SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์
สมบัติ นราวุฒิชัย
เลขาธิ การ                      ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหา
สมาคมนักวิเคราะห์ หลักทรั พย์      และเศรษฐกิจไทยปรับ
sombat@saa-thai.org
www.saa-thai.org
                                        โครงสร้าง
22 มกราคม 2556
ประสบการณ์ทางาน, การสอน และอื่นๆ ของผูบรรยาย
                                           ้
 ด้านวิเคราะห์การลงทุน & บริหารสายงานวิจย รวม 24 ปี , 5 บริษัทหลักทรัพย์
                                                                ั
  (วิเคราะห์ดานปั จจัยพื้ นฐาน, วิเคราะห์ดานเทคนิ ค, กลยุทธ์การลงทุน, Head of Research)
                 ้                                        ้
 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ชุมนุ มสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย
 วิเคราะห์สินเชื่อและโครงการ ธนาคาร กสิกรไทย
 อาจารย์พิเศษ สอนระดับปริญญาโท ม.เกษตรศาสตร์ 21 ปี และ NIDA 7 ปี , สอน
 หลักสูตรของสมาคมจัดการลงทุน, ม.ศรีปทุม, ม.ธรรมศาสตร์, ม.กรุงเทพ, จุฬาลงกรณ์ฯ
 + หัวข้อบรรยาย ได้แก่ – การวิเคราะห์หลักทรัพย์และประเมินมูลค่าหุน          ้
                               – การวิเคราะห์ทิศทางตลาดหุนด้วยปั จจัยพื้ นฐาน
                                                                  ้
                               – การวิเคราะห์หนทางเทคนิ ค
                                                     ุ้             – วิกฤตเศรษฐกิจกับตลาดทุน
                               – การใช้งบการเงิน เพื่อวิเคราะห์หลักทรัพย์
 กรรมการโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการ (CG) บจ.ปี 53-54 ของ IOD
 คณะทางานกาหนดมาตรฐานความรูและโครงสร้างหลักสูตรผูแนะนาการลงทุน ของ TSI
                                                        ้                 ้
ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริมผูลงทุนไทย, สภาธุรกิจตลาดทุนไทย
                                      ้
คอลัมนิสต์ “ฟิ ตเนสการลงทุน” นสพ. โพสต์ทเดย์ 9 ปี (ดูบทความได้ที่ www.saa-thai.org)
                                                              ู
        สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                     ิั                                                                       2
เปาหมายดาเนินงานสหกรณ์ออมทรัพย์ตางจากสถาบันการเงินทั ่วไป
  ้                             ่
  สถาบันการเงินทัวไป/ บริษัททัวไป คือ การสร้างความมังคังสูงสุด/ กาไรสูงสุดให้กบ
                  ่            ่                     ่ ่                       ั
   องค์กร
  ส.อ. คือ การสร้างประโยชน์ สงสุดให้แก่สมาชิก (มีท้งผูกู,้ ผูฝาก และผูรอรับปั นผล)
                               ู                    ั ้ ้              ้
   ต้องสร้างความสมดุลระหว่างความต้องการของผูกู/ ผูฝาก/ ผูรอรับปั นผล
                                                 ้ ้ ้          ้
  ผูถือหุนรายใหญ่ในบริษัท มีประโยชน์ จากความใหญ่ ชี้ ทิศทางบริษัทได้
     ้ ้
   ผูถือหุนใหญ่ใน ส.อ. ไม่มีสิทธิมากกว่ารายย่อย รายย่อยเข้ามามีส่วนช่วยคิดช่วย
      ้ ้
   กิจกรรม




        สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                     ิั                                                               3
สถานการณ์เกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์ของไทย
 มีรากฐานมายาวนาน เป็ นที่รจกในหลายกลุ่มสังคมอาชีพ
                            ู้ ั
 จานวนสหกรณ์ออมทรัพย์ประมาณ 1,400 แห่ง กระจายทัวทุกภาค ทุกจังหวัด หลากหลาย
                                                ่
    อาชีพ มูลค่ารวมสินทรัพย์กว่า 1 ล้านล้านบาท ผ่านพ้นยุคเติบโตสูง สู่ยุคเติบโตปกติ
   จานวนสมาชิกของ ส.อ. 2.6 ล้านคน ขยายตัวช้าๆ ปี ละ 1.5%
   ส่วนใหญ่ฐานสมาชิกไม่ค่อยทับซ้อนกัน เพราะแยกตามองค์กรที่ทางาน
    ยกเว้น สมาชิกสมทบของสามี/ ภรรยา
   การแข่งขันแย่งลูกค้าสมาชิกระหว่าง ส.อ.จึงไม่รุนแรง แต่เป็ นการแข่งกับสถาบันการเงินอื่น/
    แหล่งเงินอื่นมากกว่า
    อย่างไรก็ตามธุรกิจระหว่าง ส.อ.กับ ส.อ.อื่นมีการแข่งขันสูงพอสมควร
   ส.อ. ที่แยกตามหน่ วยงานอาชีพ ได้แก่ (ณ ก.ค.54) (เฉพาะสมาชิกของ ชส.อ.)
            + สาธารณสุข/ โรงพยาบาล                 136
            + ส่วนราชการ                           117
            + ตารวจ                                116

         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                                  4
สถานการณ์เกี่ยวกับ สหกรณ์ออมทรัพย์ของไทย
 ส.อ. ที่แยกตามหน่ วยงานอาชีพ ได้แก่ (ณ ก.ค.54) ต่อ
         + ทหาร                                107
         + ครู                                 103
         + รัฐวิสาหกิจ                           49
         + สถาบันอุดมศึกษา                       28
         + เอกชนและอื่นๆ                       288
                   รวม                         944
 บทบาทของ ส.อ. ที่มีต่อสมาชิก
         + แหล่งออมเงินสาคัญ ผลตอบแทนดี ที่เสี่ยงน้อย (ทั้งฝากเงิน และถือหุน)
                                                                            ้
         + แหล่งเงินกูที่สะดวก ดอกเบี้ ยจ่ายตา
                       ้                     ่
         + กิจกรรมทางสังคม สวัสดิการเพิ่มเติมในชีวตหลายๆ เรื่อง
                                                    ิ
         + สมาชิกทุกคนเป็ นทั้งลูกค้าและเจ้าของ มีส่วนร่วมคิดร่วมกากับติดตาม ส.อ.
 ยังมีคนจานวนมากที่ไม่รวา ตัวเองสามารถเข้าเป็ นสมาชิก ส.อ.หรือไม่รวา ส.อ.น่ าสนใจ
                           ู้ ่                                       ู้ ่
  อย่างไร
       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                               5
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก
1. สถานการณ์ในยูโรโซน
   - ปั ญหาหนี้ สาธารณะพอกพูนจากการขาดดุลงบประมาณ
   - ว่างงานยังสูงมาก (11.8% ขณะที่กรีซ 26.8%), เศรษฐกิจชะลอ/ ถดถอย
   - มาตรการรัดเข็มขัดการใช้จ่ายของรัฐบาล
     : ลดรายจ่ายรัฐบาล ลดจ้างงาน ลดค่าจ้าง/ สวัสดิการ
     : เพิ่มรายได้รฐบาล โดยเพิ่มภาษี บางอย่าง เช่น VAT
                    ั
     : ผลคือ เศรษฐกิจอ่อนลงอีกในระยะแรก
   + ให้น้ าเกลือด้วยมาตรการการเงิน (กดดอกเบี้ ยตามาก, ฉีดปริมาณเงินเข้าระบบ (QE))
                                                  ่
   + ผลจากมาตรการการเงิน ส่งผลให้ดอกเบี้ ยโลกและไทยกดลงตา      ่



