ อ ไ ป การป ระณ ามติเตีย นเย อรมันจากป ระเท ศ ต่างๆก็มีมากขึ้นด้วย และในระห ว่างนั้น ในระห ว่ างนั้นโครง การวิจัย อาวุ ธเคมีข องฮาเบ อร์ก็ให้ผลท าลายล้างสูงในสนามรบ โ ด ย ผ่ า น ใ น วั น เ ดี ย ว ส า ม า ร ถ ฆ่ า ท ห า ร ไ ป ไ ด้ ถึ ง 1 5 0 0 0 ค น ทาให้ชื่อเสียงของกองทัพเยอรมันและวิทยาศาสตร์เยอรมันมั่วหมองลงไปเรื่อยๆ บทที่4. นักวิทยาศาสตร์แก๊สพิษ สมัย สงค รามโลกค รั้งที่ 1 นั้น เย อรมันมองว่าแก๊สพิษเป็ นอาวุธสุดมหัศจรรย์ เพราะเยอรมนีอ้างว่า เทคโนโลยีอาวุธใหม่มีพลังอานาจที่จะช่วยชีวิตทหารไว้ได้ถ้าได้ชัยชนะรวดเร็ว อีกทั้งยัง เป็นฆ่าอย่างสูงส่งเพราะร่างกายไม่ฉีกขาดกระจุยกระจายเหมือนถูกกระสุนปืนใหญ่ยิง แต่แพทย์ฝ่ายตรงข้ามไม่ได้มองเช่นนั้น เพราะนอกจากเขาจะเห็นทหารที่เขารักษาตายอย่างทรมานแล้ว สัตว์ต่างๆที่อยู่บริเวณนั้นก็ล้มตายไปด้วย อีกทั้งแก๊สพิษรังแต่จะย้าความแค้นเคืองให้ศัตรู แ ล ะ ใ ช้ อ า วุ ธ รุ น แ ร ง ขึ้ น ท้ายที่สุดทั้งสองฝ่ายก็จะละเมิดสนธิสัญญาที่วางกรอบให้มนุษย์พึงปฏิบัติต่อกันในการสู้รบ หลังจากเย อรมันแพ้สงค รามโลกค รั้งที่ 1 ฮ าเบ อร์ได้ห นีไป อยู่ สวิตเซอร์แลนด์ แ ล ะ ถู ก เ รี ย ก ตั ว ก ลั บ ม า เ พื่ อ ฟื้ น ฟู ป ร ะ เ ท ศ ห ลั ง แ พ้ ส ง ค ร า ม แ ต่ เข า ก็ ยั ง ค้ น ค ว้ า วิ จั ย แ ก๊ ส พิ ษ ต่ อ โด ย ไม่ ส น ใจ ค า สั่ง ห้ า ม ใน ส น ธิ สัญ ญ า แล ะ ป่ าว ป ระ ก าศ ก า รใช้ แ ก๊ ส พิ ษ ว่ า ไม่ โห ด ร้าย ไป ก ว่ าก าร ใช้ อ าวุ ธ ธร รม ด า แ ล ะ สุ ด ท้ า ย ฮ า เ บ อ ร์ ก็ เ สี ย ชี วิ ต เ พ ร า ะ ค ว า ม ซึ ม เ ศ ร้ า เพราะความรู้สึกหลอกหลอนว่าตนเองทาผิดชั่วร้ายในชีวิตนี้ บทที่ 5 วิทยาศาสตร์ว่าด้วยอนามัยของเผ่าพันธุ์ ใ น ปี 1 9 0 0 เยอรมันได้เฉลิมฉลองศตวรรษใหม่ด้วยการประกวดบทความทางชีววิทยาชิงรางวัลก้อนโต เพื่อแสวงหาทฤษฏีวิวัฒนาการ เพื่อจะนาไปใช้ในทางการเมืองและสังคม และรางวัลชนะเลิศตกเป็นของ ฟรีดริช วิลเฮล์ม ชาลล์มาเยอร์ ในเรื่อง การปรับป รุงลักษณะท างพันธุกรรมของมนุษย์ ในยุคนี้วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งเดียวที่ใช้อธิบายสิ่งต่างๆ และเป็นเครื่องมือที่มีอานาจในการควบคุมสังคม เ ช่ น ใ น ช่ ว ง นั้ น ห นั ง สื อ Origin of species ข อ ง ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น บั่นทอนความขลังคาสอนของศาสนาคริสต์ ด้วยการประกาศว่า มนุษย์มีวิวัฒนาการมาหลายร้อยล้านปี ไม่ได้เริ่มวิวัฒนาการจากยุคของอดัม ซึ่งเกิดแค่เพียงไม่กี่สหัสวรรษที่ผ่านมา
  • 5. บทที่ 6 การปรับปรุงสายพันธุ์มนุษย์กับจิตเวชศาสตร์ ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ส า ย พั น ธุ์ ม นุ ษ ย์ นั้ น ใน ที่ นี้ ห ม า ย ถึ ง ก า ร คั ด เลื อ ก ส า ย พั น ธุ์ที่ ดี แ ล ะส่ ง ต่ อ ไป ยั ง รุ่ น ลู ก รุ่น ห ล า น ทาให้เกิดปัญ ห ามากมายในยุ คสมัยนั้น เช่น แสวงห าค นที่ฉลาดห รือคนชั้นสูงในสังค ม เ พื่ อ น า ม า ผ ส ม พั น ธุ์ กั น เ พื่ อ ใ ห้ ลู ก ห ล า น ส ติ ปั ญ ญ า ดี ห รื อ เ ส น อ น โ ย บ า ย ใ ห้ รั ฐ บ า ล ว่ า ใ ห้ มี ก า ร จั ด ง า น แ ต่ ง ง า น ฟ รี ถ้าคู่แต่ง งานผ่ านเกณ ฑวัดในเรื่องป รับ ป รุง สานพันธุ์มนุ ษย์ ซึ่งอุดมการณ์ข อง นาซี ก็ได้อิงมาจากลัทธิดาร์วินจอมปลอม รวมกับ นิยายปรัมปราสายเลือดอารยันสุดสูงส่ง สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลให้เกิดผู้ป่ วยมากมาย ทาให้ผู้ป่ วยไม่ไม่รับ การดูแล และล้ม ต าย ไป ม ากม าย อีก ทั้ง เกิ ด ปั ญ ห าวิ ก ฤต ด้าน เศ รษ ฐกิ จ แล ะ ก ารเมือ ง ท า ใ ห้ ถู ก ตั ด ง บ ใ น ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ไ ป แ ล ะมี ก าร เส น อ ว่ าให้ แ พ ท ย์ มี สิท ธิข าด ใน ก า รสั่ง ก าจัด ค ว าม ทุ ก ข์ ท รม า น และคว รกาจัดชีวิตที่เป็ นภาระข องสังค ม เพราะตอนนั้นท รัพ ยากรมีอยู่ อย่ างจากัด ไ ม่ ค ว ร น า ไ ป ใ ห้ ค น บ้ า ปั ญ ญ า อ่ อ น และการการุณยฆาตนี้ได้ถูกนามาใช้ในระบอบการปกครองของนาซีเพราะได้รับแรงหนุนจากญาติของผู้ ป่วยด้วย ภาคที่สอง : ฟิ สิกส์ยุกต์ใหม่ 1918-1933 บทที่ 7 ฟิ สิกส์หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 นักวิทยาศาสตร์สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผลงานเกิดขึ้นมากมาย เช่น รัตเทอร์ฟอร์ด ที่คิดค้น “ไฮโดรโฟน” เครื่องตรวจจับความเคลื่อนไหวในน้า ซึ่งคลื่นเสียงที่ใช้ในการตรวจจับมีชื่อว่า โซน่าร์ และ แม็กซ์ พลังค์ ที่ค้นพบการแผ่รังสี เป็นเพียงกระจุกพลังงานจานวนน้อยนิด ที่เรียกว่า ค วอนตา แต่พ ลัง ค์ไม่สามารถอธิบ าย ในข้อสันนิฐานข องเข าได้ เข าบ อกได้แค่ว่ า ค ลื่ น แ ส ง แ ผ่ ก ร ะ ตุ ก วู บ ว า บ ต่อมาไอน์ สไต น์ได้นาเรื่อง ข อ งค ว อนตัมข อง พ ลัง ค์มาพัฒ นาและได้ค ว าม คิดว่ า แสงเกิดจากพลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอนที่ปล่อยออกมา ซึ่งกลุ่มที่ปล่อยแสงออกมานั้นเรียกว่า โฟตอน แล้ว ได้เขีย นห นังสือที่ ชื่ อว่ า ท ฤ ษฎี สัมพันธภาพ และเป็ นที่ โด่งดังในเว ลาต่อม า ในประเทศเยอรมันได้เกิดกลุ่มต่อต้านทฤษฎีสัมพันธภาพขึ้นโดยมี ฟิลิปป์ เลนาร์ด และ โยฮันเนส ส ต า ร์ ค ส อ ง ท่ า น นี้ เ ป็ น ผู้ ก่ อ ข บ ว น ก า ร ต่ อ ต้ า น ขึ้ น ซึ่งการต่อต้านนั้นมีจุดประสงค์ที่ต้องการต่อต้านชาวยิวและเข้าร่วมกับฮิตเลอร์ จึงเป็นพรรคชื่อว่า พ ร ร ค น า ซี ที่ มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ คื อ ต่ อ ต้ า น ช า ว ยิ ว แ ล ะ ชิ ง ชั ง ไ อ น์ ส ไ ต น์ เพราะเขาคิดว่าไอน์สไตน์เป็นผู้นาชาวยิว บทที่ 8 วิทยาศาสตร์เยอรมันรอดชีวิต
