SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
สมาชิก
1. นางสาวกรรณิการ์ พรสกุลชาติ 54217202 มีเดียอาตส์
2. นางสาวชาลิสา เตชะวัชราภัยกุล 54217213 มีเดียอาตส์
3. นางสาวปารีณา ดือราแม 54217235 มีเดียอาตส์
4. นางสาวรัชนก ดิลกานนท์ 54217244 มีเดียอาตส์
5. นางสาววรางคณา มงคลรัตน์ 54217245 มีเดียอาตส์
6. นางสาว อริยา แก้วบรรดิษฐ์ 54217269 มีเดียอาตส์
7. นาย เจนภพ สุวรรณพงศ์ 54217273 มีเดียอาตส์
8. นาย เจนสิทธิ บุตรแขก 54218441 มีเดียทางการแพทย์
9. นาย นุกูล คาเลิศ 54218446 มีเดียทางการแพทย์
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
“เสรีภาพก็แค่คาๆหนึ่ง”
แนวคิดเสรีนิยมใหม่ยกย่องให้คาว่าศักดิ์ศรีและเสรีภาพของปัจเจกบุคคลเป็นหัวใจของแนวคิดซึ่
งก็เป็นการเลือกได้อย่างฉลาดเพราะพลังของทั้งสองคานี้เป็นสิ่งที่ดึงดูดคนที่เชิดชูความสามารถในการตั
ด สิ น ใ จ ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ยั ง มี ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ เ ส รี ภ า พ อ อ ก ไ ป
แ ล ะ อ เ ม ริ ก า มี ก า ร น า แ น ว คิ ด นี้ ไ ป ท ด ล อ ง ใ ช้ กั บ อิ รั ก
โดยสรรหาเหตุผลต่างๆมาพิสูจน์เพื่ อทาให้สงครามป้ องปรามอิรักเป็ นเรื่องจาเป็ น
ซึ่งมีการเอาอุดมคติเรื่องเสรีภาพมาเป็นข้ออ้างแต่ทุกอย่างก็ถูกเฉลยออกมาหลังจากประกาศ 4 ประการ
ถูกประกาศออกมา ดังนี้
-ทุนต่างชาติมีสิทธิถือครองธุรกิจในอิรักเต็มที่
-ทุนต่างชาติสามารถส่งกาไรกลับประเทศได้หมด
-ทุนต่างชาติควบคุมกิจการธนาคารของอิรักได้โดยสมบูรณ์
-การปฏิบัติต่อคนต่างชาติเยี่ยงคนในชาติ
ซึ่งเนื้อหาเน้นเรื่องการเอื้อประโยชน์ให้ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์เอกชน ภาคธุรกิจบริษัทข้ามชาติ
แ ล ะก ลุ่ ม ทุ น ก ารเงิน ทั้งสิ้ น เร าอ าจ ส รุป ได้ ว่ าก ารแ ผ่ ข ย าย ลัท ธิเส รีนิ ย ม ให ม่
ก า ร น า ไ ป ใ ช้ เ พื่ อ ก า ร ฟื้ น ฟู อ า น า จ ข อ ง ช น ชั้ น ผู้ น า ม า ตั้ ง แ ต่ แ ร ก
หลังจากถูกนาไปใช้ในการฟื้นฟูหลังปัญหาสะสมทุนพบว่าทาให้เกิดการกระจุกตัวของรายได้และความมั่
งคั่งในหมู่คนชนชั้นผู้นาอย่างรวดเร็ว ความเหลื่อมล้าของรายได้ประชากรเพิ่มขึ้น
ความรุ่งเรื่องของทฤษฏีลัทธิเสรีนิยมใหม่
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ถูกสนับสนุนกันมากโดยนักวิชาการ เศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์
และนักปรัชญา เขาร่วมกันก่อตั้ง สมาคมมองต์เพอเลอริน สมาชิกยังคงยึดมั่นในทัศนะของอดัม สมิธ
หลักความเชื่อแบบเสรีนิยมใหม่ต่อต้านการแทรกแซงของรัฐแบบถึงราก กลุ่มเสรีนิยมใหม่เสนอว่า
ก ร ตั ด สิ น ใ จ โ ด ย รั ฐ ล้ ว น ฉ า บ ท า ไ ป ด้ ว ย อ ค ติ ท า ง ก า ร เ มื อ ง
ที่ขึ้นอยู่กับกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆที่มีต่อรัฐจดยืนของลัทธิเสรีนิยมใหม่มีความขัดแย้งในตัวเองสูง
จน ท าให้ ห ลัก ป ฏิบัติถู ก แต่ งแล ะแป ลงโฉ ม ไป จากเดิม ม าก ใน ท ศ วรรษ ที่ 1970
ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ถู ก ส นั บ ส นุ น กั น ม า ก ขึ้ น
รวมทั้งอิทธิพลที่มากขึ้นและเริ่มเข้าไปมีบทบาทในภาคปฏิบัติของนโยบายหลายส่วน อาทิเช่น ใน ค.ศ.
1 9 7 9 ม า ร์ ก า เ ร ต แ ท ต เ ช อ ร์ น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ข อ ง อั ง ก ฤ ษ
ประกาศทางออกแบบเน้นอุปทานของสานักการเงิน เพื่อแก้ปัญญาหาภาวะเงินเฟ้อและชะลอเศรษฐกิจ
เขาเปลี่ยนมันได้แต่ไม่สาเร็จทั้งหมด
ความหมายของอานาจทางชนชั้น
ก า ร แ ผ่ ข ย า ย ข อ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ท า ใ ห้ ต้ อ ง จั ด ช น ชั้ น ขึ้ น ใ ห ม่
แกนกลางของอานาจชนชั้นอยู่ที่กลุ่มผู้บริหาร ซีอีโอ และรวมถึงผู้นากลไกทางการเงิน กฎหมาย
แ ล ะเท ค นิ ค ต่ างอ ย่างไรก็ต าม ไม่ ถู ก ต้ อ งที่ จะจากัด ช น ชั้น แ ค่ ค น ก ลุ่ ม นี้ เท่ านั้น
โอกาสของผู้ประกอบธุรกิจที่เปิดกว้างมากขึ้นเป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ระบบชนชั้นแบบใหม่เกิดขึ้นได้
ความหวังของเสรีภาพ
ค า รั ล โ บ ล า น ยี ก ล่ า ว ว่ า เส รี ภ า พ มี ส อ ง ป ร ะ เภ ท คื อ ดี แ ล ะ เล ว
ทว่าระบบเศรษฐกิจแบบตลาดได้สร้างเสรีภาพอีกแบบคือ เสรีภาพของมโนธรรม การพบปะ
ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ก า ร พ บ ป ะ ก า ร ร ว ม ตั ว
และเสรีภาพในการเลือกอาชีพแต่ในการดารงอยู่นั้นก็ต้องอาศัย กาลัง ความรุนแรง
แ ล ะ เ ผ ด็ จ ก า ร อ า น า จ นิ ย ม เ ท่ า นั้ น เ ส รี ภ า พ ดี ก า ลั ง พ่ า ย แ พ้
ส่วนเสรีภาพแล้วได้ชัยชนะข้อวินิจฉัยของโบลานยีดูเหมือนจะถูกต้อง เมื่อสหรัฐประการว่า
ใ น ฐ า น ะ ป ร ะ เท ศ ที่ มี อ า น า จ ที่ สุ ด มี พั น ธ กิ จ ต้ อ ง ช่ ว ย แ ผ่ ข ย า ย เส รีภ า พ
เสรีภาพที่สหรัฐอ้างอย่างสวยหรูสุดท้ายกลายเป็นเครื่องมือในการขยายอานาจผูกขาดของบริษัทเท่านั้น
พวกเขากล่อมให้เราเชื่อว่าเรามีชีวิตที่ดีภายใต้เสรีภาพระบอบเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่
ลัทธิเสรีนิยมใหม่มอบสิทธิและเสรีภาพให้แก่คนที่ไม่จาเป็นต้องมีรายได้
การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่
การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ มีค่านิยมทางวัฒนธรรมและจารีตประเพณี เช่น
ความเชื่อในพระเจ้าและประเทศชาติ หรือทัศนคติเกี่ยวกับสถานะของผู้หญิงในสังคม
ส า ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ ป ลุ ก ก ร ะ ด ม เ พื่ อ ปิ ด บั ง ค ว า ม จ ริ ง อื่ น ๆ
คาขวัญทางการเมืองอาจถูกนามาอ้างเพื่ออาพรางยุทธศาสตร์บางอย่างไว้ภายใต้เครื่องมือ
โ ว ห า ร ที่ ค ลุ ม เ ค รื อ ค า ว่ า เ ส รี ภ า พ
ฟังไพ เราะเส น าะหู ใน ค วาม เข้าใจแ บ บ ส านึ ก ส ามัญ ข อ งช าว อ เม ริกัน ส่ วน ให ญ่
ซึ่งเป็นปุ่มกดที่ชนชั้นสูงใช้เปิดประตูเข้าไปหามวลชน และปัญหาทางการเมืองจึงคลี่คลายไม่ได้ หากถูก
อาพรางให้เป็นปัญหาทางวัฒนธรรม การสร้างความชอบธรรมแก่การเปลี่ยนแปลงไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่
ด้วยหลายช่องทางด้วยกัน มีการเผยแพ ร่อุดการณ์ ที่ทรงอิทธิพ ลผ่า นทางบรรษัท
สื่อมวลชนและสถาบันอีกมากมายที่กอปรขึ้นเป็นภาคประชาชน สังคม เช่นมหาวิทยาลัย โรงเรียน โบสถ์
“การเดินขบวนอันยาวนาน”คุณค่าของเสรีภาพปัจเจกบุคคลกับความยุติธรรมทางสังคมไม่จาเป็นต้องสอ
ดคล้องกับเสมอไปการแสวงหาความยุติธรรมทางสังคมจาต้องมีเงื่อนไขเบื้องต้นที่เรียกร้องความสมานฉั
น ท์ ท า ง สั ง ค ม
ตลอดจนความเต็มใจที่จะเก็บงาความต้องการความจาเป็นและความปรารถนาของปัจเจกบุคคลไว้ก่อน
เพื่อประโยชน์ของการต่อสู้เพื่อประเด็นส่วนรวม ซึ่งตั้งอยู่บนการเน้นย้าในเสรีภาพปัจเจกบุคคล
จึงมีพลังที่สามารถสร้างความแบ่งแยกระหว่างลัทธิอิสระมิยม การเมืองอัตลักษณ์ ลัทธิพหุวัฒธรรม
ต ล อ ด จ น ลั ท ธิ บ ริ โ ภ ค นิ ย ม ที่ ห ม ก มุ่ น ส น ใ จ แ ต่ ตั ว เ อ ง
กลุ่มพลังทางสังคมที่แสวงหาความยุติธรรมทางสังคมด้วยการพยายามได้มาซึ่งอานาจรัฐขบวนการทางก
ารเมืองใด ๆ ก็ต าม ที่ ถือว่าเส รีภ าพ ปัจเจก บุ ค ค ลเป็ น สิ่งศัก ดิ์สิท ธิ์แต ะต้อ งไม่ ได้
มักมีแนวโน้มที่จะถูกดูดกลืนเข้าไปอยู่ในฝ่ายเสรีนิยมใหม่
สหรัฐอเมริกา - ได้มีการปรับปรุงมหาวิทยาลัยได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษา
และได้มีการที่สถาบันการเงินกระทารัฐประหารเพื่อยึดอานาจจากรัฐบาลเมืองนิวยอร์กซิตีที่มาจากการเลื
อ ก ตั้ ง ต า ม ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
และผลที่เกิดขึ้นไม่แตกต่างจากการรัฐประหารของกองทัพความมั่งคั่งถูกกระจายไปให้ชนชั้นบนอีกครั้ง
ดังที่ เซ น วิน ให้ เห ตุ ผ ล ว่ า วิก ฤ ต ก ารณ์ ข อ งเมื อ งนิ ว ย อ ร์ก ก็ คื อ อ าก ารข อ ง
ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ให ม่ ที่ อ าศัย ก ารล ด อัต ราเงิน เฟ้ อ ล งค ว บ คู่ กับ ก ารก ระจ าย ราย ได้
ค ว า ม มั่ ง คั่ ง แ ล ะ อ า น า จ ใ ห ม่ โ ด ย เ อ า จ า ก ค น จ น ใ ห้ ค น ร ว ย
มันเป็ นการชิงชัยชนะขั้นเด็ดขาดในการทาสงครามครั้งใหม่ โดย วัตถุประสงค์คือ
การแสดงให้คนอื่นเห็นว่า สิ่งที่เกิดขึ้นต่อเมืองนิวยอร์กสามารถเกิดขึ้นกับทุกคนได้เหมือนกัน
ส ง ค ร า ม ค ว า ม คิ ด จึ ง มี บ ท บ า ท ส า คั ญ บ ล า ย ธ์ ชึ้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า