       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                           6
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 1)
2. สถานการณ์สหรัฐ ยุคโอบามา 2
   - ขนาดเศรษฐกิจ 16 ล้านล้าน$
     : สหรัฐเองก็มีปัญหาขาดดุลงบประมาณสูง และสะสมหนี้ สาธารณะ 100% ของ GDP
     : วิธีแก้ปัญหาต้องใช้มาตรการรัดเข็มขัดเช่นกัน
     : โอบามาและพรรคเดโมแครต ไม่อยากลดงบรายจ่าย โดยเฉพาะสวัสดิการ
       สาธารณสุข ส่วนพรรครีพบลิกน ซึ่งครองเสียงข้างมากในสภาคองเกรส ไม่
                                   ั ั
       ต้องการให้ขึ้นภาษี ผมีรายได้สง แต่อยากให้ตดลดงบรายจ่ายเช่น สวัสดิการ
                             ู้         ู               ั
       สาธารณสุขแทน
     : ล่าสุดนั้น จะปรับขึ้ นภาษี ผที่มีรายได้ต้งแต่ครัวเรือนละ 450,000 เหรียญ สรอ.ต่อปี
                                    ู้          ั



          สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                       ิั                                                             7
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 2)
   : ส่วนเรื่องตัดรายจ่ายและขยายเพดานหนี้ ยังเจรจากันอยู่
- ภาวะเศรษฐกิจสหรัฐชะลอการเติบโต
  + ตัวเลขว่างงานยังสูงอยู่     เมื่อลดมาตรการการคลัง จึงต้องอาศัยมาตรการการเงิน
  + ดอกเบี้ ยนโยบาย 0-0.25% จนถึงกลางปี 58
  + อัดฉีดเงินเข้าระบบ (QE4) เดือนละ 85,000 ล้าน $ จนกว่าการว่างงานจะลดลง
     แตะ 6.5% และตราบเท่าที่เงินเฟ้ อในระยะกลางไม่พงขึ้ นเหนื อ 2.5%
                                                      ุ่
     : ดอกเบี้ ยพันธบัตรสหรัฐจึงลงตามาก
                                     ่
     : มีผลกระทบถึงดอกเบี้ ยทัวโลกด้วย เม็ดเงินลงทุนไหลสู่ประเทศที่แข็งแรง
                              ่
  + โอบามาชื่นชม นายเบอร์นันเก้ ประธานเฟด เป็ นสิ่งยืนยันทิศทางนโยบายการเงิน
     ของสหรัฐ
  + สถานการณ์การเมืองโลกไม่รุนแรงทางการทหาร
      สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                   ิั                                                              8
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 3)
3. เศรษฐกิจยุครัฐบาลปู 3             4 5.....
   + เม็ดเงินลงทุนจากโลกไหลเข้าต่อ         กดดอกเบี้ ยตาลง/ บาทแข็งนิ ดๆ
                                                       ่
   + ภาคส่งออกชะลอจากสภาพเศรษฐกิจยุโรปเป็ นต้นตอ
   - เดินหน้าค่าแรง 300 บาททัวประเทศ
                                   ่
         + ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ และใช้แรงงานน้อย จะดีขึ้น
         o ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ แต่ใช้แรงงานมาก
         - ธุรกิจส่งออกเป็ นหลัก
         - ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ แต่มีสินค้านาเข้ามาแข่งมาก
   + รถคันแรก : เพิ่มยอดผลิตชัวคราวตลอดปี 56
                                 ่
               : ระวังหน้าผาการผลิต กลางปี 57

       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                     9
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 4)
      : รถคันแรก รวมทั้งหนี้ รถก้อนแรก ติดตามหนี้ ค้างชาระปี 57
      : ธุรกิจเกี่ยวโยง มีรายได้ดีตลอดถึงกลางปี 57 แต่หลังจากนั้นโปรดจับตา
+ เดินหน้าลงทุนโครงสร้างพื้ นฐานสาธารณูปโภค
+ คาดการณ์ GDP ไทยปี 56 และ 57 โต 4.6% และ 4.7% ตามลาดับ




 สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
              ิั                                                             10
วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น
  Strengths: จุดแข็ง
   ได้รบศรัทธา ความร่วมมือจากลูกค้าซึ่งก็คือผูถือหุน
         ั                                     ้ ้
   กฎหมายสนั บสนุ นเรื่องการหักเงินเดือนชาระหนี้ เป็ นจุดที่ช่วยลดความเสี่ยงอย่าง
     มหาศาล
   มีความมันคง และได้รบความเชื่อมันจากลูกค้า
               ่           ั          ่
   เพิ่มทุนง่าย ขั้นตอนเร็ว
   ผูกพันใกล้ชิดกับลูกค้าสมาชิก, มีสวัสดิการให้
   ได้รบการสนั บสนุ นจากบริษัทนายจ้างของสมาชิก
           ั
   ต้นทุนของส่วนทุนค่อนข้างตา (Cost of EQUITY) ประมาณ 6%
                               ่
   หนี้ ต่อทุนตาประมาณ 1:1 ฐานะแข็งแรง
                 ่
   แต่ละ ส.อ.เหมือนได้แบ่งเขตการตลาดไม่ทบซ้อนกัน
                                             ั
         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                             11
วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น
  Weaknesses: จุดอ่อน
   ส่วนของทุนไม่ถาวร เป็ นเสมือนหนี้ กึ่งทุน (ไถ่ถอนได้เมื่อลาออกจากสมาชิก) ส.อ.
    ภาคเอกชนมีความเสี่ยงมากกว่า ส.อ.ของหน่ วยราชการและรัฐวิสาหกิจ
   การลงทุนในหุนมีขอจากัด ลงได้เพียงหุนธนาคาร/ รัฐวิสาหกิจ
                  ้ ้                      ้
   ด้วยความที่หนี้ ตา, ทุนสูง ทาให้ ROE ตากว่าสถาบันการเงินอื่นๆ
                     ่                       ่
   จ่ายปั นผลหมด จึงต้องระดมทุนด้วยการเพิ่มทุนใหม่ๆ เท่านั้ น
   บริการยังไม่สะดวกพอ โดยเฉพาะนอกเวลาทาการ นอกสถานที่ต้งของ ส.อ. ั
   บุคลากร เมื่อเทียบกับบรรดาธนาคาร
   ยังต้องพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับตัวลูกหนี้ ลูกค้า