  • 6. หลังจากสงครามครั้งที่ 1 เยอรมนีตกอยู่ในวิกฤต เศรษฐกิจใกล้ล้มละลาย พันธมิตรขาดรุ่งริ่ง ความยิ่งใหญ่ทางทหารถูกปราบราบคาบ ถูกกดขี่ด้วยเงื่อนไขสัญญาสันติภาพแวร์ซายน์ ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก็ เ ช่ น กั น นักวิท ย าศ าสตร์เย อรมัน ถูก สั่งห้ ามไม่ ให้ เข้าร่ว มป ระชุ มเชิง วิช าการน าน าช าติ ย ก เ ว้ น ไ อ น์ ส ไ ต น์ เ ป็ น เ พี ย ง ค น เ ดี ย ว ที่ ไ ด้ นั บ เ ชิ ญ แ ต่ เ ข า ป ฏิ เ ส ธ เพื่ อ แ ส ด ง ค ว า ม เ ป็ น น้ า ห นึ่ ง ใจ เ ดี ย ว กั น กั บ เพื่ อ น ร่ว ม อ าชี พ ช า ว เ ย อ ร มั น ในเว ลาต่ อม ามีนั ก วิท ย า ศ าสต ร์ที่ มีชื่ อ เสีย ง ม าก ม าย เกิด ขึ้ น เช่ น นี ล ล์ โบ รห์ ผลงานแบบจาลองอะตอมไฮโดรเจน , ไฮเซนแบร์ก คิดค้นวิธีการ “กลศาสตร์เมทริกซ์” , แอร์วิน ชโรดิงเงอร์ คิดค้นกลศ าสตร์ค ลื่น และพอล ดิแรก สร้าง ท ฤษฎีค ว อนตัมกลศ าสตร์ ที่สอดคล้องกับทฤษฎีสัมพันธภาพ เป็นการก้าวกระโดดเป็นฟิสิกส์ยุคใหม่ในปี 1927 ภาคที่สาม : ความคึกคักของนาซี การค้อมหัวศิโรราบและการกดขี่ข่มเหง 1933-1939 บทที่ 9 การขับไล่ยิว ในฤดูใบไม้ผลิปี 1933 นักวิทยาศาสตร์ยิวถูกไล่ออกจากงานทั้งยวงหลัง ฮิตเลอร์ขึ้นเถลิงอานาจ ตาแหน่งงานที่ว่างลงถูกฉกฉวยไปครองโดยเพื่อร่วมงานอายุน้อยที่ไม่ใช่ชาวยิง แสดงให้เห็นถึงความเสื่อมทรามเชิงศีลธรรมอย่างยิ่งในชุมชนวิทยาศาสตร์เยอรมัน ฮิตเลอร์ไม่ยอมให้อานาจใดมากดข่ มให้เขาแบ่งอานาจในมือ เมื่อวันที่ 5 มีนาค ม ฮิตเลอร์สามารถชนะเสียงข้างมากจากการเลือกตั้งโดยการข่มขู่ และ กดขี่ข่มเหงสื่อมวลชล ร ว ม ถึ ง พ ร ร ค ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย คู่ แ ข่ ง โ ด ย ชั ย ช น ะ ข อ ง ฮิ ต เ ล อ ร์น า ม า สู่ “กฏหมายบาบัดความเดือดร้อนของประชาขนและรัฐ” ทาให้ฮิตเลอร์ได้อานาจเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ โ ด ย เ มื่ อ สิ้ น สั ป ด า ห์ แ ร ก ข อ ง เ ดื อ น เ ม ษ า ย น ได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการไล่ผู้ที่มีแนวคิดสังคมนิยมและไม่มีสายเลือดอารยันออกจากงานราชการซึ่ง ทาให้นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์รวมถึง ศาสตราจารย์ถูกไล่ออกจากงานทันที ต่อมา พรรค นาซีเริ่มเข้ามาแผ่อิท ธิพลในด้านการศึกษา เริ่มป รับ แนว การเรีย นการสอน ไม่ว่าจะเป็นแนวการสอนให้คนเหยียดผิว ปรับปรุงตาราเรียนให้สอดคล้องกับอุดมการณ์พรรคนาซี น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ท า ก า ร เ ผ า ห นั ง สื อ ข อ ง ช า ว ยิ ว ก ว่ า 1 0 0 0 0 ร า ย ก า ร รวมถึงการถูกขับไล่อย่างไม่เป็นธรรมของนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังไม่ว่าจะเป็น ไอน์สไตน์ รวมถึง ฟริตน์ ฮ า เ บ อ ร์ ที่พร้อมทาทุกอย่างเพื่อเยอรมันเสมอมาแต่เขากับได้รับการปฏิบัติราวกับเป็นเพียงชาวยิวคนหนึ่งเท่านั้น บทที่ 10 วิศวกรกับนักสร้างจรวด หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมัน หนึ่งในประเทศผลิตอาวุธใหญ่ที่สุดของโลกหยุดการผลิตปืน เกราะ และ สรรพาวุธทั้งปวงตามข้อบังคับของสนธิสัญญาแวร์ชายส์
  • 7. ก า ร เ ถ ลิ ง อ า น า จ ข อ ง ฮิ ต เ ล อ ร์ นั้ น ทาให้วงการวิศวกรเยอรมันอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมซึ่งเกิดจากการเผยแผ่อุดมการณ์ของชาวนาซีที่มีต่อเ ทคโนโลยี โดยในระหว่างที่ระบอบเผด็จการขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วจึงทาให้ ฮิตเลอร์ประกาศอ้าแขนรับ วิศ ว กร อีกค รั้ง โดย ในระย ะแรกเกิดค ว ามขัดแย้งในห มู่วิศ วกรเองเป็ นอย่ างม าก แ ต่ ใ น ร ะ ห ว่ า ง นั้ น เ ย อ ร มั น ก็ ไ ม่ ห ยุ ด ที่ จ ะ พั ฒ น า อ า วุ ธ อ ย่ า ง ลั บ ๆ โดยจุดสาคัญ ของการวิจัยในเวลานั้นคือการ พัฒ นาจรวดในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ให้มีลักษณะเพรียว ลม ห ลังจากนั้นไม่นานฮิตเลอร์ได้ท าการฉีกสนธิสัญ ญ าแวร์ชาย ส์ ก่ อ น ที่ จ ะ พั ฒ น า จ ร ว ด อ ย่ า ง เ ต็ ม รู ป แ บ บ ดังนั้นโครงการวิจัยจรวดของเยอรมนีกลายเป็นตัวอย่างแรกของการทุ่มทรัพยากรของรัฐ เพื่อทาให้เทคโนโลยีใหม่กลายเป็นจริงขึ้นมา บทที่ 11 การแพทย์ภายใต้ฮิตเลอร์ เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นครองอานาจในฐานะจอมเผด็จการ ก็ได้รับการตอบรับการกลุ่มอาชีพแพทย์เป็นอย่างดี ซึ่งมีความกระตือรือร้นที่จะสังกัดพรรคนาซีมากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น แต่หนึ่งสัปดาห์หลังฮิตเลอร์ครองอานาจ การขับไล่หมอยิวก็เริ่มขึ้น ซึ่งมีจานวน16 เปอร์เซ็นต์ของแพทย์ทั้งหมดในเยอรมนีออกจากงาน ไม่ว่าจะเป็น พญ.