แ น ว คิ ด ท า ง เศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ที่ ถู ก ก ร ะ ด ม ม า ส นั บ ส นุ น ลั ท ธิ เส รีนิ ย ม ใ ห ม่
คือส่วนผสมที่ซับซ้อนของสานักการเงินนิยม การคาดการณ์อย่างมีเหตุผล
ทางเลือกสาธารณะ และแนวคิดเศรษฐศาสตร์ ด้านอุปทาน ถึงแม้ว่าจะไม่ค่อยนิยมนัก
แต่ก็มีอิทธิพลไม่น้อย เอ็ดซอลล์ ได้ว่า ในระหว่างทศวรรษ 1920 ปีกการเมืองของภาคธุรกิจสหรัฐ
ได้ดาเนินการรุกคืบเพื่อช่วงชิงอานาจครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุคหลัง ในช่วงต้นทศวรรษ
1 9 8 0 ภ า ค ธุ ร กิ จ
ได้ก้าวขึ้นสู่สถานะที่มีอิทธิพลและกุมความได้เปรียบในระดับที่ใกล้เคียงกับยุครุ่งเรืองในสมัยทศวรรษ
1 9 2 0
และได้เปรียบที่ช่วงชิงส่วนแบ่งความมั่งคั่งและรายได้ระดับชาติมาเป็นของตนในระดับที่ไม่เคยพบเห็นม
าก่อนการสร้างฉันทานุมัติในอังกฤษเกิดขึ้นแตกต่างออกไปมากที่เกิดขึ้นในแคนซัสแตกต่างมากจากสิ่งที่
เกิดขึ้นในยอร์กเชียร์ เนื่องจากจารีตทางวัฒนธรรมและการเมืองมีความแตกต่างดันมาก
ถึงแม้มีองค์ประกอบมากมายที่สามารถนามาสร้างฉันทานุมัติต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่
แ ต่ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ แ ท ต เ ช อ ร์ ค ง ไ ม่ มี ท า ง เ กิ ด ขึ้ น
หากไม่ใช่เป็นเพราะเกิดวิกฤตการณ์ในการสะสมทุนขั้นร้ายแรงในช่วงทศวรรษ 1970
ภาวะเงินเฟ้อควบคู่กับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจดังที่กรณีศึกษาทั้งสองกรณีได้แสดงเห็นชัดว่า
สภาพการณ์ภายในประเทศและผลพวงที่ตามมาจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ในอังกฤษและ
สหรัฐ นั้น มีความแตกต่างกันมากมายที่เดียว และเมื่อนากรณีศึกษานี้ไปเทียบเคียงกับกรณีอื่นๆ แล้ว
เราก็คาดการณ์ได้ว่า พลังภายในบวกกับพลังภายนอกและเงื่อนไขต่างๆ ย่อมมีบทบาทที่เด่นชัด
ในประเทศอื่นๆ เช่นกัน เรแกนและแทตเชอร์ใช้ประโยชน์จากแนวทางที่ตนมี
แ ล ะว างส ถ าน ะต น เอ งเป็ น หั ว ข อ งช น ชั้น ที่ มุ่ งมั่น จ ะฟื้ น ฟู อ าน าจ ข อ งตัว เอ ง
ความเป็นอัจฉริยะของทั้งสองก็คือการสร้างมรดกตกค้างและจารีตที่พัวพันรัดรึงนักการเมืองคนต่อมาไว้
ในข่ายใยของข้อจากัดที่ดิ้นหนีไม่หลุด ผู้นาการเมืองรุ่นต่อมา เช่น คลินตันและแบลร์
ไม่สามารถทาอะไรได้มากนัก ทั้งสองได้แต่สืบสานต่อผลงานการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่
ไม่ว่าจะสมัครใจหรือไม่ก็ตาม
รัฐเสรีนิยมใหม่ตามทฤษฎี
ตามทฤษฎีแล้ว รัฐเสรีนิยมใหม่ควรเข้าข้างสิทธิในกรรมสิทธิ์เอกชนที่เข้มแข็ง
หลักนิติธรรมและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดที่ทางานเป็นอิสระและการค้าเสรี
ทั้งหมดนี้คือระบบการจัดการเชิงสถาบันที่ถือเป็นหัวใจสาคัญในการรับประกันเสรีภาพของปัจเจกบุคคล
กรอบทางกฎหมายที่สาคัญคือรัฐจึงต้องอาศัยอานาจผูกขาดในการใช้ความรุนแรงมาธารงรักษาเสรีภาพเ
หล่านี้อย่างสุดความสามารถ
ก า ร เค ลื่ อ น ย้ า ย ทุ น ร ะ ห ว่ า ง ภ า ค ส่ ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ ป ร ะ เท ศ อ ย่ า ง เส รี
อุ ป ส รรค ทุ ก ป ระก ารที่ ขัด ข ว างก ารเค ลื่ อ น ย้าย ทุ น เส รีนั้น (เช่ น ก าแ พ งภ าษี
ก ารจัด ระบ บ ภ าษี เชิงล งโท ษ ก ารว างแ ผ น แ ล ะก ารค ว บ คุ ม ด้ าน สิ่งแ ว ด ล้อ ม
หรืออุปสรรคเชิงท้องถิ่นอื่นๆ ) ต้องขจัดให้หมดไป ยกเว้นในภาคส่วนที่สาคัญ ต่อ
“ผลประโยชน์แห่งชาติ”
ความตึงเครียดและความขัดแย้ง
ป ร ะ ก า ร แ ร ก มั น มี ปั ญ ห า ใ น ก า ร ตี ค ว า ม อ า น า จ ผู ก ข า ด
ก า ร แ ข่ ง ขั น มั ก ล ง เอ ย ด้ ว ย ก า ร ผู ก ข า ด ด้ ว ย ผู้ เล่ น ร า ย เดี ย ว ห รือ น้ อ ย ร า ย
เนื่ อ ง จ า ก บ ริษั ท ที่ เข้ ม แ ข็ ง ก ว่ า ย่ อ ม เบี ย ด ขั บ บ ริษั ท ที่ อ่ อ น แ อ ก ว่ า อ อ ก ไ ป
นั ก ท ฤ ษ ฎี เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ห็ น ว่ า เ รื่ อ ง นี้ ไ ม่ ใ ช่ ปั ญ ห า
ตราบใดที่ไม่มีอุปสรรคสาคัญมาขัดขวางการเข้ามาของผู้แข่งขันรายอื่นๆ
ประการที่สอง ประเด็นสาคัญต่อมาซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันก็คือ ปัญหาความล้มเหลวของตลาด
ปัญหานี้เกิดขึ้นเมื่อ ปัจเจกบุคคลและบริษัทหลีกเลี่ยงการจ่ายต้นทุนทั้งหมดที่ควรจ่าย
โดยโยนความรับผิดของตนออกไปนอกตลาด (ซึ่งมีศัพท์เทคนิคเรียกว่า “การผลักภาระ”)
ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ มี ส ม ม ติ ฐ า น ว่ า
ผู้ เล่ น ทุ ก ร า ย ใ น ต ล า ด ส า ม า ร ถ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร อ ย่ า ง เท่ า เที ย ม กั น
อีกทั้งมีสมมติฐานด้วยว่าความไม่สมมาตรของอานาจหรือข้อมูลข่าวสารที่จะรบกวนความสามารถของปั
จเจกบุคคลในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจอย่างมีเหจุผล เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง
ท ว่ าเงื่อ น ไข ดังก ล่ าว นี้ แ ท บ ไม่ เค ย ใก ล้ เคี ย งค ว าม เป็ น จ ริงใน ท างป ฏิ บั ติ เล ย
นี่ทาให้เกิดผลตามาที่มีนัยสาคัญผู้เล่นที่มีข้อมูลดีกว่าและมีอานาจมากกว่าย่อมมีข้อได้เปรียบที่จะทาให้
ผู้เล่น รายนั้น สั่งสม ข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น ไป อีกและมีอาน าจยิ่งกว่าเดิม ยิ่งไป กว่านั้น
การสร้างสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร)ขึ้นมากระตุ้น ให้เกิดการ “แสวงหาคาตอบแทน”
ผู้ ถื อ ค ร อ ง สิ ท ธิ บั ต ร ย่ อ ม ใช้ อ า น า จ ผู ก ข า ด ข อ ง ต น ก า ห น ด ร า ค า ผู ก ข า ด
รวมทั้งกีดกันไม่ให้เกิดการถ่ายทอดทางเทคโนโลยี
ป ร ะ ก า ร ที่ สี่ ใ น ท ฤ ษ ฎี เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่
ค ว า ม เป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เท ค โน โล ยี ตั้ง อ ยู่ บ น อ า น า จ ขู่ เข็ ญ ข อ ง ก า ร แ ข่ ง ขั น
ซึ่งขับดันการแสวงหาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ วิธีการผลิตใหม่ ๆ และรูปแบบการจัดองค์กรใหม่ ๆ
ประการสุดท้าย เราจาเป็นต้องกล่าวถึงปัญหาทางการเมืองพื้นฐานบางอย่างภายในลัทธิเสรีนิยมใหม่
มีความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมที่มุ่งการครอบครองทางวัตถุ ซึ่งแม้จะน่าดึงดูดใจ
แต่ก็เต็มไปด้วยความแปลกแยก ในขณะที่ยืนยันว่าปัจเจกบุคคลมีเสรีภาพในการเลือก
แต่ปัจเจกบุคคลกลับไม่สามารถเลือกที่จะสร้างสถาบันส่วนรวมที่เข้มแข็ง (เช่น สหภาพแรงงาน)
ซึ่งไม่ใช่แค่สมาคมอาสาสมัครที่อ่อนแอ
รัฐเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติ
ประการแรก การบิดเบนอย่างเป็นระบบจากต้นแบบของทฤษฎีเสรีนิยมใหม่เป็นสิ่งที่เห็นได้ในทันที
ซึ่งไม่อาจนิยามด้วยความขัดแย้งภายในที่กล่าวถึงข้างต้นได้ทั้งหมด
ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง พ ล วั ต เ ชิ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่
มีลักษณะที่บังคับให้เกิดการประยุกต์ที่แตกต่างกันอย่างมากในแต่ละสถานที่และในแต่ละช่วงเวลา
ค ว า ม พ ย า ย า ม ใด ๆ ที่ จ ะ ส ร้า ง ภ า พ ร ว ม ที่ เป็ น แ ม่ แ บ บ ข อ ง รัฐ เส รีนิ ย ม ให ม่
จากสภาพภูมิศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ที่ไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงบ่อยอย่างรวดเร็วนี้
ดูคล้ายภารกิจของคนโง่อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนคิดว่าคงมีประโยชน์ไม่น้อยหากวางเค้าโครง
คาอธิบายโดยรวมบางประการ ซึ่งจะชี้ให้เห็นมโนทัศน์เกี่ยวกับรัฐเสรีนิยมใหม่ได้แจ่มชัดขึ้น
ประการสุดท้าย ประเด็นที่เป็นปมปัญหาของรัฐเสรีนิยมใหม่ในการจัดการกับตลาดแรงงาน
ใ น แ ง่ ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ
รัฐเสรีนิยมใหม่จาเป็นต้องเป็นปฏิปักษ์ต่อความสมานฉันท์ทางสังคมทุกรูปแบบที่สร้างข้อจากัดต่อการสะ
ส ม ทุ น ส ห ภ า พ แ ร ง ง า น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ ห รื อ ข บ ว น ก า ร สั ง ค ม อื่ น ๆ
ซึ่ ง มี อ า น า จ ขึ้ น ม า ร ะ ดั บ ห นึ่ ง ภ า ย ใ ต้ ร ะ บ บ เส รี นิ ย ม ที่ มี ก า ร ก า กั บ ดู แ ล
จ า เ ป็ น ต้ อ ง ถู ก จั ด ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย ใ ห ม่ ห รื อ ไ ม่ ก็ ท า ล า ย ทิ้ ง ไ ป เ สี ย เ ล ย
ทั้งหมดนี้ในนามของอิสรภาพปัจเจกบุคคลอันศักดิ์สิทธิ์ของผู้ใช้แรงงานแต่ละคนที่แยกขาดจากกัน