         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                            12
วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น
  Opportunities: โอกาส
   การปรับขึ้ นของค่าแรง, เงินเดือน ทาให้สมาชิกของหลาย ส.อ. มีรายได้, ฐานะ, กระแส
    เงินสดดีขึ้น (ถ้าไม่ใช่ธุรกิจที่ได้รบผลลบ)
                                        ั
   การลดการคุมครองเงินฝากธนาคารที่น่าจะเกิดขึ้ นในอนาคต
                  ้
   การเรียนรูดูงานจาก ส.อ.ในต่างประเทศ รวมถึง ส.อ.ในประเทศและรวมทั้ง ชส.อ.ใน
                ้
    ประเทศ ช่วยให้ ส.อ. ต่างๆ พัฒนาเรียนรูได้อีกมาก ต่างจากธนาคารพาณิชย์ที่การดู
                                               ้
    งานข้ามธนาคารเป็ นไปได้ยาก
   เปิ ด AEC ทาให้เศรษฐกิจการค้าคล่องตัวยิงขึ้ น่
   การเกิดขึ้ นของ AEC ทาให้ภาพรวมของ AEC (รวมทั้งไทย) แข็งแรงขึ้ นในการแข่งขันกับ
    ภูมิภาคอื่น       ส.อ.ส่วนใหญ่ขยายตัว


         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                        13
วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น
  Threats: อุปสรรค, ภัยคุกคาม
   การเพิ่มขึ้ นของค่าแรงขั้นตา และการเข้าสู่ AEC อาจทาให้สมาชิกและหน่ วยงานของ
                               ่
     สมาชิกเอกชนบางธุรกิจหดหายไป
   AEC ทาให้ธนาคารในภูมิภาคอาเซียนขยับเข้าแข่งขันในประเทศเพิ่มขึ้ น แรงกดดันต่อ
     spread อัตราดอกเบี้ ย อาจส่งผลกระทบมาถึง ส.อ.ได้
   เศรษฐกิจโลกยังไม่แข็งแรง ความเสี่ยงที่ยโรโซน, สหรัฐ, ญี่ปุ่นยังมี
                                            ู
   ยุคสังคมผูสงอายุ, ผูเกษี ยณกระจุกตัว ทาให้การเติบโตของ ส.อ.ในอนาคตช้าลงอีก
                 ู้      ้
   การลดลงของอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลเหลือ 20% ในปี 56 ทาให้ความได้เปรียบของ
     ส.อ.ลดน้อยลง



         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                     14
แนวทางต่อสูขององค์กรเล็ก เมื่อต้องสูกบองค์กรใหญ่
                ้                        ้ั
 เทียบเคียงจากนั กชกร่างเล็ก (แก้ว พงษ์ประยูร)
   + การ์ดที่รดกุม การ์ดสูง เน้นปองกันแน่ นหนา
              ั                  ้
   + เข้าออกด้วยความเร็ว ออกหมัดเร็ว แม้หมัดไม่หนักเพราะตัวเล็ก
   + ออกหมัดต่อเนื่ อง ชุดเล็ก และชุดใหญ่สลับกันไปไม่หยุดนิ่ ง
   + มุมานะ ใช้พรแสวงฝึ กซ้อม เตรียมตัวยาวนาน เพื่อก้าวมาสู่โอลิมปิ ค

 สิ่งที่สหกรณ์ออมทรัพย์ โชคดีกว่าแก้วคือ กรรมการไม่ได้ลาเอียงเข้าข้างคู่ต่อสู ้ แต่มี
  กฎหมายหลายข้อที่ช่วย ส.อ. มากมาย เช่น ได้หกเงินเดือนลูกหนี้ ก่อน, ไม่เสียภาษี
                                            ั
  และค่าธรรมเนี ยมหลายอย่าง



       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                               15
แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหา, เศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง

  1. การวิเคราะห์สถานะขององค์กรต้นสังกัดของสมาชิก ส.อ. (SWOT, 5FORCES MODEL,
     วิเคราะห์ความเสี่ยงทางการเงิน ฯลฯ)

  2. การวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง
     + ส.อ.ต้องประเมินความเสี่ยงและแนวโน้มของการจ้างงานสมาชิกของ ส.อ.
     + กรณีมีความเสี่ยงของการเลิกจ้างงานสูง ส.อ.เตรียมการรับมือปั ญหาอย่างไร
       - การไถ่ถอนหุนเมื่อออกจากงาน
                       ้
       - การถอนเงินฝากจะเกิดหรือไม่
       - การชาระหนี้ หากบริษัทที่สมาชิกทางานหยุดกิจการเพราะไปไม่รอด
     + การวิเคราะห์และคัดกรองลูกหนี้
     + อัตราดอกเบี้ ยเงินกูคุมกับระดับความเสี่ยง
                           ้ ้
         สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                      ิั                                                       16
แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ)

3. พัฒนาความเข้มแข็งในแต่ละด้านของ ส.อ.
  3.1 การบริหารจัดการต่างๆ
      - การพัฒนาความรูของผูบริหารให้ทนต่อสถานการณ์เศรษฐกิจ และการเงินของ
                              ้ ้       ั
          โลก, ภูมิภาคอาเซียน และของไทย
      - การคัดเลือกคุณภาพของกรรมการ, ผูจดการและพนักงาน สอดรับกับโจทย์ที่ยาก
                                           ้ั
          ขึ้ นในโลกยุคปั จจุบนั
      - การประสานงานกับ ส.อ.อื่นๆ, และกับ ชส.อ. เพื่อสร้างความเข้มแข็ง, ลด
          การแข่งขันที่เกินจาเป็ น
      - การลดต้นทุนบริหารจัดการ, ระบบคอมพิวเตอร์, ระบบบัญชี ฯลฯ
  3.2 เพิ่มความเข้มแข็งทางการเงิน สาหรับ ส.อ.ของเอกชนที่ได้รบผลกระทบ
                                                            ั


      สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                   ิั                                                  17
แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ2)
4. การให้ความรูแก่สมาชิกในเรื่องบริหารเงินของครอบครัวและผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อ
                     ้
   ธุรกิจของบริษัทต้นสังกัด
    -สามารถประเมินความไม่แน่ นอนของอนาคตตนเอง ระดับความเสี่ยงในการกู ้ การ
      บริโภค
    - การพัฒนาตนเองให้มีความรูความสามารถในหน้าที่การงานขององค์กรได้ดีขึ้น
                                               ้
    - ศึกษาเรียนรูเ้ รื่องราวทางโครงสร้างเศรษฐกิจ การเงิน ธุรกิจ สังคม การปกครองของ
      ประเทศ AEC ต้องรูเ้ ขาให้ได้
5. พลิกโฉมทางการตลาด
    - ภาพลักษณ์การปรับโฉมแบบที่ธนาคารเก่าแก่หลายแห่งทา, หรือแบบ MAZDA3 สร้าง
      Brand ใหม่, เกาหลีพลิกโฉมประเทศ
    - การเจาะตลาดใหม่ การส่งเสริมการตลาดรูปแบบใหม่เข้าถึงคนที่อยูในข่ายเข้ามาเป็ น
                                                                      ่
สมาชิกได้ หรือเป็ นสมาชิกสมทบ
          สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                       ิั                                                          18
แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ3)