แฮร์ธา นาโธรฟฟ์ ผู้เป็นที่นับหน้าถือตาในเยอรมนี เป็นอย่างมากในเวลานั้น รวมถึง นักจิตวิเคราะห์ชื่อก้องโลกอย่าง ซิกมันด์ ฟรอย ซึ่งเป็นคนที่สร้างชื่อเสียงให้กับเยอรมนีเป็นอย่างมาก บทที่ 12 ความเป็นเลิศในงานวิจัยมะเร็ง วิทยาศาสตร์หลายสาขาในเยอรมนี เสื่อมทรามลงภายใต้อุดมการณ์นาซี การกดขี่บางสาขา โดยเมื่อมองถึงความเจริญรุดหน้าในการรณรงค์ต่อต้านมะเร็งในเยอรมันนั้นเปรียบได้กับการที่ เป็น”ต้นเลว-ผลงาม” หลังจากฮิตเลอร์ชึ้นค รองอานาจ การรณ รงค์แพรร่ไป ในสื่อสิ่งพิมพ์ และ วิท ยุ เ ชิ ญ ช ว น ใ ห้ ผู้ ค น ต ร ว จ ร่ า ง ก า ย เ ป็ น ป ร ะ จ า ไม่น าน การต่ อต้านยิว และการรณ รง ค์ต่ อต้านม ะเร็งป ราก ฏ ให้ เห็ นอย่ าง ชัด เจ น โด ย มีม า ต รก ารต่ าง ๆ ที่ อ อก ม าเ พื่ อ ค ว า ม ป ลอ ด ภั ย จ า ก โรค ท า ให้ เว ล านั้ น เยอรมนีขึ้นไปอยู่ในระดับแนวหน้าของโลกในวิถีปฏิบัติความปลอดภัยและสุขอนามัยในที่ทางาน แต่ก็มีข้อบังคับในยามศึกนั้น ให้คนงานที่ป่วยไข้ลาหยุดได้เพียง 5 เปอร์เซ็นต์ในเวลาเดียวกัน การุณยฆาตถือเป็นคาตอบอีกทางของการป่วยไข้ก็เริ่มปรากฏให้เห็นแล้ว บทที่ 13 ภูมิศาสตร์การเมืองกับการขยายดินแดน
  • 8. ภูมิศาสตร์ได้เสนอแนวคิดการขยายดินแดนเพื่อการตั้งถิ่นฐาน หรือที่เรียกว่า เลเบนส์รอม ซึ่ ง แ ป ล ว่ า ( ก า ร เ ส า ะ ห า ผื น ดิ น ที่ ท า กิ น ก ว้ า ง ใ ห ญ่ ) สนับสนุนการรุกรานขยายดินแดนของฮิตเลอร์ด้วยข้อสนับสนุนเชิงวิทยาศาสตร์ที่ชอบธรรมคือ เกโอโพลิทิค ซึ่งหมายถึง วิทยาศาสตร์แห่งความสัมพันธ์ของโลกกับกระบวนการทางการเมือง ตั้งอยู่บนรากฐานกว้างใหญ่ของวิชาภูมิศาสตร์ ภายใต้ระบอบการปกครองของนาซี เกโอโพลิทิค ถื อ เ ป็ น วิ ช า บั ง คั บ ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ไ ป แ ล้ ว จ น ส ถ า น ะ ข อ ง เ ก โอ โพ ลิ ทิ ค ได้ พั ฒ น า แ ล ะ ไ ต่ สู ง เ ป็ น จ ริง เ ป็ น จั ง ม า ก ขึ้ น เมื่อกองกาลังท หารนาซียึดครองดินแดนทางตะวันออกด้วยการบุ กโปแลนด์และรัสเซีย และมีการตั้งอาณานิคมเยอรมันในโปแลนด์ กาจัดยิว และส่งแรงงานทาสกลับมาทางานในเยอรมนี บทที่ 14 ฟิ สิกส์นาซี เรื่องราวของฟิสิกส์นาซีแสดงให้เห็นว่านักฟิสิกส์ที่ไม่ฝักใฝ่นาซียอมให้ตนเองถูกกดดันมากเพียง ใด ร ว ม แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ข อ บ เ ข ต ข อ ง พ ว ก เ ข า ใน ก า ร ต่ อ ต้ า น แ ข็ ง ขื น นักฟิสิกส์เยอรมันไม่มีโอกาสตั้งตัวต้านรับแรงกดดันจากภายในที่มีมากกว่าแรงกดขี่จากภายนอก เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นครองอานาจในปี1993 เลนาร์ดกับสตาร์คอายุเจ็ดสิบเอ็ดและห้าสิบเก้าตามลาดับ เลนาร์ดบ อกกับ ฮิตเลอร์ว่า วงการวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอยู่ในภาวะเสื่อมทราม มี ค ว า ม จ า เ ป็ น ต้ อ ง ป ฏิ รู ป ใ ห ม่ เขาเสนอว่าพร้อมจะทุ่มเทเพื่อรับใช้ท่านผู้นาสะสางปัญหาหากได้ตาแหน่งที่เหมาะสมในหมู่นักฟิสิกส์เย อรมัน ต่อมาเลนาร์ดเดินสายบรรยายจนมีหนังสือเป็นของตนเอง 4เล่ม ชื่อว่า ดอยต์เชอ ฟิสีค มีบ ท ค วามตอนห นึ่งที่เลนาร์ดได้เขีย นไว้ใน โฟล์คิซเช อร์ เบ โอบ อัช เท อร์ ค วามว่ า แน ว คิด ข อง ไอน์สไต น์ในว ง ก ารฟิสิก ส์นั้นเป็ นเพีย ง ค ว ามรู้พ อรับ ฟังได้ส่ว นห นึ่ ง “เจือ ด้ว ย ก า รป รุง แ ต่ ง ต าม อ าเภ อใจ ส อด เ กี่ ย ว ร้อ ย รัด ด้ว ย สูต รค ณิ ต ศ าสต ร์ เป็นชะตากรรมที่สุดแสนจะธรรมดาของผลผลิตผิดธรรมชาติ” บทที่ 15 วิทยาศาสตร์เก๊ของฮิมม์เลอร์ ฮิ ม ม์เลอ ร์เติบ โต ขึ้ น ม า ใน ค รอบ ค รัว เค ร่ง ศ าส น าค ริส ต์นิ ก าย ค าท อ ลิก ใ น วั ย เ ด็ ก เ ข า ส น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ สั ต ว์ แ ล ะ พื ช เขาหมกมุ่นในเรื่องแพทย์ทางเลือกและธรรมชาติบาบัด ซึ่งเค้าคิดว่าให้ผลการรักษาเป็นเลิศ เห นื อ ก ว่ า ย า สั ง เ ค ร า ะ ห์ เ พี ย ง ส อ ง ปี ห ลัง จ า ก ฮิ ต เ ล อ ร์ขึ้ น ค ร อ ง อ า น า จ ฮิ ม ม์ เ ล อ ร์ มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ใ น ก า ร ก่ อ ตั้ ง “อ า ห์ เ น เ น อ ร์ เ บ อ ” อันเป็นสมาคมการวิจัยที่พร้อมให้การสนับสนุนแนวคิดเพี้ยนพิสดารของวิทยาศาสตร์เก๊ทุกประเ ภท ปรัชญาแก่นกลางของสมาคม “อาห์เนเนอร์เบอ” ก็คือทฤษฎีเทวปรัชญาสุดเพี้ยนที่รู้จักกันในชื่อ เวลต์ไอซ์เลห์เรอ
  • 9. บทที่ 16 คณิตศาสตร์เยอรมัน มีนักคณิตศาสตร์คนหนึ่งชื่อ ลุดวิก บีเบอร์บาค เขาอยากดึงให้คณิตศาสตร์ได้เข้าไปในขบวนลัทธินาซีให้ได้ ซึ่งแนวคิดของบีเบอร์บาคนั้นอยู่บนรากฐานของทฤษฎีของเอริช รูดอล์ฟ เยนช์ นักมานุษยวิทยา ที่กล่าวอ้างอย่างคลุมเครือถึงความเกี่ยวโยงระหว่างจิตวิทยากับประเภทของเผ่าพันธุ์ บีเบอร์บาคเชื่อว่านักคณิตศาสตร์ยิวและนักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศสมีแนวโน้มที่จะเอียงไปหานามธรรม แทนที่จะฝักใฝ่สัจธรรมในโลกความเป็นจริงจับต้องได้รอบตัวคณิตศาสตร์นาซีเรียกร้องให้มีมิตที่จับต้องไ ด้ วาดภาพได้ง่ายชัดเจนหากกล่าวถึงคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ “โลกความเป็นจริงของคณิตศาสตร์เยอรมัน”เขียนโดยเพื่อนนักคณิตศาสตร์วิญญาณนาซี, แอร์ฮาร์ด ทอร์เนียร์ ระบุว่า ทุกทฤษฎีในคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ถือว่าน่าเชื่อถือถ้าตอบคาถามเรื่องวัตถุจับต้องได้อย่างจริงแท้ หลังจากนั้น บีเบอร์บาคได้มีโอกาสบรรยายในการประชุมสภาวิทยาศาสตร์ปรัสเซีย ว่า ”คณิตศาสตร์อาจจะประกอบไปด้วยความจริงไร้กาลเวลาหลายแง่มุม” เขาแสดงให้เห็นว่า “งานวิจัยคณิตศาสตร์ถือได้ว่าเป็นการแสดงตัวตนของโฟล์คทรงพลังยิ่ง อาจจะไม่เห็นชัดประจักษ์ต่อตาทันทีเหมือนผลงานศิลปะ ทั้งนี้เพราะงานคณิตศาสตร์ไม่อาจเข้าใจได้ในทันทีที่พบเห็น” ภาคที่สี่ : วิทยาศาสตร์แห่งการทาลายและป้ องกันประเทศ 1933-1943 บทที่17 เสาะหาการแตกตัวของอะตอม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ น า ไ ป สู่ ร ะ เ บิ ด ป ร ม า ณู เ ป็ น ค รั้ ง แ ร ก เริ่มต้นด้วยความตื่นเต้นโดยที่เหล่านักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายยังไม่ได้ตระหนักถึงสิ่งที่จะตามมาของงานวิ จั ย ข อ ง พ ว ก เ ข า เ ห ล่ า นั้ น ท่ามกลางไฟร้อนระอุเยอรมันก็เริ่มทาการเรียกตัวเหล่าวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์หลายๆสาขาให้กลับม าที่ประเทศเพื่อให้เป็ นขุมกาลังในการทาสงครามซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ซิลลาร์ด โดยซิลลาร์ด เขาเป็นเด็กหนุ่มที่อัจฉริยะระหว่างที่ยืนอยู่ที่สี่แยกนั้นเขาก็เกิดนิมิตเชิงวิทยาศาสตร์เขาเข้าใจในตอนนั้น ถึงหนทางที่เป็นไปได้ในการปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกจากอะตอมมันจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปล ง โฉ ม โลก ไป จน ไม่ เ ห ลือ เค้าเ ดิม ซึ่ง ค ว าม เ ป็ น ไป ได้ นั้น คือ ป ฏิ กิ ริย าลู ก โซ่ โดยนักวิทยาศาสตร์ทั้ง2ฝ่ายต่างมุ่งมั่นหาวิธีการในการทามันขึ้นมา เพาล์ ฮาร์เทคได้เขียนจดหมายถึงหัวหน้าสานักวิจัย กรรมสรรพาวุธมีเนื้อความว่า เราขอถือวิสาสะเรียนให้ท่านทราบถึงพัฒนาการใหม่ล่าสุดในแวดวงนิวเคลียร์ฟิสิกส์ จ า ก ค ว าม เ ห็ น ข อ ง เ ร า เชื่ อ มัน ว่ าเ ป็ น ไ ป ได้ ที่ จ ะ ผ ลิต อ า วุ ธ อ า น าจ รุ น แ ร ง ทาลายล้างสูงยิ่งกว่าอาวุธทั้งมวลที่ใช้กันอยู่ ประเทศใดที่นาเรื่องนี้มาใช้งานได้ก่อนจะได้เปรียบชาติอื่นๆ
  • 10. บทที่18 สงครามโลกครั้งที่2 เ ส้ น ท า ง สู่ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ 2 เ ริ่ ม ต้ น ตั้ ง แ ต่ ปี 1 9 3 5 เ มื่ อ ฮิ ต เ ล อ ร์ ไ ด้ ฉี ก ส น ธิ สั ญ ญ า แ ว ร์ ซ า ย ทิ้ ง แ ล ะ ติ ด อ า วุ ธ ให้ เ ย อ ร ม นี ก่ อ น ที่ จ ะ จ ะ ส่ ง ก อ ง ก า ลั ง เ ข้ า ไ ป ใ น เ ข ต ป ล อ ด ท ห า ร ไ ร น์ แ ล น ด์ และฮิตเลอร์ได้ผนวกออสเตรียเข้ากับเยอรมนีและส่งทหารไปยึดส่วนหนึ่งของเชโกสโลวาเกียในฤดูใบไม้ ร่วงและต่อมาก็ได้ยึดเชโกสโลวาเกียส่วนที่เหลือแล้วท้ายที่สุด ฮิตเลอร์ก็ได้เป็นเจ้ายุโรป ป ก ค ร อ ง ดิ น แ ด น ตั้ง แ ต่ เทื อ ก เข าพิ เ รนิ ส ไป จ น ถึง แ ห ล ม เ ห นื อ ข อ ง น อ ร์เ ว ย์ ทิ้งให้อังกฤษต้องต่อสู้กับนาซีอย่างโดดเดี่ยวจนตระหนักว่าจะต้องพึ่งพาเทคโนโลยีแทนกาลังพลและอาวุ ธ ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาอาวุธใหม่ๆและอาวุธที่มีพลังอันมหาศาลขึ้นมาใช้ในการทาสงคราม บทที่19 เครื่องจักรสงคราม ในท่ามกลางสงครามอันตรึงเครียดนั้นบรรดาเหล่าวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ของแต่ละฝ่ายก็ระ ดมสมองเพื่อที่จะผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยขึ้นมาใช้ในการทาสงครามเพื่อช่วงชิงการได้เปรียบและ เพิ่มอัตราการช นะสงครามโดย ได้มีการผลิตสิ่งต่างๆดังนี้ ผลิตรถถังขึ้นมาแข่ งกัน , มี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ เ ร ด า ร์ , พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง บิ น ที่ ใ ช้ ทิ้ ง ร ะ เ บิ ด , สร้างเรือรบ,เรือดาน้าเพื่อช่วงชิงการเป็นเจ้าแห่งท้องทะเล, มีการผลิตเครื่องบินไอพ่นและสุดท้ายคือ ขีปนาวุธอาวุธที่ทรงอานุภาพที่สุดขึ้นมาใช้ในการทาสงครามในครั้งนี้ บทที่20 เรดาร์ ในระหว่างสงครามได้มีบุคคลท่านหนึ่งกล่าวว่าเรดาร์จะเป็นตัวที่ชี้เป็นชี้ตายในการทาสงครามค รั้งนี้โดยทางฝั่งของเยอรมนีได้ทาการวิจัยเรื่องนี้ขึ้นเป็นประเทศแรกแต่ก็เกิดปัญหาขึ้นทาให้นักวิทยาศา สตร์ฝั่งเยอรมนียอมแพ้กับปัญหาที่พบแต่กลับกันทางฝั่งอังกฤษไม่ยอมแพ้และคิดหาวิธีแก้ไขของผิดพล าดต่างๆจนสุดท้ายอังกฤษก็ผลิตเรดาร์ขึ้นมาสาเร็จและเจ้าเรดาร์ตัวนี้ก็ช่วยให้อังกฤษรอดจากการโจมตี อันรวดเร็วของเยอรมนีได้และก็เป็นตัวช่วยให้อังกฤษเอาชนะเยอรมนีเช่นกัน บทที่21 รหัสลับ รหั สลับ ก็เป็ นอีกตัว ห นึ่ง ที่ ชี้ทิ ศ ท าง ข องสง ค รามดังค ากล่าว ข องซุ นวู ที่ ว่ า “รู้ เ ข า รู้ เ ร า ร บ ร้ อ ย ค รั้ ง ช น ะ ร้ อ ย ค รั้ ง ” เรื่องรหัสลับทางเยอรมนีมีความเชี่ยวชาญและชานาญกว่าประเทศอื่นๆซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของทางฝั่งน าซีแต่ด้วยความที่คิดว่าไม่มีใครสามารถถอดรหัสลับที่ตัวเองสร้างขึ้นมาได้ก็ได้ย้อนกลับมาทาร้ายตัวเอง ในภายหลังเนื่องจากเกิดการหักหลังกันเองในองค์กรจนสุดท้ายฝ่ายอังกฤษก็สามารถสร้างเครื่องถอดรหั สของเยอรมนีได้สาเร็จโดยระหว่างการแข่งขันช่วงชิงการถอดรหัสของแต่ละฝ่ายก็เกิดการประดิษฐ์คอม