“ความยืดหยุ่น” กลายเป็ นคาถาเกี่ยวกับตลาดแรงงาน เป็ นเรื่องยากที่จะโต้แย้งว่า
ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ที่ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ แ ย่ ทั้ ง ห ม ด
โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญกับการปฏิบัติของสหภาพแรงงานที่คับแคบและแข็งทื่อตายตัวมาก
ด้วยเห็นนี้เองจึงมีนักปฏิรูปของฝ่ายซ้ายที่ให้เหตุผลสนับสนุน “การสร้างความเชี่ยวชาญที่ยืดหยุ่น”
ถึงแม่จะมีผู้ใช้แรงงานบางคนได้รับประโยชน์จากความยืดหยุ่นนี้อย่างไม่ต้องสงสัย
แต่ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสารและอานาจที่เกิดขึ้น ประกอบกับการที่แรงงานไม่สามารถ
เค ลื่ อ น ย้ าย ได้ ส ะด ว ก แ ล ะเส รี ท าให้ แ รงงาน ต ก เป็ น ฝ่ าย เสีย เป รีย บ ม าก ก ว่ า
ฝ่ายทุนอาจฉวยโอกาสใช้ความเชี่ยวชาญที่ยืดหยุ่นนี้มาเป็นเครื่องมือกรุยทางให้เกิดวิธีการสะสมทุนที่ยื
ดหยุ่นมากขึ้น
จ า ก ค า อ ธิ บ า ย ข้ า ง ต้ น
เราสามารถมองเห็นชัดเจนว่าลัทธิเสรีนิยมใหม่ไม่ได้ทาให้รัฐหรือสถาบันใด สถาบันหนึ่งของรัฐ (เช่นศาล
และกลไกตารวจ) หมดความหมาย ดั่งที่ผู้สันทัดกรณีจากทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายกล่าวอ้าง
อ ย่ า งไรก็ ต าม มี ก า รป รับ โฉ ม ห น้ า ส ถ าบั น แ ล ะวิธีป ฏิ บั ติ ข อ งรัฐ อ ย่ า งลึก ซึ้ ง
(โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความสมดุลระหว่างการข่มขู่บังคับกับการยินยอมพร้อมใจ
ระหว่าอานาจของทุนกับขบวนการประชาชน ระหว่างอานาจบิหาร และอานาจตุลาการฝ่ายหนึ่ง
กาอานาจของระบอบประชาธิปไตย ตัวแทนอีกฝ่ายหนึ่ง)
แต่ไม่มีอะไรดาเนินไปด้วยดีในรัฐเสรีนิยมใหม่ด้วยเหตุนี้รัฐเสรีนิยมใหม่จึงดูเหมือนรูปแบบทางก
า ร เมื อ ง ที่ ไ ม่ มั่น ค ง ห รือ อ ยู่ ใน ช่ ว ง เป ลี่ ย น ผ่ า น ม า ก ก ว่ า หั ว ใจ ข อ ง ปัญ ห า
อยู่ที่ช่องว่างที่ถ่างกว้างขึ้นเรื่อยๆระหว่างเป้าหมายที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประกาศต่อสารธารณะ กล่าวคือ
ความอยู่ดีกินดีของทุกคนกับผลลัพธ์จริงที่เกิดขึ้น กล่าวคือ การฟื้นฟูอานาจขอองประชาชน
แต่นอกเหนือจากนี้ ยังมีความขัดแย้ง เฉพาะเจาะจงอีกชุดหนึ่งที่พึ่งกล่าวถึงให้กระจ่างชัดด้วย
1.รัฐเสรีนิยมใหม่ควรอยู่เฉย ๆ และทาหน้าที่เพียงแค่จัดเวทีให้กลไกตลาด แต่ในอีกด้านหนึ่ง
รัฐ ก ลั บ ถู ก ค า ด ห วั ง ใ ห้ มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ ดี
และประพฤติตัวเป็นองค์กรการเมืองที่แข่งขันกันในระดับโลก บทบาทประการหลังหมายความว่า
รัฐต้องทาหน้าที่ทางานในฐานะบรรษัทรวมหมู่นี่ทาให้เกิดปัญหาว่าจะรักษาความจงรักภักดีของพลเมือง
ไว้ด้วยวิธีไหน ลัทธิชาติคือคาตอบแรก
2.ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ อ า น า จ นิ ย ม ข อ ง ก ล ไ ก ต ล า ด
เ ข้ า กั น ไ ม่ ค่ อ ย ไ ด้ ง่ า ย นั ก กั บ อุ ด ม ค ติ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล
ยิ่ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ หั น เ ข้ า ห า อ า น า จ นิ ย ม ข อ ง ต ล า ด ม า ก เ ท่ า ไ ห ร่
ก็ยิ่งยากที่จะรักษาความชอบธรรมและยิ่งเปิดเผยให้เห็นธาตุแท้ที่ต่อต้านประชาธิปไตยออกมา
ความขัดแย้งนี้คู่ขนานมากับความไม่สมมาตรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
3.ลัทธิปัจเจกบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบและบ้าอานาจของผู้ปฏิบัติงานในภาคการเงิน
ก่อให้เกิดการเก็งกาไรที่คาดเดาไม่ได้ เรื่องอื้อฉาวทางการเงินและความไร้เสถียรภาพเรื้อรัง
เ รื่ อ ง อื้ อ ฉ า ว ว อ ส ต รี ท แ ล ะ ว ง ก า ร บั ญ ชี ใ น ช่ ว ง ไ ม่ กี่ ปี ห ลั ง นี้
ได้บั่น ท อน ค วามเชื่อมั่น และท าให้เกิดค าถ ามจริงจังต่ อ ห น่ วยงาน ก ากับ ดูแลว่า
หน่วยงานควรเข้าไปแทรกแซงเมื่อไรและอย่างไร ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ
4.อานาจผูกขาดตลาดและอานาจข้ามชาติของบรรษัทข้ามชาติเพียงไม่กี่บรรษัท
กลับมีความเข้มแข็งและรวมศูนย์มากขึ้นเรื่อย ๆ
5.ในระดับประชาชน แรงขับดันสู่ตลาดเสรีและการทาให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า
อ าจ ส ร้างค ว า ม เสี ย ห าย ท า ล าย ล้ า งแ ล ะก่ อ ให้ เกิ ด ก ารแ ต ก ส ล า ย ข อ งสังค ม
ก ารท าล าย ค ว าม ส ม าน ฉั น ท์ ท างสังค ม ทุ ก รูป แ บ บ ห รือ ดังที่ แช ต เต อ ร์ก ล่ าว ว่า
กระทั่งสังคมก็ไม่มีอยู่อีกต่อไป นี่ จะทิ้งช่องว่างถ่างกว้างออกไว้ในระเบียบ สังคม
ทาให้ยากยิ่งขึ้นที่จะต่อสู้เพื่อบรรทัดฐานทางจริยธรรมและควบคุมพฤติกรรมต่อต้านสังคมที่เป็นผลตาม
มา ไม่ว่าจะเป็นอาชญากรรม ภาพลามก หรือการกดขี่ผู้อื่นลงเป็นทาส การลดทอน เสรีภาพ เหลือแค่
เส รีภ า พ ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ก่ อ ให้ เกิ ด เส รีภ า พ เชิ ง ล บ ทั้ง ห ล า ย ทั้ง ป ว ง
ซึ่ งโป ล าน ยีเห็ น ว่ าเป็ น ป ม เงื่อ น ที่ ไม่ ส าม ารถ แ ย ก ข าด จ าก เส รีภ าพ เชิงบ ว ก
ปฏิกิริยาตอบโต้ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ การพยายามสร้างความสมานฉันท์ทางสังคมใหม่ขึ้นมา
แต่ด้วยแนวทางที่แตกต่างกันออกไปจากเดิมนี่เองคือต้นตอของการรื้อฟื้นความสนใจใจศาสนาและศีลธร
รม
คาตอบของฝ่ายอนุรักษ์นิยมใหม่
รัฐเสรีนิยมใหม่จาต้องอาศัยลัทธิชาตินิยมในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเพื่อการอยู่รอด
เมื่อรัฐจาต้องดาเนินการเป็นผู้แข่งขันในตลาดโลกและต้องหาทางสร้างบรรยากาศทางธุรกิจให้ดีที่สุดเท่าที่
ทาได้ รัฐต้องดึงลัทธิชาตินิยมมาใช้เพื่อให้ประสบความสาเร็จ การแข่งขันทาให้เกิดผู้ชนะและผู้พ่ายแพ้
ห มุ น เ วี ย น สั บ เ ป ลี่ ย น กั น ไ ป ใ น ก า ร ต่ อ สู้ ช่ ว ง ชิ ง ร ะ ดั บ โ ล ก
มั น อ า จ ท า ให้ เกิ ด ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใจ ร ะ ดั บ ช า ติ ห รือ อ า ก า ร ซึ ม ร ะ ดั บ ช า ติ ก็ ไ ด้
ลัทธิชาตินิยมในการแข่งขันกีฬาระหว่างชาติคือสัญญาณบ่งบอกเรื่องนี้
การที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่จูบปากกับลัทธิชาตินิยมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เป็นสิ่งที่มีอันตรายแฝงอยู่
แ ต่ ลั ท ธิ อ นุ รัก ษ์ นิ ย ม ให ม่ ที่ อ้ า แ ข น รับ เป้ า ห ม า ย ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ร ะ ดั บ ช า ติ
ก ลั บ เป็ น ภั ย ที่ คุ ก ค า ม ร้ า ย แ ร ง ยิ่ ง ก ว่ า ภ า พ ข อ ง รัฐ ห ล า ย ๆ ป ร ะ เท ศ
ต่ า ง ฝ่ า ย ต่ า ง ก็ เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม ที่ จ ะ ใ ช้ วิ ธี ก า ร ข่ ม ขู่ บั ง คั บ อ ย่ า ง เข้ ม ง ว ด
ในขณะเดียวกันก็เทศนาคุณค่าทางศีลธรรมที่ทึกทักว่าไม่เหมือนใครและเหนือกว่าผู้อื่น
แล้วต่างก็มาแข่งขันกันบนเวทีโลก นี่ไม่ใช่ภาพที่น่าวางใจเลย
สิ่ ง ที่ ดู เห มื อ น เ ป็ น ค า ต อ บ ต่ อ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ข อ ง ลั ท ธิ เส รี นิ ย ม ใ ห ม่
อาจกลายเป็นตัวปัญหาเสียเองได้ง่ายๆ การแผ่ขยายของกลุ่มอานาจอนุรักษ์นิยมใหม่
ซึ่ ง ใ น บ า ง ป ร ะ เท ศ ก ล า ย เป็ น ลั ท ธิ อ า น า จ นิ ย ม เต็ ม ตั ว (เช่ น ว ล า ดิ มี ร์
ปู ติ น ใ น รั ส เ ซี ย แ ล ะ พ ร ร ค ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ใ น ป ร ะ เ ท ศ จี น )
แ ม้ จ ะ มี ร า ก เห ง้ า ใ น ก า ร ก่ อ ตั ว ท า ง สั ง ค ม ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น อ ย่ า ง สิ้ น เชิ ง
ชี้ให้เห็นอันตรายของลัทธิชาตินิยมที่มีแนวโน้มจะแข่งขันกัน หรือกระทั่งทาสงครามระหว่างกัน
ห า ก นี่ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เ ลี่ ย ง ไ ม่ ไ ด้
มันก็เกิดมาจากลัทธิอนุรักษ์นิยมใหม่มากกว่าจะเกิดจากความแตกต่างระหว่างประเทศ
เพ ราะค วาม แต ก ต่ างก็ด ารงม าทุ ก ยุค ส มัย ดังนั้น เพื่ อ ห ลีก เลี่ย งห ายน ะเช่ น นี้
เราต้องคัดค้านการใช้ลัทธิอนุรักษ์นิยมใหม่มาเป็นทางออกต่อปัญหาความขัดแย้งของลัทธิเสรีนิยมใหม่
อย่างไรก็ตาม นี่หมายถึงการมีสมมติฐานเบื้องต้นว่า ยังมีทางเลือกอื่นอยู่
การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์
สาหรับแผนที่การเคลื่อนไหวที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่รุกคืบหน้าบนเวทีโลกมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1970