6. แนวคิดใหม่ๆ ที่อาจเป็ นไปได้ หรือต้องหาทางผลักดัน
   + ลดความเสี่ยงของลูกหนี้ ด้วยการมีหลักประกันเพิ่ม เช่น รถยนต์, บ้าน สาหรับกรณีที่
     ทางานกับองค์กรที่ความเสี่ยงสูง
   + สร้างวัฒนธรรมจ่ายปั นผลเป็ นเงินสดบางส่วน เป็ นหุนบางส่วน
                                                       ้
   + ขอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ให้ลงทุนหุนของกิจการลูกของรัฐวิสาหกิจได้
                                         ้
   + แผนรองรับช่วงสังคมผูสงอายุ ซึ่งการออมเพิ่มมีน้อย แต่ไถ่ถอนเงินออมมากขึ้ น
                            ู้
   + เป็ นไปได้หรือไม่ที่จะทาให้หน ส.อ.มีความใกล้เคียงทุนถาวรยิ่งขึ้ น เช่น หุนที่ให้ไถ่
                                 ุ้                                           ้
     ถอนหลังจากซื้ อไปแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี




       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                              19
หลักการบริหารเงินและการลงทุน
   แหล่งที่มากับแหล่งใช้ไปของเงิน มีกาหนดเวลาใกล้เคียงกัน ยกเว้นช่วงเวลาพิเศษ
   ผลตอบแทนที่สง คุมกับระดับความเสี่ยง
                  ู ้
   มีสภาพคล่องพอดี ถ้ามากเกินไปผลตอบแทนตา แต่ถาสภาพคล่องน้อยไปก็เสี่ยง
                                                ่      ้
   การวิเคราะห์แนวโน้มเศรษฐกิจ ดอกเบี้ ยในระยะ 1 ปี ข้างหน้าสาคัญมาก
   ต้องทราบถึงระดับความเสี่ยงที่สหกรณ์จะรับได้ และต้องไม่เสี่ยงเกินระดับนั้น
   ประเมินระดับความเสี่ยงของตราสารที่จะลงทุนได้ถูกต้องใกล้เคียง
   การกระจายการลงทุน ลดความไม่แน่ นอน




       สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                    ิั                                                           20
เรื่องที่ตองติดตามใกล้ชิดสาหรับการบริหารงานสหกรณ์ออมทรัพย์
          ้
 1. ทิศทางดอกเบี้ ยจะไปทางไหน, ท่าทีของผูมีบทบาทสาคัญกับดอกเบี้ ย
                                         ้
 2. วางแผนปรับทิศการระดมเงินฝาก, การปล่อยกู ้
         ถ้าดอกเบี้ยจะขึ้น : ปล่อยกูส้น, รับฝากยาว
                                    ้ั
         ถ้าดอกเบี้ยหยุดขึ้น : ปล่อยกูยาวขึ้ นบ้าง, รับฝากไม่ยาวมาก
                                         ้
         ถ้าดอกเบี้ยใกล้ลง : ปล่อยกูยาวล๊อคดอกเบี้ ยคงที่, รับฝากสั้น
                                       ้
 3. เมื่อ GDP เร่งตัว, ประชาชนมีรายได้สงขึ้ น >>> ประมาณการสินทรัพย์สหกรณ์
                                       ู
    จะสูงเร็วขึ้ น
 4. ถ้าเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ลูกหนี้ และสมาชิกอาจประสบปั ญหาแบบฉับพลัน ต้อง
    ระวังและปองกันล่วงหน้า
                 ้

        สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                     ิั                                                      21
แนวคิดต่างๆ ที่นามาดัดแปลงใช้ในการบริหารงานได้
   Change, พลิกโฉม
   รูเ้ ขา รูเ้ รา
   กองทัพเดินได้ดวยท้อง
                     ้
   เลี้ ยงทหารพันวันใช้ในสงครามวันเดียว
   High tech + High touch
   ยุคนี้ มีดีตองอวด
                   ้
   เกมรับแน่ น โต้กลับเร็ว
   เกมรุกหลากหลายแนวทาง
   เจอทัพใหญ่กว่าต้องรบแบบกองโจร
   Talk of the town
   ข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดีตองซื้ อโฆษณา
                          ้
    สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
                 ิั                                         22

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4moneycoach4thai
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1moneycoach4thai
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursEarn LikeStock
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาChainarong Maharak
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองThailandCoop
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
KPI for Thailand Future
KPI for Thailand FutureKPI for Thailand Future
KPI for Thailand FuturePeerasak C.
 
20120245 t11 capital
20120245 t11 capital20120245 t11 capital
20120245 t11 capitalLumi Doll
 

What's hot (13)

เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
KPI for Thailand Future
KPI for Thailand FutureKPI for Thailand Future
KPI for Thailand Future
 
Ppt 271005 mahidol miraclegrand
Ppt 271005 mahidol miraclegrandPpt 271005 mahidol miraclegrand
Ppt 271005 mahidol miraclegrand
 
20120245 t11 capital
20120245 t11 capital20120245 t11 capital
20120245 t11 capital
 

Viewers also liked

医療教授システム学会Mar2013
医療教授システム学会Mar2013医療教授システム学会Mar2013
医療教授システム学会Mar2013Shin Yamamoto
 
копия мастер класс
копия мастер класскопия мастер класс
копия мастер классnobody2014
 
Grupo de desenvolvimento pessoal global
Grupo de desenvolvimento pessoal globalGrupo de desenvolvimento pessoal global
Grupo de desenvolvimento pessoal globalCharles A. Resende
 
Grupo trabalhonatura grupo 208
Grupo trabalhonatura grupo 208Grupo trabalhonatura grupo 208
Grupo trabalhonatura grupo 208Kleber Balestere
 
Trabajo Practico Grupal Hudema y Samaniego
Trabajo Practico Grupal Hudema y SamaniegoTrabajo Practico Grupal Hudema y Samaniego
Trabajo Practico Grupal Hudema y Samaniegorose jonas
 
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraços
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraçosWindows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraços
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraçosjmpcard
 
Neve na grande florianopolis
Neve na grande florianopolisNeve na grande florianopolis
Neve na grande florianopolisjmpcard
 
Palheiros
PalheirosPalheiros
Palheirosjmpcard
 
O que trazemos e o que levamos
O que trazemos e o que levamosO que trazemos e o que levamos
O que trazemos e o que levamosjmpcard
 