  • 11. พิวเตอร์เครื่องแรกขึ้นมาและแข่งขั้นกันพัฒนาจนเป็นคอมพิวเตอร์อย่างเช่นในปัจจุบันนี้โดยสมัยนั้นเรีย กสิ่งนี้ว่า เครื่องอีนิกมา, ไทเป็กซ์และเทคโนโลยีไอบีเอ็ม ภาคที่ห้า : วิทยาศาสตร์แห่งการทาลายและป้ องกันประเทศ 1941-1945 ตัวละครหลัก 1. แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก : กาลังศึกษาการแผ่รังสีกลางอาวกาศและรับหน้าที่บรรยายฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในประเทศที่นาซียึ ดได้ 2. นีลส์ โบห์ร : นักวิจัยชาวเดนมาร์ก เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ถูกยกย่องว่ามีคุณธรรมสูงส่ง และเป็นผู้อานวยการสถาบันวิจัยนีลส์ โบห์ร 3. อัลแบร์ต สเปเออร์ : สถาปนิกหนุ่มผู้มากความสามารถ เขาได้รับแต่งตั้งในตาแหน่งรัฐมนตรียุทโธปกรณ์และบริหารเศรษฐกิจของนาซี 4. แซมมวล กาวด์สมิต : หัวหน้าหน่วย Alsos บุกเข้าจับตัวไฮเซนแบร์กและทาลายสถาบันวิจัยของเขา บทที่ 22 : โคเปนเฮเกน  ไฮเซนแบร์กเดินทางไปบรรยายฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่โคเปนเฮเกนประเทศเดนมาร์ก  นีลส์ โบห์ร และไฮเซนแบร์กได้สนทนากันถึงเรื่องการสร้างระเบิดปรมาณู แต่โบห์รไม่เห็นด้วยและรู้สึกอึดอัดที่ไฮเซนแบร์กพยายามดึงเขาเข้าไปพัวพันกับนาซี  โบห์รและไฮเซนแบร์กเขียนจดหมายตอบโต้ตอบกันหลังจากจบกการบรรยายครั้งนั้น และยังมีจดหมายที่โบห์รเขียนแล้วไม่ได้ส่งไปให้ไฮเซนแบร์กอ่าน เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นความอึดอัดใจของโบห์รที่อาจจะเข้าใจไฮเซนแบร์กผิดและนาเสนอเรื่องนี้ให้ ฝ่ายสัมพันธมิตร  ความสัมพันธ์ที่เริ่มมืดมนของ นีลส์ โบห์ร กับ ไฮเซนแบร์กหลังจากที่สถาบันของโบห์รถูกยึดโดยเยอรมัน  การเสาะหามโนธรรมในตัวของไฮเซนแบร์ก แท้จริงแล้วเขาเป็นคนยังไงยังไม่มีใครทราบแน่ชัด มีนักประวัติศาสตร์ออกมาวิเคราะห์การกระทาของเขาเป็นจานวนมาก  มาร์ก วอกเกอร์ นักประวัติศาสตร์ ได้ออกมาสรุปว่าการสร้างระเบิดปรมาณูของเยอรมันนั้นเป็นเพียงนิทานปรัมปราดังเช่นบทสนท นาของนีลส์ โบห์รและไฮเซนแบร์ก
  • 12. บทที่ 23 : สเปเออร์กับไฮเซนแบร์ก  หลังจากมีการพัฒนาระเบิดปรมาณูจากผลการทดลองของ ฟริช ไพแอร์ลส์ในอังกฤษ ฝ่ายสัมพัทธมิตรก็พัฒนาไปได้ไกลกว่าเยอรมัน  สเปเออร์สถาปนิกหนุ่มได้รับตาแหน่งรัฐมนตรียุทโธปกรณ์หลังจากผู้กุมตาแหน่งคนก่อนถูกฆาต กรรม  สเปเออร์ได้รายงานความคืบหน้าของโครงการพัฒนาระเบิดของไฮเซนแบร์กต่อฮิตเลอร์ ฮิตเลอร์จึงตัดงบประมาณการวิจัยระเบิดปรมาณูออกไปและไปทุ่มเทให้กับกองกาลังทางอากาศ แทรตามคาแนะนาของสเปเออร์  ไฮเซนแบร์กยังคงมุ่งหน้าทาหน้าที่ต่อไปแต่ไม่ได้จดจ่ออยู่กับการพัฒนาระเบิดปรมาณู สเปเออร์ได้เสนอทุนสนับสนุนงานวิจัยของเขา แต่ไฮเซนแบร์กปฏิเสธ  ส เ ป เ อ อ ร์ เ ป็ น ค น ห ล ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ม า ก เข า ส าม า รถ บ ริห ารจัด ก าร ค น แ ล ะ คิด จ ะ ส ร้าง ก าร ค้า เส รีใน ต ล า ด ขึ้ น จึงดึงแรงงานและช่างฝีมือกลับ มาจากสงคราม รวมถึงนาสตรีเข้ามาทางานฝีมือ เมื่ อ สเ ป เอ อ ร์ม อ ง เห็ น เค้าล าง แ ห่ ง ค ว าม พ่ าย แ พ้ข อ ง ส ง ค ราม ใน ค รั้ง นี้ เขาจึงรีบสร้างอานาจให้กับตัวเองโดยไม่บอกให้คนงานเหล่านั้นทราบถึงผลการกระทาที่จะตาม มา  สเป เออร์ได้ขยายอานาจออกไปควบคุมฐานเศรษฐกิจต่างๆระหว่างสงครามนาซี แต่ไม่มีผู้ใดร่วงรู้ถึงการใช้แรงงานทาสอย่างโหดเหี้ยมภายใต้คาสั่งของเขา  ไ ฮ เ ซ น แ บ ร์ ก ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที่ ฮ า ร์ น า ร์ ค เ ฮ า ส์ ในการประชุมครั้งนี้มีสเปเออร์รวมอยู่ด้วยและเขาได้สอบถามถึงงบประมาณในการสร้างระเบิดป รมาณูกับไฮเซนแบร์ก แต่ไฮเซนแบร์กได้ขอมากเกินความจาเป็นจึงทาให้เขาหงุดหงิด  สเปเออร์ได้พิจารณาจากผลงานการพัฒนาระเบิดปรมาณูของไฮเซนแบร์กแล้วคงไม่มีบทบาทใน การทาสงครามในครั้งนี้ โครงการวิจัยของไฮเซนแบร์กจึงปิดตัวลง  เตาปฏิกรณ์ของไฮเซนแบร์กเกิดการระเบิดและประจวบเหมาะกับการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธ มิตรทาให้โครงการของเขาสะดุดเป็นระยะๆ  ไฮเซนแบร์กได้เป็นอาจารย์มหาลัยเบอร์ลินและผอ.สถาบันไกเซอร์ วิลเฮล์มสาขาฟิสิกส์ และยังคงหิวกระหายเกียรติยศชื่อเสียงอย่างไม่จบสิ้น  ไฮเซนแบร์กได้เดินทางไปเยือนฮอลแลนด์และมีการยื่นผลประโยชน์ให้กับนักวิทยาศาสตร์และส ถาบันวิจัย ต่าง ๆแม้ว่ าจะมีค นตาย มากมาย ก็ตาม(ส่ว นให ญ่ เป็ น นักศึกษา) มีคนออกมาประณามการกระทาของไฮเซนแบร์กว่าพยายามขยายระบอบนาซี  ไฮเซนแบร์กเยือนโป รแลนด์ และได้รู้จักกับ ฮันส์ ฟรางค์เป็ นการส่วนตัว ฮันส์ ฟ ร า ง ค์ เ ป็ น ค ว า ม ชิ ง ชั ง ข อ ง ค น โ ป ร แ ล น ด์ เขานาคนยิวไปเข้าเตาเผาในค่ายมรณะเทรบลิงกาสร้างความเคียดแค้นให้กับคนยิวในโปรแลนด์