เป็ น ต้ น ม าใน เบื้ อ งต้ น ที่ สุ ด นั้น รัฐส่ ว น ให ญ่ ที่ หัน ไป ห าลัท ธิแ บ บ เส รีนิ ย ม ให ม่
มักนาแนวปฏิบัตินี้มาใช้แค่บางส่วน เช่นการปรับตลาดแรงงานให้มีความยืดหยุ่น
บ้างก็ลดกฏระเบียบในการดาเนินธุรกรรมทางการเงิน การแข่งขันระหว่างเขตปกครองต่างๆ
ว่าพื้นที่ไหนจะมีโมเดลที่ดีที่สุดสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการแข่งขันทานองนี้มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ในระบบความสัมพันธ์ทางการค้าที่ลื่นไหลและเปิดกว้างมากขึ้น
เห็นได้ชัดว่าสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาคือผู้นาขบวน แต่ในทั้งสองประเทศนี้
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก็ใช่ว่าจะไม่มีปัญหาถึงจะประสบความสาเร็จในการแปรรูปการเคหะและสาธารณูปโภค
แต่งานบริการสังคมที่เป็นแก่นกลางสาคัญ ยังคงไม่ถูกแตะต้องในสหรัฐอเมริกา
ที่จริงแล้วในทศวรรษ 1980 ถือเป็ นยุครุ่งเรืองของญี่ ปุ่น กลุ่ม "เสือเศรษฐกิจ"
ใ น เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ เ ย อ ร ม ณี ต ะ วั น ต ก
พื้ น ที่ เห ล่ านี้ เป็ น ก ลุ่ ม พ ลังที่ มีค ว าม ส าม ารถ ใน ก ารแ ข่ งขัน บ น เศ รษ ฐกิ จ โล ก
สามารถประสบความสาเร็จโดยไม่จาเป็นต้องดาเนินการปฏิรูปเบ็ดเสร็จแบบเสรีนิยมใหม่
ทาให้อ้างได้ยากว่าลัทธิเสรีนิยมใหม่สามารถแผ่ขยายในเวทีโลกก็เพราะมันคือยาแก้ปัญหาภาวะชะงักงัน
ทางเศรษฐกิจที่ได้ผล ส่วนทางฝั่งของเยอรมนีตะวันตกต้องทุ่มเทต่อสู้กับภาวะเงินเฟ้อมากเป็นพิเศษ
การลด รื้อ อุ ป ส รรค ท างการค้าล งทีละน้ อ ย ท าให้เกิด แรงก ด ดัน ท างก ารแข่งขัน
ซึ่งผลที่นาไปสู่กระบวนการอันซับซ้อนที่อาจเรียกว่า "การคืบคลานเข้ามาของลัทธิเสรีนิยมใหม่"
อย่างไรก็ตาม โมเดลแบบเยอรมนีตะวันตกและญี่ปุ่นไม่เอื้อต่อการฟื้นฟูอานาจของชนชั้น
ความไม่เท่าเทียมทางสังคมที่เพิ่มมากขึ้นซึ่งพบได้ในสหราชอาณาจักรและโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา
ห า ก เป้ า ห ม า ย คื อ ก า ร ฟื้ น ฟู อ า น า จ ท า ง ช น ชั้น ให้ แ ก่ ช น ชั้น น า ร ะ ดั บ บ น สุ ด
ถ้ า เ ช่ น นั้ น ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม แ บ บ ใ ห ม่ ก็ เ ป็ น ค า ต อ บ ที่ ชั ด เ จ น
ประเทศหนึ่งๆจะถูกผลักดันให้หันไปหาลัทธิเสรีนิยมใหม่หรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับดุลอานาจทางชนชั้น
ปัจจัยที่จะเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและฟื้นฟูอานาจทางชนชั้นจึงถูกวางหมากทีละน้อยแต่ไม่สม่าเสมอ
ในทศวรรณ 1980 และลงหลักปักฐานได้อย่างมั่นคงในทศวรรษ 1990
วิก ฤ ต ก ารณ์ ท างก ารเงิน เป็ น ทั้งโรค ป ระจาถิ่น แล ะโรค ติด ต่ อ ใน ว งก ว้าง
วิกฤตการณ์หนี้สินในทศวรรษ 1980 ไม่ได้จากัดอยู่แค่ในเม็กซิโก แต่แสดงอาการป่วยไปทั่วโลก
แล ะใน ช่ วงท ศ วรรษ 1990 เกิด วิห ฤ ต ก ารณ์ ท างก ารเงิน ส อ งชุ ด ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกัน
เผยให้เห็นร่องรอยด้านลบของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่อย่างไม่เท่าเทียม เช่น "วิกฤตการณ์เตกีล่า"
ที่ ท า ร้ า ย เ ม็ ก ซิ โ ก ใ น ค .ศ . 1995
สร้างปัญหาแพระกระจายออกไปเกือบในทันทีส่งผลเสียหายต่อประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา
แต่ผลสะเทือนของมันสามารถรู้สึกได้ในระดับหนึ่งในประเทศชิลี ฟิลิปปินส์ ไทย และโปแลนด์ด้วย
เมื่อวิกฤตการณ์ดาเนินต่อไป ภาวะว่างงานก็พุ่งสูงขึ้น จีดีพีดิ่งหัวลง ธนาคารถูกปิด
อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นถึงสี่เท่าในเกาหลี สามเท่าในประเทศไทย สิบเท่าในอินโดนีเซีย
แ ร ง ง า น ช า ย เ กื อ บ 15% ที่ เ ค ย มี ง า น ท า ก็ ต้ อ ง ต ก ง า น
แ ล ะค ว า ม พิ น าศ ท า งเศ ร ษ ฐ กิ จ จ ยิ่ งเล ว ร้า ย ใน พื้ น ที่ เมื อ งให ญ่ บ น เก า ะช ว า
เ มื่ อ จี ดี พี ข อ ง อิ น โ ด นี เ ซี ย ต ก ต่ า ล ง แ ล ะ ก า ร ว่ า ง ง า น พุ่ ง สู ง ขึ้ น
ไ อ เ อ็ ม เ อ ฟ ก็ ก้ า ว เ ข้ า ม า พ ร้ อ ม ค า สั่ ง ใ ห้ เ ข้ ม ง ว ด ด้ า น ก า ร ค ลั ง
ยกเลิกการใช้เงินอุดหนุนราคาอาหารและน้ามันก๊าด ไอเอ็มเอฟ/กระทรวงการคลังสหรัฐฯ
มี ค า อ ธิ บ า ย ม า ต ร ฐ า น ส า ห รั บ วิ ก ฤ ต ก า ร ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ว่ า
เป็นเพราะมีการแทรกแซงของรัฐมากเกินไปและความสัมพันธ์ที่ฉ้อฉลระหว่างรัฐกับภาคธุรกิจ
หลักฐานต่างๆ ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาที่เหลื่อมล้าเป็นผลพวงที่เกิดมาจากการกระจายลงทุน
น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ร ะ ห ว่ า ง เข ต ป ก ค ร อ ง ใน ร ะ ดั บ ช า ติ ภู มิ ภ า ค
แ ล ะ ใ น บ า ง ก ร ณี ก็ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง ใ น ร ะ ดั บ ม ห า น ค ร
แต่แงมุมที่น่าสนใจที่สุดของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่อาจอยู่ที่การรับส่งอันซับซ้อนระหว่างพลวัตภา
ยในกับแรงผลักภายนอกแม้ในบางกรณีอาจมีเหตุผลให้ตีความว่า แรงผลักภายนอกเป็นปัจจัยกาหนด
แต่เกือบทั้งหมด
บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่
ส อ งป ระเท ศ ที่ มีบ ท บ าท ม าใน ลัท ธิเส รีนิ ย ม ให ม่ คือ จีน แล ะส ห รัฐอ เม ริก า
ที่การปกครองด้วยงบประมาณขาดดุลมหาศาลเพื่อส่งเสริมลัทธิทหารและลัทธิบริโภคนิยม
ลัทธิเสรีนิยมใหม่เหมือนจะทาเพื่ อกลุ่มคนที่พ อมีฐานะมากกว่ากลุ่มคนจน
เอื้อประโยชน์ให้แก่กลุ่มผู้มีฐานะเพื่อส่งเสริมกันกับรัฐบาลที่กอบโกยผลประโยชน์ให้แก่ตน
ในรูปแบบต่างๆ ทั้งการแปรรูปสิ่งต่างๆ จากของสาธารณะก็ให้เป็นเอกชน การเก็งกาไร ฉ้อโกง
ใ น ห ล า ย ๆ รู ป แ บ บ
ในบางรูปแบบอาจทาเหมือนทาเพื่อให้คนชนชั้นล่างได้มีโอกาสได้พัฒนาตนเองให้มีฐานะขึ้นแต่ในระยะย
าว ช น ชั้น ล่ า งนี้ ก็ ต้ อ ง ถู ก บี บ ก ลับ ให้ ก ลับ ไป สู้ ช น ชั้น ล่ า งไม่ มี ฐ า น ะเช่ น เค ย
ก ารแ ส ว งห าผ ล ป ระโย ช น์ ต่ างๆ จ าก ก ารเก็ งก าไร ก ารปั่น หุ้ น กั บ ดั ก ห นี้ สิ น
ก า ร ดู ด ก ลื น ค ว า ม มั่ ง คั่ ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ที่ ย า ก จ น สู่ ป ร ะ เ ท ศ ที่ ร่ า ร ว ย
ทาให้แทบไม่มีประเทศที่กาลังพัฒนารอดพ้นวิกฤตการณ์นี้ จากการบีบคั้นที่เป็นการขูดรีด
กดดันให้มีคนที่ไม่พอใจเกิดการต่อต้านในรัฐบาลเป็นจานวนมากและก่อจลาจล ก่อการร้าย
การปลูกฝังการทาทุ กอย่างให้เป็ นสินค้า สังคมสามารถตีราคาสิ่งต่ างๆ ได้
แ ม้ แ ต่ สิ่ ง ที่ ดี ผิ ด จ ริ ย ธ ร ร ม ทั้ ง ย า เ ส พ ติ ด แ ล ะ บ ริ ก า ร ท า ง เ พ ศ
หลายสิ่งที่เสื่อมสภาพและถูกทาลายลงเนื่องจากคนขาดศีลธรรมจริยธรรมกันไปมาก
ทั้ ง ก า ร ท า ล า ย เ อ า เ ป รี ย บ ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ ค น ด้ ว ย กั น เ อ ง
ก า ร ที่ มี ก ล ไ ก ต ล า ด มี อิ ท ธิ พ ล เ ข้ า ม า เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ ค น
คนต้องดิ้นรนต่อสู้เป็นแรงงานที่ถูกกดขี่เพื่อเอาชีวิตรอด แม้ผลตอบแทนที่ได้จะไม่คุ้ม
กลายเป็นระบบความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคลที่ต้องดูแลตัวเองปรับเปลี่ยนไปตามความไม่แน่นอนขอ
งผู้มีอานาจ
การทาลายธรรมชาติจากการใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือยและที่ระบบอุสาหกรรมไม่คานึงถึงผลที่ต
า ม ม า ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด รู โ ห ว่ ใ น ชั้ น โ อ โ ซ น ซึ่ ง เป็ น ผ ล ใ ห้ เกิ ด ภ า ว ะ โ ล ก ร้ อ น
การหาผลประโยชน์ให้แก่ตนจนไม่สนใจในสิ่งที่ตามมามีการทาลายแหล่งน้า ให้เกิดมลภาวะในน้า
เต็มไปด้วยสารเคมีที่ถูกปล่อยออกมา การทาลายป่าสร้างเขื่อนเพื่อประโยชน์แก่คน
ทรัพยากรต่างๆถูกทาลายลงเป็นอย่างมากในลัทธิเสรีนิยมใหม่ ในระยะเวลาเพียงสั้นๆ
อันเกิดจากความเห็นแก่ตัวของมนุษย์
ทฤษฎีและโวหารของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ทฤษฎีและโวหารของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เป็นหน้ากากปกปิดวิธีปฎิบัติที่มีเป้าหมายเพื่อบารุง
ฟื้ น ฟู อ า น า จ ช น ชั้ น อ ภิ สิ ท ธิ์ ช น ม า โ ด ย ต ล อ ด เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้
ก า ร ส า ร ว จ ท า ง เ ลื อ ก จึ ง ต้ อ ง ก้ า ว อ อ ก ม า น อ ก ก ร อ บ
ใน ข ณ ะ เดี ย ว กั น ก็ ยึ ด มั่น อ ยู่ กั บ ค ว า ม จ ริง แ ห่ ง ก า ล ะ เท ศ ะ อ ย่ า ง มี เห ตุ ผ ล
ความจริงเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าจะเกิดวิกฤตครั้งยิ่งใหญ่ในระบอบเสรีนิยมใหม่
ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็นสิ่งที่ไม่มีทางควบคุมได้
จ น ต้ อ ง ป ล่ อ ย ใ ห้ เ กิ ด วิ ก ฤ ต ก า ร ณ์ ท า ง ก า ร เ งิ น
ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก เ ถ้ า ถ่ า น ข อ ง ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ง ที่ ส อ ง
การส่งเสริมลัทธิบริโภคนิยมด้วยการอัดฉีดเงินให้ระบบสินเชื่อโตอย่างไม่หยุดยั้ง
เพื่อให้เกิดความสงบทางสังคม สมควรหยุดลงได้แล้ว ระบบธนานุวัตร แบบเสรีนิยมใหม่
เปราะบางและเพ้ อฝัน ความเปราะบางนี้ ไม่ได้จากัดอยู่แค่ สห รัฐอเมริกาเท่ านั้น
ห ล าย ป ระก ารที่ บ่ งบ อ ก ว่ าก ารค รอ งค ว าม เป็ น ให ญ่ ข อ งส ห รัฐก าลังสั่น ค ล อ น
สูญ เสียอานาจครอบงาในการผลิตของโลก ความ เป็นผู้นาทางเทคโนโลยีถูกท้าทาย
วัฒนธรรมและศีลธรรมเสื่อมถอยอย่างรวดเร็ว เหลือแต่ความแข็งแกร่งทางทหารและอาวุธ
ก า ร เป ลี่ ย น ผ่ า น สู่ โค ร ง ส ร้า ง อ า น า จ ให ม่ ใน ร ะ บ บ ทุ น นิ ย ม โล ก ท า ให้ ส ห รัฐ
ต้องเลือกระหว่างทางเลือกสองทาง คือจะเปลี่ยนผ่านอย่างสงบ หรือเปลี่ยนผ่านอย่างหายนะ
ในปัจจุบันชี้ไปหาทางเลือกที่สองมากกว่า บทเรียนประการแรกที่เราต้องเรียนรู้ก็คือ
ถ้าอะไรก็ตามดูเหมือนการต่อสู้ทางชนชั้น และมีลักษณะของสงครามชนชั้น เราต้องนิยามมันตรงๆ
มวลชนส่วนใหญ่มีทางเลือกแค่สองทางคือ ก้มหน้ายอมรับวงจรทางประวัติศาสตร์
หรือไม่ก็ตอบโต้บนเงื่อนไขของชนชั้น ข้ออ้างเชิงศีลธรรมเฟื่องฟูในหมู่นักอนุรักษนิยมใหม่
ไม่เพียงพิสูจน์ถึงความกลัวว่าสังคมจะล่มสลายภายใต้ลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมแบบเสรีนิยมใหม่เท่านั้นแต่
ยังเผยให้เห็นความรังเกียจทางศีลธรรมที่มีต่อความแปลกแยก ความวิตถาร การกีดกัน
ความเดียดฉันท์และความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากภาคปฏิบัติของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใ
ห ม่
ทฤษฎีมักแสดงถึงความเกรงกลัวต่ออิทธิพลเหินขอบเขตของกลุ่มผลประโยชน์พิเศษที่เข้าไปแทรกแซงก
ระบวนการนิติบัญ ญัติ เราต้องผลักดันเพื่อหยั่งรากประชาธิปไตย ไม่ใช่การทาลาย
ภ า ย ใ ต้ อ า น า จ อั น ท ร ง พ ลั ง ข อ ง ต ล า ด
โลก นี้ ยังมีโอก าส ขอ งเสรีภ าพ ที่ดีงาม และสูงส่ งยิ่งกว่าลัท ธิเส รีนิ ยม ให ม่เท ศ น า
มีระบบการปกครองที่ควรค่าแก่การสร้างสรรค์ยิ่งกว่าลัทธิอนุรักษนิยมใหม่
ลั ท ธิ สั ง ค ม นิ ย ม ใ ห ม่ ต้ อ ง ถื อ ว่ า เป็ น ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด อ ย่ า ง ม หั น ต์
ส า ห รั บ ผู้ ถู ก ท อ ด ทิ้ ง ห รื อ ถู ก ขั บ ไ ล่ ใ ห้ อ ยู่ ภ า ย น อ ก ร ะ บ บ ต ล า ด
ประชาชนจานวนมหาศาลที่ถูกพรากการปกป้องทางสังคม และขาดไร้โครงสร้างการช่วยเหลือทางสังคม
นอกเห นือจากค วามยากจน ความหิวโห ย โรคภัยไข้เจ็บ และค วามสิ้นห วังแล้ว
สิ่งที่พวกเขาคาดหวังจากลัทธิเสรีนิยมใหม่มีเพียงน้อยนิด ความหวังเดียวของพวกเค้าคือ
ดิ้นรนตะกายเข้าไปอยู่ไหนระบบตลาดให้ได้ ไม่ว่าในฐานะผู้ผลิตสินค้ารายย่อย ผู้ค้า
ใ น ภ า ค เ ศ ร ษ ฐ กิ จ น อ ก ร ะ บ บ ผู้ ล่ า ร า ย ย่ อ ย ที่ ข อ ท า น ข โ ม ย
ห รื อ แ ย่ ง ชิ ง เ ศ ษ เ ด น จ า ก ค น ร ว ย ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร ง
หรือในฐานะผู้มีส่วนร่วมในการค้าผิดกฎหมายขนาดใหญ่ เช่น การค้ายาเสพติด อาวุธ ผู้หญิง
ห รือ สิ น ค้ า ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ใด ๆ ที่ เป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ตั ว เล ข ที่ สู ง อ ย่ า ง ไ ม่ น่ า เชื่ อ
ข อ ง ส ถิ ติ ก า ร ป ร ะ ท้ ว ง ต่ อ ต้ า น ก อ ง ทุ น ก า ร เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
ยังไม่ ร ว ม ถึ ง ก ระแ ส ก า รก่ อ อ า ช ญ า ก ร รม ที่ เกิ ด ขึ้ น ใน เมื อ งให ญ่ ห ล า ย เมื อ ง
ห ลั ง ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ รู ป เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่
กลุ่มคนที่ตกอยู่ภายใต้ตรรกะอันไร้ความปรานีและความต้องการของตลาดก็พบว่าตนมีเวลาหรือพื้นที่น้อ
ยมาก จนยากที่จะสารวจหาช่องทางของการปลดปล่อยที่อยู่นอกเหนือจากเส้นที่ตลาดขีดกาหนดไว้ว่า
เป็ น ก า ร ผ จ ญ ภั ย ที่ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เป็ น เว ล า ว่ า ง แ ล ะ สิ่ ง ที่ น่ า ตื่ น ต า ตื่ น ใ จ
เมื่อต้องดาเนินชีวิตราวกับเป็นแค่ไส้ติ่งของตลาดและการสะสมทุนแทนที่จะเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหมาย
อ า ณ า จั ก ร ข อ ง เ ส รี ภ า พ
จึงฝ่อลงเมื่อต้องเผชิญหน้ากับตรรกะอันน่าเกรงขามและความเอาจริงเอาจังอย่างไร้แก่นสารในการดารง
ชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์ของตลาด

More Related Content

Similar to ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่

กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologoกลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologofreelance
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงVilaporn Khankasikam
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดfreelance
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลluckana9
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูปTorTor Peerachai
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...Thongkum Virut
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 

Similar to ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ (20)

เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologoกลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มหนูมาลีฆ่าหมีด้วยมือเปล่าโนโลโก้ --Nologo
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
law
lawlaw
law
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
Pw10
Pw10Pw10
Pw10
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่

  • 1. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ สมาชิก 1. นางสาวกรรณิการ์ พรสกุลชาติ 54217202 มีเดียอาตส์ 2. นางสาวชาลิสา เตชะวัชราภัยกุล 54217213 มีเดียอาตส์ 3. นางสาวปารีณา ดือราแม 54217235 มีเดียอาตส์ 4. นางสาวรัชนก ดิลกานนท์ 54217244 มีเดียอาตส์ 5. นางสาววรางคณา มงคลรัตน์ 54217245 มีเดียอาตส์ 6. นางสาว อริยา แก้วบรรดิษฐ์ 54217269 มีเดียอาตส์ 7. นาย เจนภพ สุวรรณพงศ์ 54217273 มีเดียอาตส์ 8. นาย เจนสิทธิ บุตรแขก 54218441 มีเดียทางการแพทย์ 9. นาย นุกูล คาเลิศ 54218446 มีเดียทางการแพทย์
  • 2. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ “เสรีภาพก็แค่คาๆหนึ่ง” แนวคิดเสรีนิยมใหม่ยกย่องให้คาว่าศักดิ์ศรีและเสรีภาพของปัจเจกบุคคลเป็นหัวใจของแนวคิดซึ่ งก็เป็นการเลือกได้อย่างฉลาดเพราะพลังของทั้งสองคานี้เป็นสิ่งที่ดึงดูดคนที่เชิดชูความสามารถในการตั ด สิ น ใ จ ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ยั ง มี ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ เ ส รี ภ า พ อ อ ก ไ ป แ ล ะ อ เ ม ริ ก า มี ก า ร น า แ น ว คิ ด นี้ ไ ป ท ด ล อ ง ใ ช้ กั บ อิ รั ก โดยสรรหาเหตุผลต่างๆมาพิสูจน์เพื่ อทาให้สงครามป้ องปรามอิรักเป็ นเรื่องจาเป็ น ซึ่งมีการเอาอุดมคติเรื่องเสรีภาพมาเป็นข้ออ้างแต่ทุกอย่างก็ถูกเฉลยออกมาหลังจากประกาศ 4 ประการ ถูกประกาศออกมา ดังนี้ -ทุนต่างชาติมีสิทธิถือครองธุรกิจในอิรักเต็มที่ -ทุนต่างชาติสามารถส่งกาไรกลับประเทศได้หมด -ทุนต่างชาติควบคุมกิจการธนาคารของอิรักได้โดยสมบูรณ์ -การปฏิบัติต่อคนต่างชาติเยี่ยงคนในชาติ ซึ่งเนื้อหาเน้นเรื่องการเอื้อประโยชน์ให้ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์เอกชน ภาคธุรกิจบริษัทข้ามชาติ แ ล ะก ลุ่ ม ทุ น ก ารเงิน ทั้งสิ้ น เร าอ าจ ส รุป ได้ ว่ าก ารแ ผ่ ข ย าย ลัท ธิเส รีนิ ย ม ให ม่ ก า ร น า ไ ป ใ ช้ เ พื่ อ ก า ร ฟื้ น ฟู อ า น า จ ข อ ง ช น ชั้ น ผู้ น า ม า ตั้ ง แ ต่ แ ร ก หลังจากถูกนาไปใช้ในการฟื้นฟูหลังปัญหาสะสมทุนพบว่าทาให้เกิดการกระจุกตัวของรายได้และความมั่ งคั่งในหมู่คนชนชั้นผู้นาอย่างรวดเร็ว ความเหลื่อมล้าของรายได้ประชากรเพิ่มขึ้น ความรุ่งเรื่องของทฤษฏีลัทธิเสรีนิยมใหม่ ลัทธิเสรีนิยมใหม่ถูกสนับสนุนกันมากโดยนักวิชาการ เศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักปรัชญา เขาร่วมกันก่อตั้ง สมาคมมองต์เพอเลอริน สมาชิกยังคงยึดมั่นในทัศนะของอดัม สมิธ หลักความเชื่อแบบเสรีนิยมใหม่ต่อต้านการแทรกแซงของรัฐแบบถึงราก กลุ่มเสรีนิยมใหม่เสนอว่า ก ร ตั ด สิ น ใ จ โ ด ย รั ฐ ล้ ว น ฉ า บ ท า ไ ป ด้ ว ย อ ค ติ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ที่ขึ้นอยู่กับกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆที่มีต่อรัฐจดยืนของลัทธิเสรีนิยมใหม่มีความขัดแย้งในตัวเองสูง จน ท าให้ ห ลัก ป ฏิบัติถู ก แต่ งแล ะแป ลงโฉ ม ไป จากเดิม ม าก ใน ท ศ วรรษ ที่ 1970 ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ถู ก ส นั บ ส นุ น กั น ม า ก ขึ้ น รวมทั้งอิทธิพลที่มากขึ้นและเริ่มเข้าไปมีบทบาทในภาคปฏิบัติของนโยบายหลายส่วน อาทิเช่น ใน ค.ศ. 1 9 7 9 ม า ร์ ก า เ ร ต แ ท ต เ ช อ ร์ น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ข อ ง อั ง ก ฤ ษ ประกาศทางออกแบบเน้นอุปทานของสานักการเงิน เพื่อแก้ปัญญาหาภาวะเงินเฟ้อและชะลอเศรษฐกิจ เขาเปลี่ยนมันได้แต่ไม่สาเร็จทั้งหมด ความหมายของอานาจทางชนชั้น
  • 3. ก า ร แ ผ่ ข ย า ย ข อ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ท า ใ ห้ ต้ อ ง จั ด ช น ชั้ น ขึ้ น ใ ห ม่ แกนกลางของอานาจชนชั้นอยู่ที่กลุ่มผู้บริหาร ซีอีโอ และรวมถึงผู้นากลไกทางการเงิน กฎหมาย แ ล ะเท ค นิ ค ต่ างอ ย่างไรก็ต าม ไม่ ถู ก ต้ อ งที่ จะจากัด ช น ชั้น แ ค่ ค น ก ลุ่ ม นี้ เท่ านั้น โอกาสของผู้ประกอบธุรกิจที่เปิดกว้างมากขึ้นเป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ระบบชนชั้นแบบใหม่เกิดขึ้นได้ ความหวังของเสรีภาพ ค า รั ล โ บ ล า น ยี ก ล่ า ว ว่ า เส รี ภ า พ มี ส อ ง ป ร ะ เภ ท คื อ ดี แ ล ะ เล ว ทว่าระบบเศรษฐกิจแบบตลาดได้สร้างเสรีภาพอีกแบบคือ เสรีภาพของมโนธรรม การพบปะ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ก า ร พ บ ป ะ ก า ร ร ว ม ตั ว และเสรีภาพในการเลือกอาชีพแต่ในการดารงอยู่นั้นก็ต้องอาศัย กาลัง ความรุนแรง แ ล ะ เ ผ ด็ จ ก า ร อ า น า จ นิ ย ม เ ท่ า นั้ น เ ส รี ภ า พ ดี ก า ลั ง พ่ า ย แ พ้ ส่วนเสรีภาพแล้วได้ชัยชนะข้อวินิจฉัยของโบลานยีดูเหมือนจะถูกต้อง เมื่อสหรัฐประการว่า ใ น ฐ า น ะ ป ร ะ เท ศ ที่ มี อ า น า จ ที่ สุ ด มี พั น ธ กิ จ ต้ อ ง ช่ ว ย แ ผ่ ข ย า ย เส รีภ า พ เสรีภาพที่สหรัฐอ้างอย่างสวยหรูสุดท้ายกลายเป็นเครื่องมือในการขยายอานาจผูกขาดของบริษัทเท่านั้น พวกเขากล่อมให้เราเชื่อว่าเรามีชีวิตที่ดีภายใต้เสรีภาพระบอบเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่ ลัทธิเสรีนิยมใหม่มอบสิทธิและเสรีภาพให้แก่คนที่ไม่จาเป็นต้องมีรายได้ การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ มีค่านิยมทางวัฒนธรรมและจารีตประเพณี เช่น ความเชื่อในพระเจ้าและประเทศชาติ หรือทัศนคติเกี่ยวกับสถานะของผู้หญิงในสังคม ส า ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ ป ลุ ก ก ร ะ ด ม เ พื่ อ ปิ ด บั ง ค ว า ม จ ริ ง อื่ น ๆ คาขวัญทางการเมืองอาจถูกนามาอ้างเพื่ออาพรางยุทธศาสตร์บางอย่างไว้ภายใต้เครื่องมือ โ ว ห า ร ที่ ค ลุ ม เ ค รื อ ค า ว่ า เ ส รี ภ า พ ฟังไพ เราะเส น าะหู ใน ค วาม เข้าใจแ บ บ ส านึ ก ส ามัญ ข อ งช าว อ เม ริกัน ส่ วน ให ญ่ ซึ่งเป็นปุ่มกดที่ชนชั้นสูงใช้เปิดประตูเข้าไปหามวลชน และปัญหาทางการเมืองจึงคลี่คลายไม่ได้ หากถูก อาพรางให้เป็นปัญหาทางวัฒนธรรม การสร้างความชอบธรรมแก่การเปลี่ยนแปลงไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ ด้วยหลายช่องทางด้วยกัน มีการเผยแพ ร่อุดการณ์ ที่ทรงอิทธิพ ลผ่า นทางบรรษัท สื่อมวลชนและสถาบันอีกมากมายที่กอปรขึ้นเป็นภาคประชาชน สังคม เช่นมหาวิทยาลัย โรงเรียน โบสถ์ “การเดินขบวนอันยาวนาน”คุณค่าของเสรีภาพปัจเจกบุคคลกับความยุติธรรมทางสังคมไม่จาเป็นต้องสอ ดคล้องกับเสมอไปการแสวงหาความยุติธรรมทางสังคมจาต้องมีเงื่อนไขเบื้องต้นที่เรียกร้องความสมานฉั น ท์ ท า ง สั ง ค ม ตลอดจนความเต็มใจที่จะเก็บงาความต้องการความจาเป็นและความปรารถนาของปัจเจกบุคคลไว้ก่อน เพื่อประโยชน์ของการต่อสู้เพื่อประเด็นส่วนรวม ซึ่งตั้งอยู่บนการเน้นย้าในเสรีภาพปัจเจกบุคคล จึงมีพลังที่สามารถสร้างความแบ่งแยกระหว่างลัทธิอิสระมิยม การเมืองอัตลักษณ์ ลัทธิพหุวัฒธรรม ต ล อ ด จ น ลั ท ธิ บ ริ โ ภ ค นิ ย ม ที่ ห ม ก มุ่ น ส น ใ จ แ ต่ ตั ว เ อ ง
  • 4. กลุ่มพลังทางสังคมที่แสวงหาความยุติธรรมทางสังคมด้วยการพยายามได้มาซึ่งอานาจรัฐขบวนการทางก ารเมืองใด ๆ ก็ต าม ที่ ถือว่าเส รีภ าพ ปัจเจก บุ ค ค ลเป็ น สิ่งศัก ดิ์สิท ธิ์แต ะต้อ งไม่ ได้ มักมีแนวโน้มที่จะถูกดูดกลืนเข้าไปอยู่ในฝ่ายเสรีนิยมใหม่ สหรัฐอเมริกา - ได้มีการปรับปรุงมหาวิทยาลัยได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษา และได้มีการที่สถาบันการเงินกระทารัฐประหารเพื่อยึดอานาจจากรัฐบาลเมืองนิวยอร์กซิตีที่มาจากการเลื อ ก ตั้ ง ต า ม ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย และผลที่เกิดขึ้นไม่แตกต่างจากการรัฐประหารของกองทัพความมั่งคั่งถูกกระจายไปให้ชนชั้นบนอีกครั้ง ดังที่ เซ น วิน ให้ เห ตุ ผ ล ว่ า วิก ฤ ต ก ารณ์ ข อ งเมื อ งนิ ว ย อ ร์ก ก็ คื อ อ าก ารข อ ง ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ให ม่ ที่ อ าศัย ก ารล ด อัต ราเงิน เฟ้ อ ล งค ว บ คู่ กับ ก ารก ระจ าย ราย ได้ ค ว า ม มั่ ง คั่ ง แ ล ะ อ า น า จ ใ ห ม่ โ ด ย เ อ า จ า ก ค น จ น ใ ห้ ค น ร ว ย มันเป็ นการชิงชัยชนะขั้นเด็ดขาดในการทาสงครามครั้งใหม่ โดย วัตถุประสงค์คือ การแสดงให้คนอื่นเห็นว่า สิ่งที่เกิดขึ้นต่อเมืองนิวยอร์กสามารถเกิดขึ้นกับทุกคนได้เหมือนกัน ส ง ค ร า ม ค ว า ม คิ ด จึ ง มี บ ท บ า ท ส า คั ญ บ ล า ย ธ์ ชึ้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า แ น ว คิ ด ท า ง เศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ที่ ถู ก ก ร ะ ด ม ม า ส นั บ ส นุ น ลั ท ธิ เส รีนิ ย ม ใ ห ม่ คือส่วนผสมที่ซับซ้อนของสานักการเงินนิยม การคาดการณ์อย่างมีเหตุผล ทางเลือกสาธารณะ และแนวคิดเศรษฐศาสตร์ ด้านอุปทาน ถึงแม้ว่าจะไม่ค่อยนิยมนัก แต่ก็มีอิทธิพลไม่น้อย เอ็ดซอลล์ ได้ว่า ในระหว่างทศวรรษ 1920 ปีกการเมืองของภาคธุรกิจสหรัฐ ได้ดาเนินการรุกคืบเพื่อช่วงชิงอานาจครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุคหลัง ในช่วงต้นทศวรรษ 1 9 8 0 ภ า ค ธุ ร กิ จ ได้ก้าวขึ้นสู่สถานะที่มีอิทธิพลและกุมความได้เปรียบในระดับที่ใกล้เคียงกับยุครุ่งเรืองในสมัยทศวรรษ 1 9 2 0 และได้เปรียบที่ช่วงชิงส่วนแบ่งความมั่งคั่งและรายได้ระดับชาติมาเป็นของตนในระดับที่ไม่เคยพบเห็นม าก่อนการสร้างฉันทานุมัติในอังกฤษเกิดขึ้นแตกต่างออกไปมากที่เกิดขึ้นในแคนซัสแตกต่างมากจากสิ่งที่ เกิดขึ้นในยอร์กเชียร์ เนื่องจากจารีตทางวัฒนธรรมและการเมืองมีความแตกต่างดันมาก ถึงแม้มีองค์ประกอบมากมายที่สามารถนามาสร้างฉันทานุมัติต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ แ ต่ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ แ ท ต เ ช อ ร์ ค ง ไ ม่ มี ท า ง เ กิ ด ขึ้ น หากไม่ใช่เป็นเพราะเกิดวิกฤตการณ์ในการสะสมทุนขั้นร้ายแรงในช่วงทศวรรษ 1970 ภาวะเงินเฟ้อควบคู่กับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจดังที่กรณีศึกษาทั้งสองกรณีได้แสดงเห็นชัดว่า สภาพการณ์ภายในประเทศและผลพวงที่ตามมาจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ในอังกฤษและ สหรัฐ นั้น มีความแตกต่างกันมากมายที่เดียว และเมื่อนากรณีศึกษานี้ไปเทียบเคียงกับกรณีอื่นๆ แล้ว เราก็คาดการณ์ได้ว่า พลังภายในบวกกับพลังภายนอกและเงื่อนไขต่างๆ ย่อมมีบทบาทที่เด่นชัด ในประเทศอื่นๆ เช่นกัน เรแกนและแทตเชอร์ใช้ประโยชน์จากแนวทางที่ตนมี แ ล ะว างส ถ าน ะต น เอ งเป็ น หั ว ข อ งช น ชั้น ที่ มุ่ งมั่น จ ะฟื้ น ฟู อ าน าจ ข อ งตัว เอ ง ความเป็นอัจฉริยะของทั้งสองก็คือการสร้างมรดกตกค้างและจารีตที่พัวพันรัดรึงนักการเมืองคนต่อมาไว้