Slide Info Ii Semana 7
Slide Info Ii Semana 7Slide Info Ii Semana 7
Slide Info Ii Semana 7loth1007
 
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)NNSS Visual Universes
 
Grupo trabalhonatura ver 2
Grupo trabalhonatura ver 2Grupo trabalhonatura ver 2
Grupo trabalhonatura ver 2Kleber Balestere
 
Comunicare la sostenibilità
Comunicare la sostenibilitàComunicare la sostenibilità
Comunicare la sostenibilitàFederica Zabini
 

Viewers also liked (20)

医療教授システム学会Mar2013
医療教授システム学会Mar2013医療教授システム学会Mar2013
医療教授システム学会Mar2013
 
копия мастер класс
копия мастер класскопия мастер класс
копия мастер класс
 
Momentos Presenciais
Momentos PresenciaisMomentos Presenciais
Momentos Presenciais
 
Desenho de Curriculo Baseado em Competencias
Desenho de Curriculo Baseado em CompetenciasDesenho de Curriculo Baseado em Competencias
Desenho de Curriculo Baseado em Competencias
 
Tutoria em EAD
Tutoria em EADTutoria em EAD
Tutoria em EAD
 
MEB
MEBMEB
MEB
 
Grupo de desenvolvimento pessoal global
Grupo de desenvolvimento pessoal globalGrupo de desenvolvimento pessoal global
Grupo de desenvolvimento pessoal global
 
Grupo trabalhonatura grupo 208
Grupo trabalhonatura grupo 208Grupo trabalhonatura grupo 208
Grupo trabalhonatura grupo 208
 
Trabajo Practico Grupal Hudema y Samaniego
Trabajo Practico Grupal Hudema y SamaniegoTrabajo Practico Grupal Hudema y Samaniego
Trabajo Practico Grupal Hudema y Samaniego
 
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraços
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraçosWindows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraços
Windows 1252''lisboa - as melhores esplanadas e terraços
 
Neve na grande florianopolis
Neve na grande florianopolisNeve na grande florianopolis
Neve na grande florianopolis
 
Powerpoint presentations(ucy.ac.cy)
Powerpoint presentations(ucy.ac.cy)Powerpoint presentations(ucy.ac.cy)
Powerpoint presentations(ucy.ac.cy)
 
Abecedario Cristiano
Abecedario CristianoAbecedario Cristiano
Abecedario Cristiano
 
HSP BI F1
HSP BI F1HSP BI F1
HSP BI F1
 
Palheiros
PalheirosPalheiros
Palheiros
 
O que trazemos e o que levamos
O que trazemos e o que levamosO que trazemos e o que levamos
O que trazemos e o que levamos
 
Slide Info Ii Semana 7
Slide Info Ii Semana 7Slide Info Ii Semana 7
Slide Info Ii Semana 7
 
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)
NNSS Universos Visuales (Versión Castellano)
 
Grupo trabalhonatura ver 2
Grupo trabalhonatura ver 2Grupo trabalhonatura ver 2
Grupo trabalhonatura ver 2
 
Comunicare la sostenibilità
Comunicare la sostenibilitàComunicare la sostenibilità
Comunicare la sostenibilità
 

Similar to การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Sarinee Achavanuntakul
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012jaoa1002
 

Similar to การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง (20)

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
งานธุรการ
งานธุรการงานธุรการ
งานธุรการ
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012
 

การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง

  • 1. การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ สมบัติ นราวุฒิชัย เลขาธิ การ ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหา สมาคมนักวิเคราะห์ หลักทรั พย์ และเศรษฐกิจไทยปรับ sombat@saa-thai.org www.saa-thai.org โครงสร้าง 22 มกราคม 2556
  • 2. ประสบการณ์ทางาน, การสอน และอื่นๆ ของผูบรรยาย ้  ด้านวิเคราะห์การลงทุน & บริหารสายงานวิจย รวม 24 ปี , 5 บริษัทหลักทรัพย์ ั (วิเคราะห์ดานปั จจัยพื้ นฐาน, วิเคราะห์ดานเทคนิ ค, กลยุทธ์การลงทุน, Head of Research) ้ ้  ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ชุมนุ มสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย  วิเคราะห์สินเชื่อและโครงการ ธนาคาร กสิกรไทย  อาจารย์พิเศษ สอนระดับปริญญาโท ม.เกษตรศาสตร์ 21 ปี และ NIDA 7 ปี , สอน หลักสูตรของสมาคมจัดการลงทุน, ม.ศรีปทุม, ม.ธรรมศาสตร์, ม.กรุงเทพ, จุฬาลงกรณ์ฯ + หัวข้อบรรยาย ได้แก่ – การวิเคราะห์หลักทรัพย์และประเมินมูลค่าหุน ้ – การวิเคราะห์ทิศทางตลาดหุนด้วยปั จจัยพื้ นฐาน ้ – การวิเคราะห์หนทางเทคนิ ค ุ้ – วิกฤตเศรษฐกิจกับตลาดทุน – การใช้งบการเงิน เพื่อวิเคราะห์หลักทรัพย์  กรรมการโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการ (CG) บจ.ปี 53-54 ของ IOD  คณะทางานกาหนดมาตรฐานความรูและโครงสร้างหลักสูตรผูแนะนาการลงทุน ของ TSI ้ ้ ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริมผูลงทุนไทย, สภาธุรกิจตลาดทุนไทย ้ คอลัมนิสต์ “ฟิ ตเนสการลงทุน” นสพ. โพสต์ทเดย์ 9 ปี (ดูบทความได้ที่ www.saa-thai.org) ู สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 2
  • 3. เปาหมายดาเนินงานสหกรณ์ออมทรัพย์ตางจากสถาบันการเงินทั ่วไป ้ ่  สถาบันการเงินทัวไป/ บริษัททัวไป คือ การสร้างความมังคังสูงสุด/ กาไรสูงสุดให้กบ ่ ่ ่ ่ ั องค์กร  ส.อ. คือ การสร้างประโยชน์ สงสุดให้แก่สมาชิก (มีท้งผูกู,้ ผูฝาก และผูรอรับปั นผล) ู ั ้ ้ ้ ต้องสร้างความสมดุลระหว่างความต้องการของผูกู/ ผูฝาก/ ผูรอรับปั นผล ้ ้ ้ ้  ผูถือหุนรายใหญ่ในบริษัท มีประโยชน์ จากความใหญ่ ชี้ ทิศทางบริษัทได้ ้ ้ ผูถือหุนใหญ่ใน ส.อ. ไม่มีสิทธิมากกว่ารายย่อย รายย่อยเข้ามามีส่วนช่วยคิดช่วย ้ ้ กิจกรรม สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 3
  • 4. สถานการณ์เกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์ของไทย  มีรากฐานมายาวนาน เป็ นที่รจกในหลายกลุ่มสังคมอาชีพ ู้ ั  จานวนสหกรณ์ออมทรัพย์ประมาณ 1,400 แห่ง กระจายทัวทุกภาค ทุกจังหวัด หลากหลาย ่ อาชีพ มูลค่ารวมสินทรัพย์กว่า 1 ล้านล้านบาท ผ่านพ้นยุคเติบโตสูง สู่ยุคเติบโตปกติ  จานวนสมาชิกของ ส.อ. 2.6 ล้านคน ขยายตัวช้าๆ ปี ละ 1.5%  ส่วนใหญ่ฐานสมาชิกไม่ค่อยทับซ้อนกัน เพราะแยกตามองค์กรที่ทางาน ยกเว้น สมาชิกสมทบของสามี/ ภรรยา  การแข่งขันแย่งลูกค้าสมาชิกระหว่าง ส.อ.จึงไม่รุนแรง แต่เป็ นการแข่งกับสถาบันการเงินอื่น/ แหล่งเงินอื่นมากกว่า อย่างไรก็ตามธุรกิจระหว่าง ส.อ.กับ ส.อ.อื่นมีการแข่งขันสูงพอสมควร  ส.อ. ที่แยกตามหน่ วยงานอาชีพ ได้แก่ (ณ ก.ค.54) (เฉพาะสมาชิกของ ชส.อ.) + สาธารณสุข/ โรงพยาบาล 136 + ส่วนราชการ 117 + ตารวจ 116 สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 4
  • 5. สถานการณ์เกี่ยวกับ สหกรณ์ออมทรัพย์ของไทย  ส.อ. ที่แยกตามหน่ วยงานอาชีพ ได้แก่ (ณ ก.ค.54) ต่อ + ทหาร 107 + ครู 103 + รัฐวิสาหกิจ 49 + สถาบันอุดมศึกษา 28 + เอกชนและอื่นๆ 288 รวม 944  บทบาทของ ส.อ. ที่มีต่อสมาชิก + แหล่งออมเงินสาคัญ ผลตอบแทนดี ที่เสี่ยงน้อย (ทั้งฝากเงิน และถือหุน) ้ + แหล่งเงินกูที่สะดวก ดอกเบี้ ยจ่ายตา ้ ่ + กิจกรรมทางสังคม สวัสดิการเพิ่มเติมในชีวตหลายๆ เรื่อง ิ + สมาชิกทุกคนเป็ นทั้งลูกค้าและเจ้าของ มีส่วนร่วมคิดร่วมกากับติดตาม ส.อ.  ยังมีคนจานวนมากที่ไม่รวา ตัวเองสามารถเข้าเป็ นสมาชิก ส.อ.หรือไม่รวา ส.อ.น่ าสนใจ ู้ ่ ู้ ่ อย่างไร สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 5
  • 6. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก 1. สถานการณ์ในยูโรโซน - ปั ญหาหนี้ สาธารณะพอกพูนจากการขาดดุลงบประมาณ - ว่างงานยังสูงมาก (11.8% ขณะที่กรีซ 26.8%), เศรษฐกิจชะลอ/ ถดถอย - มาตรการรัดเข็มขัดการใช้จ่ายของรัฐบาล : ลดรายจ่ายรัฐบาล ลดจ้างงาน ลดค่าจ้าง/ สวัสดิการ : เพิ่มรายได้รฐบาล โดยเพิ่มภาษี บางอย่าง เช่น VAT ั : ผลคือ เศรษฐกิจอ่อนลงอีกในระยะแรก + ให้น้ าเกลือด้วยมาตรการการเงิน (กดดอกเบี้ ยตามาก, ฉีดปริมาณเงินเข้าระบบ (QE)) ่ + ผลจากมาตรการการเงิน ส่งผลให้ดอกเบี้ ยโลกและไทยกดลงตา ่ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 6
  • 7. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 1) 2. สถานการณ์สหรัฐ ยุคโอบามา 2 - ขนาดเศรษฐกิจ 16 ล้านล้าน$ : สหรัฐเองก็มีปัญหาขาดดุลงบประมาณสูง และสะสมหนี้ สาธารณะ 100% ของ GDP : วิธีแก้ปัญหาต้องใช้มาตรการรัดเข็มขัดเช่นกัน : โอบามาและพรรคเดโมแครต ไม่อยากลดงบรายจ่าย โดยเฉพาะสวัสดิการ สาธารณสุข ส่วนพรรครีพบลิกน ซึ่งครองเสียงข้างมากในสภาคองเกรส ไม่ ั ั ต้องการให้ขึ้นภาษี ผมีรายได้สง แต่อยากให้ตดลดงบรายจ่ายเช่น สวัสดิการ ู้ ู ั สาธารณสุขแทน : ล่าสุดนั้น จะปรับขึ้ นภาษี ผที่มีรายได้ต้งแต่ครัวเรือนละ 450,000 เหรียญ สรอ.ต่อปี ู้ ั สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 7