  • 13. เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก ไ ฮ เ ซ น แ บ ร์ ก ท ร า บ เ รื่ อ ง นี้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี แต่เขายังคงเมินเฉยปิดหูปิดตากับการกระทาของเพื่อนเก่าและยังเต็มใจเดินทางไปคราคอฟเพื่อ เชิดชูวัฒนธรรมเยอรมัน บทที่ 24 : ไฮเกอร์โลคกับลอสอะลามอส  ไฮเซนแบร์กได้ย้ายสถาบันวิจัยไปที่ไฮเกอร์โลคหลังจากสหรัฐฯและอังกฤษทิ้งระเบิดสร้างความเ สียหายให้กับห้องวิจัยของเขา  ไฮเซนแบร์กตกเป็นเป้าสังหารของนายพลโกรฟส์ หัวหน้าโครงการแมนฮัตตันของสหรัฐฯ  นายพลโกรฟส์ได้ส่งสายลับและมือสังหารไปฆ่าไฮเซนแบร์กในการบรรยายสาขาฟิสิกส์ที่สวิตเซ อร์แลนด์ โดยมีมอริส เบิร์กเป็นมมือลอบสังหารในภารกิจครั้งนี้แต่ไม่สาเร็จ  ฝ่ายอเมริกาไม่ทราบรายละเอียดอย่างแน่ชัดของการพัฒนาระเบิดปรมาณูของเยอรมันเพราะใน รายงานของสายลับบอกว่าไฮเซนแบร์กได้ยอมรับความพ่ายแพ้ต่อสงครามครั้งนี้และมีความฝักใ ฝ่ที่จะวิจารณ์หลังสงครามเสร็จสิ้นมากกว่า  การบุกภาคพื้นยุโรปของอเมริกาและอังกฤษได้ส่งหน่วย อัลซอส โดยมีหัวหน้าคือ แซมมวล กาวด์สมิต ซึ่งรู้จักกับไฮเซนแบร์กเป็นการส่วนตัว  นักวิทยาศาสตร์จานวนมากถูกจับตัวและได้ให้การเกี่ยวกับการสร้างระเบิดปรมาณูของเยอรมัน  หน่วยอัลซอสของอเมริกาบุกเข้าทาลายสถาบันวิจัยของไฮเซนแบร์ก  หลังจากนั้นไม่นานไฮเซนแบร์กก็ถูกจับกุมและนาไปคุมตัวร่วมกับนักวิทยาศาตร์เยอรมันคนอื่น ๆ ที่กองบัญชาการใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตรในยุโรป ภาคที่หก : วิทยาศาสตร์ในนรก 1942-1945 บทที่ 25: แรงงานทาสที่โดรา สงค รามโลกค รั้งที่ 2 ส่งผลให้เย อรมนีเกิดการขาดแคลนแรงงานโรงงานอุตสาห กรรม จึ ง ท า ใ ห้ เ ย อ ร ม นี ต้ อ ง ใ ช้ แ ร ง ง า น ต่ า ง ช า ติ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ต่อมารูดอล์ฟได้สั่งนักโทษจากค่ายกักกันมาทางานที่เพเนอมุนเดอ ซึ่งเป็นโรงงานผลิตจรวด ใ น เ ว ล า ต่ อ ม า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ ทิ้ ง ร ะ เ บิ ด ที่ เ พ เ น อ มุ น เ ด อ ท าให้ ที่ พัก อาศัย เกื อบ ทั้ง ห มด ท าง ด้าน ตะวันออก ข อง เพ เนอมุ นเดอถู กท าลาย หลังจากนั้นเยอรมนีได้ย้ายโรงงานไปยังฐานทัพลับที่อยู่ในใต้ดิน และปรับปรุงที่พักอาศัยของคนงาน ซึ่งเรียกว่าชุมชนโดรา
  • 14. บทที่ 26 ‘วิทยาศาสตร์’ แห่งการล้างเผ่าพันธุ์ และการนามนุษย์มาทดลอง การผนึกกาลัง กันระห ว่ างสานักงานการรุณ ย ฆ าตกับ วิท ย าศ าสตร์ (โลกวิช าการ) ซึ่งสานักงานการรุณยฆาตจะทาการคัดเลือกเหยื่อเพื่อกาจัดทิ้งในห้องรมแก๊สที่สร้างขึ้ นมา ให้ เ ห มื อน โรง อา บ น้ า ซึ่ง เ ป็ น รู ป แ บ บ ที่ จะ น าไป ใช้ กั บ โร ง ง าน ใน ค่ าย ม รณ ะ บางครั้งก็นาสมองคนจากศูนย์การรุณยฆาตที่บรานเดินบูรก์ ไปยังสานักงาน เทคโนโลยีสังหารและการกาจัดศพ เยอรมนีใช้เทคโนโลยีในการกาจัดศพโดยใช้เตาเผาที่มีระบบซับซ้อน ประหยัดพลังงาน โดยนาเอาความร้อนจากห้องเผาไหลเวียนกลับมาป้อนรางเผา แต่มีปัญหาของเครื่อง คือต้นทุนสูงและขนาดใหญ่ จึงทาให้วิศวกรเยอรมนีต้องออกแบบระบบใหม่ของเทคโนโลยีเผาศพ โดยใช้แรงอัดอากาศเย็นฉีดพ่นเข้าไปในเตา ลดเชื้อเพลิง เร่งความเร็วในการเผา การทดลองโดยใช้มนุษย์ นักวิทยาศาสตร์นาซีได้ใช้ประโยชน์จากนักโทษในค่ายกักกัน เพื่อนามนุษย์มาทดลอง ซึ่งการทดลองมีหลายแบบ  การทดลองไวรัสตับอักเสบโดยใช้เด็กชาวยิว ให้อดอาหารและทาการสังเกตการณ์บันทึกผล  นานักโทษมาดื่มน้าเค็ม เพื่อวัดความทดทานว่ามนุษย์ดื่มน้าเค็มได้นานแค่ไหน  นานักโทษจับเข้าห้องปรับความดันอากาศ  นานักโทษไปรับแก๊สพิษหรือนาเชื้อโรคมาเพาะในตัวเพื่อหาทางบาบัดรักษา  ฉีดสารย้อมเข้าไปในดวงตาของบุรุษ สตรี และเด็ก  ให้นักโทษถูกยิงด้วยกระสุนอาบยาพิษ และสังเกตการณ์จดบันทึกว่ายาพิษออกฤทธิ์เร็วแค่ไหน บทที่ 27 นักเคมีของปีศาจ ในศตวรรษที่ 19 เยอรมนีมีการขยายตัวทั้งทางอุตสาหกรรมการทหาร มีแหล่งถ่านหินไม่จากัด ซึ่ง ใช้ เ ป็ น แ ห ล่ ง พ ลัง ง า น ส า ห รับ เ ค รื่ อ ง จัก ร ไอ น้ า เ มื่ อ ถึ ง ศ ต ว รร ษ ที่ 2 0 ซึ่งเป็นยุคของน้ามันเบนซินและเครื่องยนต์ดีเซล ทาให้เยอรมนีเสียเปรียบทางเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ เ พ ร า ะ ไ ม่ มี บ่ อ น้ า มั น จึงมีการกระตุ้นนักวิทยาศาสตร์เยอรมันให้มีการวิจัยจนได้น้ามันปิโตรเลียมสังเคราะห์ ในเวลาต่อมา อีเก ฟาร์เบน ได้ตัดสินใจสร้างโรงงานผลิตยางสังเคราะห์ แต่เกิดปัญหาภาวะขาดแคลนแรงงาน จึงต้องมีการจ้างแรงงานต่างชาติ บทที่ 28: อาวุธมหัศจรรย์ ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้วงการวิทยาศาสตร์คิดค้นอาวุธใหม่ เพื่อใช้ในการทาสงคราม ซึ่งมีทั้ง เค รื่ อ ง บิ น พั น ธุ์ให ม่ มี ลัก ษ ณ ะค ล้าย จ าน บิ น , เค รื่อ ง จัก รต้ าน แ รง โน้ ม ถ่ ว ง ,
  • 15. อุปกรณ์ที่จะทาลายระบบอิเล็กทรอนิกส์บนเครื่องบินศัตรู, กังหันออกซิเจน สาหรับเรือดาน้า และปืนวิเศษ ที่ยิงไม่ออกเป็นวิถีเส้นตรง นอกจากนี้เยอรมนีได้พัฒนา  เทคโนโลยีจรวดและเครื่องยนต์ไอพ่น  เครื่องบินขับไล่ของประชาชน  เครื่องบินพุ่งชน  ระเบิดสกปรก (มีขนาดเท่าผลฟักทองขนาดเล็ก มีระเบิดยูเรเนียมขนาดเล็กหลายลูก ล้อมด้วยระเบิดธรรมดา)  แก็สพิษของฮิตเลอร์ ภาคที่เจ็ด : ใต้เงาของฮิตเลอร์ บทที่ 29 ฟาร์มฮอลล์ หลังจากที่ฮิตเลอร์ยิงตัวตาย พร้อมกับภรรย า ค รองอานาจได้สองปี สามเดือน ม ห า อ า ณ า จั ก ร ไ ร ชื ที่ 3 ยอมแพ้อย่างเป็นทางการในสัปดาห์ถัดมาและสงคราสิ้นสุดอย่างเป็นทางการในสมรภูมิยุโรป เย อ ร ม นี ยั บ เ ยิ น ช า ว เ ย อ ร มั น ห ล า ย ค น ไร้ที่ อ ยู่ อ า ศั ย อ ด อ ย า ก หิ ว โ ห ย เดินร่อนเร่ไปทั่วประเทศคล้ายผู้ลี้ภัย สองเดือนหลังจากนั้นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชั้นยอดสิบคน เ ดิ น ท า ง ม า ถึ ง ค ฤ ห า ส น์ ใ ก ล้ แ ม่ น้ า อู ซ ( ฟ า ร์ ม ฮ อ ล ล์ ) ทุกห้องในคฤหาสน์ติดตั้งอุปกรณ์ดักฟังเตรียมพร้อมรับการกลับมาของคณะนักวิทยาศาสตร์ นั ก ฟิ สิก ส์ระ ดับ สุ ด ย อด ข อ ง เ ย อ รม นี อ ยู่ ใน ห้ ว ง ล อ ย ไม่ รู้ช ะต าก ร รม ข อ ง ต น พูดคุยกันดดยไม่รู้ว่ามีเครื่องดักฟัง ตลอดหกเดือน นักฟิสิกส์ทั้งสิบถูกกักซ่อนตัวจากโลกภายนอก พวกเขามีหนังสือพิมพ์ให้อ่าน มีการฟังวิทยุยามเย็น หลังจากนั้นจะเล่นไพ่กันจนถึงเที่ยงคืน โ ด ย มี เ ช ล ย ศึ ก เ ย อ ร มั น เ ป็ น ค น รั บ ใ ช้ เทปดักฟังถอดเนื้อหาออกมาเผยให้เห็นว่านักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้ไม่มีมโนธรรมประจาใจตาหนิตนเองเล ย พ ร้อ ม จ ะ ย ก โ ท ษ ให้ อ ภั ย ต น เ อ ง จ า ก ก า ร ท า ง า น รั บ ใช้ ร ะ บ อ บ น า ซี ไม่ ได้ ม อ ง ต น เ อ ง ว่ า เ ป็ น นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์น า ซี ใน วั น ที่ 6 สิ ง ห าค ม 1945 ข่ าว ที่ อเม ริก าแ ละ อัง ก ฤ ษ ทิ้ ง ระ เบิ ด ป รมาณู ล ง ในญี่ ปุ่ น มีผู้เสีย ชี วิต ห ลาย ค น ส่ ง ผ ล ใ ห้ นั ก ฟิ สิ ก ส์ เ ย อ ร มั น ทั้ ง สิ บ ค น ต้ อ ง ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย ไว ซ์ เซ ค เก อ ร์เห็ น ว่ าเ ล ว ร้า ย เ ห ลือ เกิ น ที่ ค น อ เม ริกั น ส ร้า ง ร ะ เบิ ด ป ร ม า ณู
  • 16. น่ า จ ะ เ ป็ น ค ว า ม บ้ า เ สี ย ส ติ ข อ ง ค น อ เ ม ริ ก า คาถามของฮาห์นแสดงให้เห็นว่านักวิทยาศาสตร์เยอรมันเคยอภิปรายกันเรื่องการสร้างระเบิดปรมาณู แ ต่ ใ น ภ า ย ห ลั ง พ ว ก เ ข า ป ฏิ เ ส ธ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง นี้ เป็ นสิ่งที่นักฟิสิกส์หว นกลับ ไป อภิป รายกันเรื่องเชิงศีลธรรมในการใช้ระเบิดป รมาณู ซึ่ง ดู เห มือ น เป็ น เรื่อง ขั ด แย้ ง กั น ใน ตัว เอ ง สาห รับ นั ก นิ ว เค ลีย ร์ฟิ สิก ส์เย อ รมัน ที่เชื่อฟังเสียงกระซิบของมโนธรรม และพยายามที่จะขัดขวางไม่ให้สร้างระเบิดปรมาณู ในขณะที่เพื่อนร่วมอาชีพทุ่มเทพลังความสามารถที่จะสร้างระเบิดปรมาณู บทที่ 30 วีรบุรุษ ผู้ร้ายหรือผู้ร่วมขบวนแห่ หลังสิ้นสุดสงครามโลกค รั้งที่ 2 การกักขังคุมตัว สร้างค วามกดดันเชิงจิตวิทย า ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว า ม เค รีย ด ระ ห ว่ า ง บุ ค ค ล แ ล ะ ค ว าม ห ม าง ใจ ที่ เพิ่ ม ที ล ะ น้ อ ย นัก วิท ย าศ าส ตร์ทั้ง สิบ ค น เค ย ท าง าน ภ าย ใต้ระบ อ บ การป กค รอง ข อง ฮิ ตเลอ ร์ แต่ไม่ มีผู้ใดยื ดอก รับ ค ว ามรับ ผิดช อบ เชิ ง ศีลธรรมสาห รับ การใช้ระบ อ บ น าซี นอก จาก ฮ าห์ น และเลาเออแล้ว มีเพีย ง การแสว งห าค ว ามช อบ ธรรม ให้ ตัว เอ ง และการรักษาชีวิตให้รอดหลังสงคราม ซึ่งแสดงให้เห็นเรื่องราวเหี้ยมโหดของระบอบนาซี มุมมองของวอร์กเกอร์วางอยู่บนรากฐานของการแบ่งนักวิท ยาศาสตร์เป็นสองกลุ่มให ญ่ กลุ่มแรกอ้าแขนรับลัทธินาซี กลุ่มสองเอาตัวออกห่างจากลัทธินาซีทั้งในทางศีลธรรมและการเมือง จ า ก จ ด ห ม า ย ข อ ง ไม ต์ เ น อ ร์ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ที่ ท า ง า น ใต้ ร ะ บ อ บ น า ซี จ บ ล ง ด้ ว ย ค ว า ม เ ศ ร้ า เ สี ย ใ จ แ ล ะ ก า ร ต า ห นิ ต น เ อ ง โดย ช ะตากรรมนักวิท ย าศ าสตร์ข อง ฮิตเลอร์ห ลังสงค รามต่าง แตกต่างกับ ออกไป บางคนก็ทางานให้องค์กรในเยอรมัน บางคนก็บาดหมางใจกันจนคืนดีกันไม่ได้ บทที่ 31 การปล้นสมบัติทางวิทยาศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการแข่งกันปล้นทรัพย์ทางวิทยาศาสตร์ในระหว่างสงครามของฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษประกาศว่า การแย่งชิงแปลนและผลงานวิจัยพัฒนาอาวุธเยอรมัน เป็นเรื่องสาคัญที่สุด ต้อ ง ท า ให้ ทั น ท่ ว ง ที ข น ถ่ าย นั ก วิ ท ย าศ าส ต ร์จาก เย อ รม นี ม ายั ง ป ร ะเท ศ เร า เ พื่ อ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง อั ง ก ฤ ษ ในขณะที่รัสเซียและฝรั่งเศสกระทาเช่นเดียวกัน รัสเซียถอดโรงงานทั้งโรงออกเป็ นชิ้นๆ ส่งกลับไปประกอบที่ประเทศของตนพร้อมด้วยคนงาน อังกฤษและอเมริกาก็ทาเช่นเดียวกัน ในระยะแรกอเมริกาให้นักวิทยาศาสตร์เยอรมันอาศัยอยู่ในโรงเรือนค่ายทหารได้อาหารอิ่มหมีพีมัน ได้เงินเดือน สิทธิพิเศษ และเสรีภาพขอบเขต ส่วนในสหภาพโซเวียตไม่ได้ดีไปกว่าอังกฤษและอเมริกา บ า ง เ ล ว ร้ า ย ยิ่ ง ก ว่ า มีการประมาณการว่านักวิทยาศาสตร์และวิศวกรเยอรมันถูกกวาดต้อนไปสหภาพโซเวียต ราว 6000-
  • 17. 100000 ค น ถู ก ส่ ง ไป อ ยู่ ที่ เ ก า ะ โ ก โล ด อ ม เ ลี ย ก ล า ง ท ะ เ ล ส า บ เ ซ ลิ เ ก อ ร์ ซี ในช่วงนั้นนักวิทยาศาสตร์ต้องทางาน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หากไปทางานสายจะถูกปรับ นันทนาการจะเป็นการเล่นแฮนด์บอลและเทนนิส ภาคที่แปด: วิทยาศาสตร์จากสงครามเย็นสู่สงครามต่อต้านก่อการร้าย บทที่ 32 ทัศนะนิวเคลียร์ ผู้ ร่ ว ม เ ส ว น า ไ ป ยั ง ฟ า ร์ ม ฮ อ ล ล์ ที่ มีการโต้แย้งกันถึงการสร้างระเบิดป รมาณู ลูกแรกข องโลกข องอังกฤษและอเมริกัน มีผู้สนับสนุนว่าการใช้ระบิดปรมาณูย่นเวลาทาสงคราม และมีคนเสียชีวิตน้อยกว่าการใช้อาวุธธรรมดา ผู้โต้แ ย้ ง ว่ าก ารใช้ ระ เบิ ด ป รม า ณู จ ะ น าไป สู่ ก าร ใช้ ระ เบิ ด ที่ ร้า ย แ รง ม าก ขึ้ น นักวิท ศาสตร์ที่ลอสอะลามอสป้ องกันไม่ให้ฮิตเลอร์มีระเบิดปรมาณู ธันวาค มปี 194 4 พ บ ว่ าฮิ ต เลอ ร์ไม่ มีระเบิ ด ใน ปี 1 9 4 9 รัสเซีย