  • 5. ในข่ายใยของข้อจากัดที่ดิ้นหนีไม่หลุด ผู้นาการเมืองรุ่นต่อมา เช่น คลินตันและแบลร์ ไม่สามารถทาอะไรได้มากนัก ทั้งสองได้แต่สืบสานต่อผลงานการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ ไม่ว่าจะสมัครใจหรือไม่ก็ตาม รัฐเสรีนิยมใหม่ตามทฤษฎี ตามทฤษฎีแล้ว รัฐเสรีนิยมใหม่ควรเข้าข้างสิทธิในกรรมสิทธิ์เอกชนที่เข้มแข็ง หลักนิติธรรมและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดที่ทางานเป็นอิสระและการค้าเสรี ทั้งหมดนี้คือระบบการจัดการเชิงสถาบันที่ถือเป็นหัวใจสาคัญในการรับประกันเสรีภาพของปัจเจกบุคคล กรอบทางกฎหมายที่สาคัญคือรัฐจึงต้องอาศัยอานาจผูกขาดในการใช้ความรุนแรงมาธารงรักษาเสรีภาพเ หล่านี้อย่างสุดความสามารถ ก า ร เค ลื่ อ น ย้ า ย ทุ น ร ะ ห ว่ า ง ภ า ค ส่ ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ ป ร ะ เท ศ อ ย่ า ง เส รี อุ ป ส รรค ทุ ก ป ระก ารที่ ขัด ข ว างก ารเค ลื่ อ น ย้าย ทุ น เส รีนั้น (เช่ น ก าแ พ งภ าษี ก ารจัด ระบ บ ภ าษี เชิงล งโท ษ ก ารว างแ ผ น แ ล ะก ารค ว บ คุ ม ด้ าน สิ่งแ ว ด ล้อ ม หรืออุปสรรคเชิงท้องถิ่นอื่นๆ ) ต้องขจัดให้หมดไป ยกเว้นในภาคส่วนที่สาคัญ ต่อ “ผลประโยชน์แห่งชาติ” ความตึงเครียดและความขัดแย้ง ป ร ะ ก า ร แ ร ก มั น มี ปั ญ ห า ใ น ก า ร ตี ค ว า ม อ า น า จ ผู ก ข า ด ก า ร แ ข่ ง ขั น มั ก ล ง เอ ย ด้ ว ย ก า ร ผู ก ข า ด ด้ ว ย ผู้ เล่ น ร า ย เดี ย ว ห รือ น้ อ ย ร า ย เนื่ อ ง จ า ก บ ริษั ท ที่ เข้ ม แ ข็ ง ก ว่ า ย่ อ ม เบี ย ด ขั บ บ ริษั ท ที่ อ่ อ น แ อ ก ว่ า อ อ ก ไ ป นั ก ท ฤ ษ ฎี เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ห็ น ว่ า เ รื่ อ ง นี้ ไ ม่ ใ ช่ ปั ญ ห า ตราบใดที่ไม่มีอุปสรรคสาคัญมาขัดขวางการเข้ามาของผู้แข่งขันรายอื่นๆ ประการที่สอง ประเด็นสาคัญต่อมาซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันก็คือ ปัญหาความล้มเหลวของตลาด ปัญหานี้เกิดขึ้นเมื่อ ปัจเจกบุคคลและบริษัทหลีกเลี่ยงการจ่ายต้นทุนทั้งหมดที่ควรจ่าย โดยโยนความรับผิดของตนออกไปนอกตลาด (ซึ่งมีศัพท์เทคนิคเรียกว่า “การผลักภาระ”) ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ มี ส ม ม ติ ฐ า น ว่ า ผู้ เล่ น ทุ ก ร า ย ใ น ต ล า ด ส า ม า ร ถ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร อ ย่ า ง เท่ า เที ย ม กั น อีกทั้งมีสมมติฐานด้วยว่าความไม่สมมาตรของอานาจหรือข้อมูลข่าวสารที่จะรบกวนความสามารถของปั จเจกบุคคลในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจอย่างมีเหจุผล เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ท ว่ าเงื่อ น ไข ดังก ล่ าว นี้ แ ท บ ไม่ เค ย ใก ล้ เคี ย งค ว าม เป็ น จ ริงใน ท างป ฏิ บั ติ เล ย นี่ทาให้เกิดผลตามาที่มีนัยสาคัญผู้เล่นที่มีข้อมูลดีกว่าและมีอานาจมากกว่าย่อมมีข้อได้เปรียบที่จะทาให้ ผู้เล่น รายนั้น สั่งสม ข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น ไป อีกและมีอาน าจยิ่งกว่าเดิม ยิ่งไป กว่านั้น การสร้างสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร)ขึ้นมากระตุ้น ให้เกิดการ “แสวงหาคาตอบแทน”
  • 6. ผู้ ถื อ ค ร อ ง สิ ท ธิ บั ต ร ย่ อ ม ใช้ อ า น า จ ผู ก ข า ด ข อ ง ต น ก า ห น ด ร า ค า ผู ก ข า ด รวมทั้งกีดกันไม่ให้เกิดการถ่ายทอดทางเทคโนโลยี ป ร ะ ก า ร ที่ สี่ ใ น ท ฤ ษ ฎี เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ค ว า ม เป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เท ค โน โล ยี ตั้ง อ ยู่ บ น อ า น า จ ขู่ เข็ ญ ข อ ง ก า ร แ ข่ ง ขั น ซึ่งขับดันการแสวงหาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ วิธีการผลิตใหม่ ๆ และรูปแบบการจัดองค์กรใหม่ ๆ ประการสุดท้าย เราจาเป็นต้องกล่าวถึงปัญหาทางการเมืองพื้นฐานบางอย่างภายในลัทธิเสรีนิยมใหม่ มีความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมที่มุ่งการครอบครองทางวัตถุ ซึ่งแม้จะน่าดึงดูดใจ แต่ก็เต็มไปด้วยความแปลกแยก ในขณะที่ยืนยันว่าปัจเจกบุคคลมีเสรีภาพในการเลือก แต่ปัจเจกบุคคลกลับไม่สามารถเลือกที่จะสร้างสถาบันส่วนรวมที่เข้มแข็ง (เช่น สหภาพแรงงาน) ซึ่งไม่ใช่แค่สมาคมอาสาสมัครที่อ่อนแอ รัฐเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติ ประการแรก การบิดเบนอย่างเป็นระบบจากต้นแบบของทฤษฎีเสรีนิยมใหม่เป็นสิ่งที่เห็นได้ในทันที ซึ่งไม่อาจนิยามด้วยความขัดแย้งภายในที่กล่าวถึงข้างต้นได้ทั้งหมด ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง พ ล วั ต เ ชิ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ มีลักษณะที่บังคับให้เกิดการประยุกต์ที่แตกต่างกันอย่างมากในแต่ละสถานที่และในแต่ละช่วงเวลา ค ว า ม พ ย า ย า ม ใด ๆ ที่ จ ะ ส ร้า ง ภ า พ ร ว ม ที่ เป็ น แ ม่ แ บ บ ข อ ง รัฐ เส รีนิ ย ม ให ม่ จากสภาพภูมิศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ที่ไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงบ่อยอย่างรวดเร็วนี้ ดูคล้ายภารกิจของคนโง่อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนคิดว่าคงมีประโยชน์ไม่น้อยหากวางเค้าโครง คาอธิบายโดยรวมบางประการ ซึ่งจะชี้ให้เห็นมโนทัศน์เกี่ยวกับรัฐเสรีนิยมใหม่ได้แจ่มชัดขึ้น ประการสุดท้าย ประเด็นที่เป็นปมปัญหาของรัฐเสรีนิยมใหม่ในการจัดการกับตลาดแรงงาน ใ น แ ง่ ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ รัฐเสรีนิยมใหม่จาเป็นต้องเป็นปฏิปักษ์ต่อความสมานฉันท์ทางสังคมทุกรูปแบบที่สร้างข้อจากัดต่อการสะ ส ม ทุ น ส ห ภ า พ แ ร ง ง า น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ ห รื อ ข บ ว น ก า ร สั ง ค ม อื่ น ๆ ซึ่ ง มี อ า น า จ ขึ้ น ม า ร ะ ดั บ ห นึ่ ง ภ า ย ใ ต้ ร ะ บ บ เส รี นิ ย ม ที่ มี ก า ร ก า กั บ ดู แ ล จ า เ ป็ น ต้ อ ง ถู ก จั ด ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย ใ ห ม่ ห รื อ ไ ม่ ก็ ท า ล า ย ทิ้ ง ไ ป เ สี ย เ ล ย ทั้งหมดนี้ในนามของอิสรภาพปัจเจกบุคคลอันศักดิ์สิทธิ์ของผู้ใช้แรงงานแต่ละคนที่แยกขาดจากกัน “ความยืดหยุ่น” กลายเป็ นคาถาเกี่ยวกับตลาดแรงงาน เป็ นเรื่องยากที่จะโต้แย้งว่า ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ที่ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ แ ย่ ทั้ ง ห ม ด โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญกับการปฏิบัติของสหภาพแรงงานที่คับแคบและแข็งทื่อตายตัวมาก ด้วยเห็นนี้เองจึงมีนักปฏิรูปของฝ่ายซ้ายที่ให้เหตุผลสนับสนุน “การสร้างความเชี่ยวชาญที่ยืดหยุ่น” ถึงแม่จะมีผู้ใช้แรงงานบางคนได้รับประโยชน์จากความยืดหยุ่นนี้อย่างไม่ต้องสงสัย แต่ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสารและอานาจที่เกิดขึ้น ประกอบกับการที่แรงงานไม่สามารถ เค ลื่ อ น ย้ าย ได้ ส ะด ว ก แ ล ะเส รี ท าให้ แ รงงาน ต ก เป็ น ฝ่ าย เสีย เป รีย บ ม าก ก ว่ า
  • 7. ฝ่ายทุนอาจฉวยโอกาสใช้ความเชี่ยวชาญที่ยืดหยุ่นนี้มาเป็นเครื่องมือกรุยทางให้เกิดวิธีการสะสมทุนที่ยื ดหยุ่นมากขึ้น จ า ก ค า อ ธิ บ า ย ข้ า ง ต้ น เราสามารถมองเห็นชัดเจนว่าลัทธิเสรีนิยมใหม่ไม่ได้ทาให้รัฐหรือสถาบันใด สถาบันหนึ่งของรัฐ (เช่นศาล และกลไกตารวจ) หมดความหมาย ดั่งที่ผู้สันทัดกรณีจากทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายกล่าวอ้าง อ ย่ า งไรก็ ต าม มี ก า รป รับ โฉ ม ห น้ า ส ถ าบั น แ ล ะวิธีป ฏิ บั ติ ข อ งรัฐ อ ย่ า งลึก ซึ้ ง (โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความสมดุลระหว่างการข่มขู่บังคับกับการยินยอมพร้อมใจ ระหว่าอานาจของทุนกับขบวนการประชาชน ระหว่างอานาจบิหาร และอานาจตุลาการฝ่ายหนึ่ง กาอานาจของระบอบประชาธิปไตย ตัวแทนอีกฝ่ายหนึ่ง) แต่ไม่มีอะไรดาเนินไปด้วยดีในรัฐเสรีนิยมใหม่ด้วยเหตุนี้รัฐเสรีนิยมใหม่จึงดูเหมือนรูปแบบทางก า ร เมื อ ง ที่ ไ ม่ มั่น ค ง ห รือ อ ยู่ ใน ช่ ว ง เป ลี่ ย น ผ่ า น ม า ก ก ว่ า หั ว ใจ ข อ ง ปัญ ห า อยู่ที่ช่องว่างที่ถ่างกว้างขึ้นเรื่อยๆระหว่างเป้าหมายที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประกาศต่อสารธารณะ กล่าวคือ ความอยู่ดีกินดีของทุกคนกับผลลัพธ์จริงที่เกิดขึ้น กล่าวคือ การฟื้นฟูอานาจขอองประชาชน แต่นอกเหนือจากนี้ ยังมีความขัดแย้ง เฉพาะเจาะจงอีกชุดหนึ่งที่พึ่งกล่าวถึงให้กระจ่างชัดด้วย 1.