  • 8. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 2) : ส่วนเรื่องตัดรายจ่ายและขยายเพดานหนี้ ยังเจรจากันอยู่ - ภาวะเศรษฐกิจสหรัฐชะลอการเติบโต + ตัวเลขว่างงานยังสูงอยู่ เมื่อลดมาตรการการคลัง จึงต้องอาศัยมาตรการการเงิน + ดอกเบี้ ยนโยบาย 0-0.25% จนถึงกลางปี 58 + อัดฉีดเงินเข้าระบบ (QE4) เดือนละ 85,000 ล้าน $ จนกว่าการว่างงานจะลดลง แตะ 6.5% และตราบเท่าที่เงินเฟ้ อในระยะกลางไม่พงขึ้ นเหนื อ 2.5% ุ่ : ดอกเบี้ ยพันธบัตรสหรัฐจึงลงตามาก ่ : มีผลกระทบถึงดอกเบี้ ยทัวโลกด้วย เม็ดเงินลงทุนไหลสู่ประเทศที่แข็งแรง ่ + โอบามาชื่นชม นายเบอร์นันเก้ ประธานเฟด เป็ นสิ่งยืนยันทิศทางนโยบายการเงิน ของสหรัฐ + สถานการณ์การเมืองโลกไม่รุนแรงทางการทหาร สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 8
  • 9. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 3) 3. เศรษฐกิจยุครัฐบาลปู 3 4 5..... + เม็ดเงินลงทุนจากโลกไหลเข้าต่อ กดดอกเบี้ ยตาลง/ บาทแข็งนิ ดๆ ่ + ภาคส่งออกชะลอจากสภาพเศรษฐกิจยุโรปเป็ นต้นตอ - เดินหน้าค่าแรง 300 บาททัวประเทศ ่ + ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ และใช้แรงงานน้อย จะดีขึ้น o ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ แต่ใช้แรงงานมาก - ธุรกิจส่งออกเป็ นหลัก - ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าในประเทศ แต่มีสินค้านาเข้ามาแข่งมาก + รถคันแรก : เพิ่มยอดผลิตชัวคราวตลอดปี 56 ่ : ระวังหน้าผาการผลิต กลางปี 57 สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 9
  • 10. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก (ต่อ 4) : รถคันแรก รวมทั้งหนี้ รถก้อนแรก ติดตามหนี้ ค้างชาระปี 57 : ธุรกิจเกี่ยวโยง มีรายได้ดีตลอดถึงกลางปี 57 แต่หลังจากนั้นโปรดจับตา + เดินหน้าลงทุนโครงสร้างพื้ นฐานสาธารณูปโภค + คาดการณ์ GDP ไทยปี 56 และ 57 โต 4.6% และ 4.7% ตามลาดับ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 10
  • 11. วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น Strengths: จุดแข็ง  ได้รบศรัทธา ความร่วมมือจากลูกค้าซึ่งก็คือผูถือหุน ั ้ ้  กฎหมายสนั บสนุ นเรื่องการหักเงินเดือนชาระหนี้ เป็ นจุดที่ช่วยลดความเสี่ยงอย่าง มหาศาล  มีความมันคง และได้รบความเชื่อมันจากลูกค้า ่ ั ่  เพิ่มทุนง่าย ขั้นตอนเร็ว  ผูกพันใกล้ชิดกับลูกค้าสมาชิก, มีสวัสดิการให้  ได้รบการสนั บสนุ นจากบริษัทนายจ้างของสมาชิก ั  ต้นทุนของส่วนทุนค่อนข้างตา (Cost of EQUITY) ประมาณ 6% ่  หนี้ ต่อทุนตาประมาณ 1:1 ฐานะแข็งแรง ่  แต่ละ ส.อ.เหมือนได้แบ่งเขตการตลาดไม่ทบซ้อนกัน ั สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 11
  • 12. วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น Weaknesses: จุดอ่อน  ส่วนของทุนไม่ถาวร เป็ นเสมือนหนี้ กึ่งทุน (ไถ่ถอนได้เมื่อลาออกจากสมาชิก) ส.อ. ภาคเอกชนมีความเสี่ยงมากกว่า ส.อ.ของหน่ วยราชการและรัฐวิสาหกิจ  การลงทุนในหุนมีขอจากัด ลงได้เพียงหุนธนาคาร/ รัฐวิสาหกิจ ้ ้ ้  ด้วยความที่หนี้ ตา, ทุนสูง ทาให้ ROE ตากว่าสถาบันการเงินอื่นๆ ่ ่  จ่ายปั นผลหมด จึงต้องระดมทุนด้วยการเพิ่มทุนใหม่ๆ เท่านั้ น  บริการยังไม่สะดวกพอ โดยเฉพาะนอกเวลาทาการ นอกสถานที่ต้งของ ส.อ. ั  บุคลากร เมื่อเทียบกับบรรดาธนาคาร  ยังต้องพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับตัวลูกหนี้ ลูกค้า สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 12
  • 13. วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น Opportunities: โอกาส  การปรับขึ้ นของค่าแรง, เงินเดือน ทาให้สมาชิกของหลาย ส.อ. มีรายได้, ฐานะ, กระแส เงินสดดีขึ้น (ถ้าไม่ใช่ธุรกิจที่ได้รบผลลบ) ั  การลดการคุมครองเงินฝากธนาคารที่น่าจะเกิดขึ้ นในอนาคต ้  การเรียนรูดูงานจาก ส.อ.ในต่างประเทศ รวมถึง ส.อ.ในประเทศและรวมทั้ง ชส.อ.ใน ้ ประเทศ ช่วยให้ ส.อ. ต่างๆ พัฒนาเรียนรูได้อีกมาก ต่างจากธนาคารพาณิชย์ที่การดู ้ งานข้ามธนาคารเป็ นไปได้ยาก  เปิ ด AEC ทาให้เศรษฐกิจการค้าคล่องตัวยิงขึ้ น่  การเกิดขึ้ นของ AEC ทาให้ภาพรวมของ AEC (รวมทั้งไทย) แข็งแรงขึ้ นในการแข่งขันกับ ภูมิภาคอื่น ส.อ.ส่วนใหญ่ขยายตัว สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 13
  • 14. วิเคราะห์ SWOT ของสหกรณ์ออมทรัพย์เทียบกับสถาบันการเงินอื่น Threats: อุปสรรค, ภัยคุกคาม  การเพิ่มขึ้ นของค่าแรงขั้นตา และการเข้าสู่ AEC อาจทาให้สมาชิกและหน่ วยงานของ ่ สมาชิกเอกชนบางธุรกิจหดหายไป  AEC ทาให้ธนาคารในภูมิภาคอาเซียนขยับเข้าแข่งขันในประเทศเพิ่มขึ้ น แรงกดดันต่อ spread อัตราดอกเบี้ ย อาจส่งผลกระทบมาถึง ส.อ.ได้  เศรษฐกิจโลกยังไม่แข็งแรง ความเสี่ยงที่ยโรโซน, สหรัฐ, ญี่ปุ่นยังมี ู  ยุคสังคมผูสงอายุ, ผูเกษี ยณกระจุกตัว ทาให้การเติบโตของ ส.อ.ในอนาคตช้าลงอีก ู้ ้  การลดลงของอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลเหลือ 20% ในปี 56 ทาให้ความได้เปรียบของ ส.อ.ลดน้อยลง สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 14
  • 15. แนวทางต่อสูขององค์กรเล็ก เมื่อต้องสูกบองค์กรใหญ่ ้ ้ั  เทียบเคียงจากนั กชกร่างเล็ก (แก้ว พงษ์ประยูร) + การ์ดที่รดกุม การ์ดสูง เน้นปองกันแน่ นหนา ั ้ + เข้าออกด้วยความเร็ว ออกหมัดเร็ว แม้หมัดไม่หนักเพราะตัวเล็ก + ออกหมัดต่อเนื่ อง ชุดเล็ก และชุดใหญ่สลับกันไปไม่หยุดนิ่ ง + มุมานะ ใช้พรแสวงฝึ กซ้อม เตรียมตัวยาวนาน เพื่อก้าวมาสู่โอลิมปิ ค  สิ่งที่สหกรณ์ออมทรัพย์ โชคดีกว่าแก้วคือ กรรมการไม่ได้ลาเอียงเข้าข้างคู่ต่อสู ้ แต่มี กฎหมายหลายข้อที่ช่วย ส.อ. มากมาย เช่น ได้หกเงินเดือนลูกหนี้ ก่อน, ไม่เสียภาษี ั และค่าธรรมเนี ยมหลายอย่าง สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 15