ท ด สอ บ ระเบิ ด ป รม าณู ลู ก แร ก สหรัฐเริ่มงานวิจัยระเบิดไฮโดรเจนในปี 1947 และทดลองระเบิดครั้งแรก 1 พฤศจิกายน 1952 ซาก ารอฟ ถูก สั่ง ให้ท าง าน ที่ “อินสตอลเลชัน” ศู นย์พัฒ น าอาวุ ธ นิว เค ลีย ร์รัสเซีย ต่ อ ม า โ ซ เ วี ย ต พั ฒ น า อ า วุ ธ นิ ว เ ค ลี ย ร์ เ ชิ ง ยุ ท ธ วิ ธี ไ ด้ ส า เ ร็ จ อ เ ม ริ กั น พั ฒ น า จ น ปื น ธ ร ร ม ด า ใ ช้ ไ ด้ แ ต่ โ ซ เ วี ย ต ก็ ต า ม ส า เ ร็ จ จากวิกฤตขีปนาวุธทาให้โลกเลี่ยงการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 3 โดยบังเอิญ รัสเซียมีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 6 , 0 0 0 ลู ก แ ต่ เ สื่ อ ม ส ล า ย ล ง เ พ ร า ะ ข า ด ง บ บ า รุ ง รั ก ษ า สหภาพโซเวียตสร้างโรงไฟฟ้พลังงานนิวเคลียร์แห่งแรกที่เมืองโอมินสก์ ในปี 1954 ต่อมาสองปี อังกฤษก็สร้างที่วินด์สเกลในคัมเบอร์แลนด์ ในปี 1957 เตาปฏิกรณ์ชิปปิงพอร์ตในมลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกาเริ่มเดินเครื่อง กลางทศวรรษ 1970 มีโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 514 แห่งทั่วโลก บทที่ 33 เฉพาะนาซีเท่านั้นหรือ? ระบอบนาซีปั้นแต่งและส่งเสริมวิทยาสาสตร์เก๊หยามเหยียดเชื้อชาติ นาไปสู้ค่ายมรณะ ซึ่ ง ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ผ ล ง า น ค รั้ง ห นึ่ ง เ ดี ย ว ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ม นุ ษ ย ช า ติ เรียกได้เต็มปากว่าเป็นผลงานวิทยาศาสตร์นาซี การนามนุษย์มาทดลองโดยไม่ได้รับความยินยอม ซึ่ ง ไ ต่ ถึ ง ร ะ ดั บ น่ า ส ย ด ส ย อ ง เ หี้ ย ม โ ห ด ผิ ด ม นุ ษ ย์ ใ น มื อ ข อ ง น า ซี ใช่ว่าจะเกิดขึ้นครั้งแรกและที่เดียวในค่ายมรณะ ในช่วงสงครามญี่ปุ่นสร้างค่ายกักกันในประเทศต่าง ๆ มีที ม วิจัย นาม นุ ษ ย์ ห ลาย พัน ค น ม าท ด ลอง เชื้ อโรค ร้าย แรง และย าพิษ สารเค มี การใช้แรงงานทาสจนล้มตายเป็นใบไม้ร่วงเกิดขึ้นในสหภาพโซเวียต การขุดคลองบอลติก-ทะเลขาว ใ ช้ แ ร ง ง า น นั ก โ ท ษ ล้ ม ต า ย ไ ป ก ว่ า 1 5 0 , 0 0 0 ค น ความเชื่ อมโยงกับ การใช้แรงงานท าสนาซียังค งดาเนินต่อไป แม้สงครามจะสิ้นสุดลง ก า ร ก ร ะ ท า ท า รุ ณ ต่ อ แ ร ง ง า น ท า ส ใ น ยุ ค น า ซี รุ่ ง เ รื อ ง
  • 18. แฉให้เห็นความลี้ลับที่ว่าปาฏิหาริย์ทางเศรษฐกิจของเยอรมนี เกิดจากการใช้แรงงานทาสที่เรียกว่า “ศูนย์ชั่วโมง” ในการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ของอังกฤษ บนเกาะของออสเตรเลีย จงใจให้ทหารได้รับรังสี เพื่อบันทึกผลที่มีต่อร่างกาย ในโซเวียตมีการต้อยเฉลยศึก ไป กักขังบนเกาะแรงเกิล เพื่ อ ท ด ล อ ง กั ม มัน ต รัง สีต่ อ ร่าง ก าย ม นุ ษ ย์ ก ารป รา ก ฏ ตัว ข อ ง ค อม พิ ว เต อ ร์ ช่ ว ย ใ ห้ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ส ร้ า ง แ บ บ จ า ล อ ง ไปจนถึงการคานวณมหาศาลและวิเคราะห์ด้วยความเร็วสูง “โลกาภิวัตน์” ทาให้เศรษฐกิจไร้พรมแดน เงิน เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และสินค้า เคลื่อนถึงกันอย่างไม่มีอะไรขวางกั้น จรรยาบรรณการโคลนนิ่ง โครงการจีโนมมนุษย์ดาเนินไปท่ามกลางความขัดแย้งเรื่องสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญา ในเวลาเดียว กันก็ป ลุกปัญ ห าคว ามเกี่ยว ข้องระห ว่างการวินิจฉัย โรค กับ พันธุศ าสตร์ และยังมีปัญหาเรื่องการโคลนนิ่งอีก บทที่ 34 วิทยาศาสตร์ทาสงครามอีกครั้ง ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล อ เ ม ริ ก า วิท ย าศ าสต ร์แท บ ทุ กสาข ามรศักย ภ าพ ที่ จะใช้ เป็ น อาวุ ธใน สงค รามก่ อการร้าย การโจมตีตึกเวิลด์เท รดจนถล่มราบ ตามด้วยการก่ อการร้ายด้วยเชื้อโรคแอนแทรกซ์ ส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อการบริหารจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐบาลสหรัฐและประเทศอื่น ๆ ในโลกตะวันตก นักวิท ยาศ าสตร์อาจรู้สึกถึงผลกระท บ ภาระและค ว ามเสียห าย เ ชื้ อ โ ร ค น า น า ป ร ะ เ ภ ท ถื อ ว่ า มี ห น ท า ง น า ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ ส อ ง ท า ง ทั้ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ อ า วุ ธ ก่ อ ก า ร ร้ า ย วอชิงตันเชื่อว่าสงครามที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจะสู้รบโดยความเหนือชั้นเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข องฝ่ายอเมริกา ไม่ว่าจะเป็นการสอดแนมข้อมูล ระเบิดอัจฉริยะ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ สงค รามสู้รบผ่านภาพจาลอง สงครามในโลกเสมือนจริงที่ท าลายล้างเป้ าหมาย ได้จริง นักวิทยาศาสตร์ที่ดีจะไม่ยอมนามนุษย์มาใช้เป็นเหยื่อทดลองเพื่อเป็นเครื่องมือไปสู้ผลลัพธ์ หลักการดังกล่าวนับวันจะซับซ้อนเหมือนที่เราพบเห็นในวงการเทคโนโลยีชีวภาพและพันธุศาสตร์ “นักวิทยาศาสตร์เป็นมนุษย์เป็นอันดับแรก และเป็นนักวิทยาศาสตร์ในลาดับสอง” คนกลุ่มนี้จะสอดส่อง ตรวจสอบ และส่งเสียงเตือนภัยให้สาธารณะชนได้ทราบ หากมีการฉกฉวยใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ ไปก่อภัยคุกคาม ไม่เพียงแต่ดินแดนอเมริกา หากแต่เป็นสังคมและผู้คนทุกหนแห่ง สิ่งแวดล้อม สันติภาพ มนุษยชาติ และธรรมชาติโดยรวม