  • 16. แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหา, เศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง 1. การวิเคราะห์สถานะขององค์กรต้นสังกัดของสมาชิก ส.อ. (SWOT, 5FORCES MODEL, วิเคราะห์ความเสี่ยงทางการเงิน ฯลฯ) 2. การวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง + ส.อ.ต้องประเมินความเสี่ยงและแนวโน้มของการจ้างงานสมาชิกของ ส.อ. + กรณีมีความเสี่ยงของการเลิกจ้างงานสูง ส.อ.เตรียมการรับมือปั ญหาอย่างไร - การไถ่ถอนหุนเมื่อออกจากงาน ้ - การถอนเงินฝากจะเกิดหรือไม่ - การชาระหนี้ หากบริษัทที่สมาชิกทางานหยุดกิจการเพราะไปไม่รอด + การวิเคราะห์และคัดกรองลูกหนี้ + อัตราดอกเบี้ ยเงินกูคุมกับระดับความเสี่ยง ้ ้ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 16
  • 17. แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ) 3. พัฒนาความเข้มแข็งในแต่ละด้านของ ส.อ. 3.1 การบริหารจัดการต่างๆ - การพัฒนาความรูของผูบริหารให้ทนต่อสถานการณ์เศรษฐกิจ และการเงินของ ้ ้ ั โลก, ภูมิภาคอาเซียน และของไทย - การคัดเลือกคุณภาพของกรรมการ, ผูจดการและพนักงาน สอดรับกับโจทย์ที่ยาก ้ั ขึ้ นในโลกยุคปั จจุบนั - การประสานงานกับ ส.อ.อื่นๆ, และกับ ชส.อ. เพื่อสร้างความเข้มแข็ง, ลด การแข่งขันที่เกินจาเป็ น - การลดต้นทุนบริหารจัดการ, ระบบคอมพิวเตอร์, ระบบบัญชี ฯลฯ 3.2 เพิ่มความเข้มแข็งทางการเงิน สาหรับ ส.อ.ของเอกชนที่ได้รบผลกระทบ ั สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 17
  • 18. แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ2) 4. การให้ความรูแก่สมาชิกในเรื่องบริหารเงินของครอบครัวและผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อ ้ ธุรกิจของบริษัทต้นสังกัด -สามารถประเมินความไม่แน่ นอนของอนาคตตนเอง ระดับความเสี่ยงในการกู ้ การ บริโภค - การพัฒนาตนเองให้มีความรูความสามารถในหน้าที่การงานขององค์กรได้ดีขึ้น ้ - ศึกษาเรียนรูเ้ รื่องราวทางโครงสร้างเศรษฐกิจ การเงิน ธุรกิจ สังคม การปกครองของ ประเทศ AEC ต้องรูเ้ ขาให้ได้ 5. พลิกโฉมทางการตลาด - ภาพลักษณ์การปรับโฉมแบบที่ธนาคารเก่าแก่หลายแห่งทา, หรือแบบ MAZDA3 สร้าง Brand ใหม่, เกาหลีพลิกโฉมประเทศ - การเจาะตลาดใหม่ การส่งเสริมการตลาดรูปแบบใหม่เข้าถึงคนที่อยูในข่ายเข้ามาเป็ น ่ สมาชิกได้ หรือเป็ นสมาชิกสมทบ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 18
  • 19. แนวทางบริหาร ส.อ.ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาฯ (ต่อ3) 6. แนวคิดใหม่ๆ ที่อาจเป็ นไปได้ หรือต้องหาทางผลักดัน + ลดความเสี่ยงของลูกหนี้ ด้วยการมีหลักประกันเพิ่ม เช่น รถยนต์, บ้าน สาหรับกรณีที่ ทางานกับองค์กรที่ความเสี่ยงสูง + สร้างวัฒนธรรมจ่ายปั นผลเป็ นเงินสดบางส่วน เป็ นหุนบางส่วน ้ + ขอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ให้ลงทุนหุนของกิจการลูกของรัฐวิสาหกิจได้ ้ + แผนรองรับช่วงสังคมผูสงอายุ ซึ่งการออมเพิ่มมีน้อย แต่ไถ่ถอนเงินออมมากขึ้ น ู้ + เป็ นไปได้หรือไม่ที่จะทาให้หน ส.อ.มีความใกล้เคียงทุนถาวรยิ่งขึ้ น เช่น หุนที่ให้ไถ่ ุ้ ้ ถอนหลังจากซื้ อไปแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 19
  • 20. หลักการบริหารเงินและการลงทุน  แหล่งที่มากับแหล่งใช้ไปของเงิน มีกาหนดเวลาใกล้เคียงกัน ยกเว้นช่วงเวลาพิเศษ  ผลตอบแทนที่สง คุมกับระดับความเสี่ยง ู ้  มีสภาพคล่องพอดี ถ้ามากเกินไปผลตอบแทนตา แต่ถาสภาพคล่องน้อยไปก็เสี่ยง ่ ้  การวิเคราะห์แนวโน้มเศรษฐกิจ ดอกเบี้ ยในระยะ 1 ปี ข้างหน้าสาคัญมาก  ต้องทราบถึงระดับความเสี่ยงที่สหกรณ์จะรับได้ และต้องไม่เสี่ยงเกินระดับนั้น  ประเมินระดับความเสี่ยงของตราสารที่จะลงทุนได้ถูกต้องใกล้เคียง  การกระจายการลงทุน ลดความไม่แน่ นอน สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 20
  • 21. เรื่องที่ตองติดตามใกล้ชิดสาหรับการบริหารงานสหกรณ์ออมทรัพย์ ้ 1. ทิศทางดอกเบี้ ยจะไปทางไหน, ท่าทีของผูมีบทบาทสาคัญกับดอกเบี้ ย ้ 2. วางแผนปรับทิศการระดมเงินฝาก, การปล่อยกู ้ ถ้าดอกเบี้ยจะขึ้น : ปล่อยกูส้น, รับฝากยาว ้ั ถ้าดอกเบี้ยหยุดขึ้น : ปล่อยกูยาวขึ้ นบ้าง, รับฝากไม่ยาวมาก ้ ถ้าดอกเบี้ยใกล้ลง : ปล่อยกูยาวล๊อคดอกเบี้ ยคงที่, รับฝากสั้น ้ 3. เมื่อ GDP เร่งตัว, ประชาชนมีรายได้สงขึ้ น >>> ประมาณการสินทรัพย์สหกรณ์ ู จะสูงเร็วขึ้ น 4. ถ้าเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ลูกหนี้ และสมาชิกอาจประสบปั ญหาแบบฉับพลัน ต้อง ระวังและปองกันล่วงหน้า ้ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 21
  • 22. แนวคิดต่างๆ ที่นามาดัดแปลงใช้ในการบริหารงานได้  Change, พลิกโฉม  รูเ้ ขา รูเ้ รา  กองทัพเดินได้ดวยท้อง ้  เลี้ ยงทหารพันวันใช้ในสงครามวันเดียว  High tech + High touch  ยุคนี้ มีดีตองอวด ้  เกมรับแน่ น โต้กลับเร็ว  เกมรุกหลากหลายแนวทาง  เจอทัพใหญ่กว่าต้องรบแบบกองโจร  Talk of the town  ข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดีตองซื้ อโฆษณา ้ สมบัติ นราวุฒชย เลขาธิการ สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ิั 22