รัฐเสรีนิยมใหม่ควรอยู่เฉย ๆ และทาหน้าที่เพียงแค่จัดเวทีให้กลไกตลาด แต่ในอีกด้านหนึ่ง รัฐ ก ลั บ ถู ก ค า ด ห วั ง ใ ห้ มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ ดี และประพฤติตัวเป็นองค์กรการเมืองที่แข่งขันกันในระดับโลก บทบาทประการหลังหมายความว่า รัฐต้องทาหน้าที่ทางานในฐานะบรรษัทรวมหมู่นี่ทาให้เกิดปัญหาว่าจะรักษาความจงรักภักดีของพลเมือง ไว้ด้วยวิธีไหน ลัทธิชาติคือคาตอบแรก 2.ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ อ า น า จ นิ ย ม ข อ ง ก ล ไ ก ต ล า ด เ ข้ า กั น ไ ม่ ค่ อ ย ไ ด้ ง่ า ย นั ก กั บ อุ ด ม ค ติ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ยิ่ ง ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ หั น เ ข้ า ห า อ า น า จ นิ ย ม ข อ ง ต ล า ด ม า ก เ ท่ า ไ ห ร่ ก็ยิ่งยากที่จะรักษาความชอบธรรมและยิ่งเปิดเผยให้เห็นธาตุแท้ที่ต่อต้านประชาธิปไตยออกมา ความขัดแย้งนี้คู่ขนานมากับความไม่สมมาตรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 3.ลัทธิปัจเจกบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบและบ้าอานาจของผู้ปฏิบัติงานในภาคการเงิน ก่อให้เกิดการเก็งกาไรที่คาดเดาไม่ได้ เรื่องอื้อฉาวทางการเงินและความไร้เสถียรภาพเรื้อรัง เ รื่ อ ง อื้ อ ฉ า ว ว อ ส ต รี ท แ ล ะ ว ง ก า ร บั ญ ชี ใ น ช่ ว ง ไ ม่ กี่ ปี ห ลั ง นี้ ได้บั่น ท อน ค วามเชื่อมั่น และท าให้เกิดค าถ ามจริงจังต่ อ ห น่ วยงาน ก ากับ ดูแลว่า หน่วยงานควรเข้าไปแทรกแซงเมื่อไรและอย่างไร ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ 4.อานาจผูกขาดตลาดและอานาจข้ามชาติของบรรษัทข้ามชาติเพียงไม่กี่บรรษัท กลับมีความเข้มแข็งและรวมศูนย์มากขึ้นเรื่อย ๆ 5.ในระดับประชาชน แรงขับดันสู่ตลาดเสรีและการทาให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า อ าจ ส ร้างค ว า ม เสี ย ห าย ท า ล าย ล้ า งแ ล ะก่ อ ให้ เกิ ด ก ารแ ต ก ส ล า ย ข อ งสังค ม ก ารท าล าย ค ว าม ส ม าน ฉั น ท์ ท างสังค ม ทุ ก รูป แ บ บ ห รือ ดังที่ แช ต เต อ ร์ก ล่ าว ว่า
  • 8. กระทั่งสังคมก็ไม่มีอยู่อีกต่อไป นี่ จะทิ้งช่องว่างถ่างกว้างออกไว้ในระเบียบ สังคม ทาให้ยากยิ่งขึ้นที่จะต่อสู้เพื่อบรรทัดฐานทางจริยธรรมและควบคุมพฤติกรรมต่อต้านสังคมที่เป็นผลตาม มา ไม่ว่าจะเป็นอาชญากรรม ภาพลามก หรือการกดขี่ผู้อื่นลงเป็นทาส การลดทอน เสรีภาพ เหลือแค่ เส รีภ า พ ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ก่ อ ให้ เกิ ด เส รีภ า พ เชิ ง ล บ ทั้ง ห ล า ย ทั้ง ป ว ง ซึ่ งโป ล าน ยีเห็ น ว่ าเป็ น ป ม เงื่อ น ที่ ไม่ ส าม ารถ แ ย ก ข าด จ าก เส รีภ าพ เชิงบ ว ก ปฏิกิริยาตอบโต้ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ การพยายามสร้างความสมานฉันท์ทางสังคมใหม่ขึ้นมา แต่ด้วยแนวทางที่แตกต่างกันออกไปจากเดิมนี่เองคือต้นตอของการรื้อฟื้นความสนใจใจศาสนาและศีลธร รม คาตอบของฝ่ายอนุรักษ์นิยมใหม่ รัฐเสรีนิยมใหม่จาต้องอาศัยลัทธิชาตินิยมในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเพื่อการอยู่รอด เมื่อรัฐจาต้องดาเนินการเป็นผู้แข่งขันในตลาดโลกและต้องหาทางสร้างบรรยากาศทางธุรกิจให้ดีที่สุดเท่าที่ ทาได้ รัฐต้องดึงลัทธิชาตินิยมมาใช้เพื่อให้ประสบความสาเร็จ การแข่งขันทาให้เกิดผู้ชนะและผู้พ่ายแพ้ ห มุ น เ วี ย น สั บ เ ป ลี่ ย น กั น ไ ป ใ น ก า ร ต่ อ สู้ ช่ ว ง ชิ ง ร ะ ดั บ โ ล ก มั น อ า จ ท า ให้ เกิ ด ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใจ ร ะ ดั บ ช า ติ ห รือ อ า ก า ร ซึ ม ร ะ ดั บ ช า ติ ก็ ไ ด้ ลัทธิชาตินิยมในการแข่งขันกีฬาระหว่างชาติคือสัญญาณบ่งบอกเรื่องนี้ การที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่จูบปากกับลัทธิชาตินิยมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เป็นสิ่งที่มีอันตรายแฝงอยู่ แ ต่ ลั ท ธิ อ นุ รัก ษ์ นิ ย ม ให ม่ ที่ อ้ า แ ข น รับ เป้ า ห ม า ย ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ร ะ ดั บ ช า ติ ก ลั บ เป็ น ภั ย ที่ คุ ก ค า ม ร้ า ย แ ร ง ยิ่ ง ก ว่ า ภ า พ ข อ ง รัฐ ห ล า ย ๆ ป ร ะ เท ศ ต่ า ง ฝ่ า ย ต่ า ง ก็ เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม ที่ จ ะ ใ ช้ วิ ธี ก า ร ข่ ม ขู่ บั ง คั บ อ ย่ า ง เข้ ม ง ว ด ในขณะเดียวกันก็เทศนาคุณค่าทางศีลธรรมที่ทึกทักว่าไม่เหมือนใครและเหนือกว่าผู้อื่น แล้วต่างก็มาแข่งขันกันบนเวทีโลก นี่ไม่ใช่ภาพที่น่าวางใจเลย สิ่ ง ที่ ดู เห มื อ น เ ป็ น ค า ต อ บ ต่ อ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ข อ ง ลั ท ธิ เส รี นิ ย ม ใ ห ม่ อาจกลายเป็นตัวปัญหาเสียเองได้ง่ายๆ การแผ่ขยายของกลุ่มอานาจอนุรักษ์นิยมใหม่ ซึ่ ง ใ น บ า ง ป ร ะ เท ศ ก ล า ย เป็ น ลั ท ธิ อ า น า จ นิ ย ม เต็ ม ตั ว (เช่ น ว ล า ดิ มี ร์ ปู ติ น ใ น รั ส เ ซี ย แ ล ะ พ ร ร ค ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ใ น ป ร ะ เ ท ศ จี น ) แ ม้ จ ะ มี ร า ก เห ง้ า ใ น ก า ร ก่ อ ตั ว ท า ง สั ง ค ม ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น อ ย่ า ง สิ้ น เชิ ง ชี้ให้เห็นอันตรายของลัทธิชาตินิยมที่มีแนวโน้มจะแข่งขันกัน หรือกระทั่งทาสงครามระหว่างกัน ห า ก นี่ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เ ลี่ ย ง ไ ม่ ไ ด้ มันก็เกิดมาจากลัทธิอนุรักษ์นิยมใหม่มากกว่าจะเกิดจากความแตกต่างระหว่างประเทศ เพ ราะค วาม แต ก ต่ างก็ด ารงม าทุ ก ยุค ส มัย ดังนั้น เพื่ อ ห ลีก เลี่ย งห ายน ะเช่ น นี้ เราต้องคัดค้านการใช้ลัทธิอนุรักษ์นิยมใหม่มาเป็นทางออกต่อปัญหาความขัดแย้งของลัทธิเสรีนิยมใหม่ อย่างไรก็ตาม นี่หมายถึงการมีสมมติฐานเบื้องต้นว่า ยังมีทางเลือกอื่นอยู่
  • 9. การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์ สาหรับแผนที่การเคลื่อนไหวที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่รุกคืบหน้าบนเวทีโลกมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1970 เป็ น ต้ น ม าใน เบื้ อ งต้ น ที่ สุ ด นั้น รัฐส่ ว น ให ญ่ ที่ หัน ไป ห าลัท ธิแ บ บ เส รีนิ ย ม ให ม่ มักนาแนวปฏิบัตินี้มาใช้แค่บางส่วน เช่นการปรับตลาดแรงงานให้มีความยืดหยุ่น บ้างก็ลดกฏระเบียบในการดาเนินธุรกรรมทางการเงิน การแข่งขันระหว่างเขตปกครองต่างๆ ว่าพื้นที่ไหนจะมีโมเดลที่ดีที่สุดสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการแข่งขันทานองนี้มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในระบบความสัมพันธ์ทางการค้าที่ลื่นไหลและเปิดกว้างมากขึ้น เห็นได้ชัดว่าสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาคือผู้นาขบวน แต่ในทั้งสองประเทศนี้ ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก็ใช่ว่าจะไม่มีปัญหาถึงจะประสบความสาเร็จในการแปรรูปการเคหะและสาธารณูปโภค แต่งานบริการสังคมที่เป็นแก่นกลางสาคัญ ยังคงไม่ถูกแตะต้องในสหรัฐอเมริกา ที่จริงแล้วในทศวรรษ 1980 ถือเป็ นยุครุ่งเรืองของญี่ ปุ่น กลุ่ม "เสือเศรษฐกิจ" ใ น เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ เ ย อ ร ม ณี ต ะ วั น ต ก พื้ น ที่ เห ล่ านี้ เป็ น ก ลุ่ ม พ ลังที่ มีค ว าม ส าม ารถ ใน ก ารแ ข่ งขัน บ น เศ รษ ฐกิ จ โล ก สามารถประสบความสาเร็จโดยไม่จาเป็นต้องดาเนินการปฏิรูปเบ็ดเสร็จแบบเสรีนิยมใหม่ ทาให้อ้างได้ยากว่าลัทธิเสรีนิยมใหม่สามารถแผ่ขยายในเวทีโลกก็เพราะมันคือยาแก้ปัญหาภาวะชะงักงัน ทางเศรษฐกิจที่ได้ผล ส่วนทางฝั่งของเยอรมนีตะวันตกต้องทุ่มเทต่อสู้กับภาวะเงินเฟ้อมากเป็นพิเศษ การลด รื้อ อุ ป ส รรค ท างการค้าล งทีละน้ อ ย ท าให้เกิด แรงก ด ดัน ท างก ารแข่งขัน ซึ่งผลที่นาไปสู่กระบวนการอันซับซ้อนที่อาจเรียกว่า "การคืบคลานเข้ามาของลัทธิเสรีนิยมใหม่" อย่างไรก็ตาม โมเดลแบบเยอรมนีตะวันตกและญี่ปุ่นไม่เอื้อต่อการฟื้นฟูอานาจของชนชั้น ความไม่เท่าเทียมทางสังคมที่เพิ่มมากขึ้นซึ่งพบได้ในสหราชอาณาจักรและโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ห า ก เป้ า ห ม า ย คื อ ก า ร ฟื้ น ฟู อ า น า จ ท า ง ช น ชั้น ให้ แ ก่ ช น ชั้น น า ร ะ ดั บ บ น สุ ด ถ้ า เ ช่ น นั้ น ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม แ บ บ ใ ห ม่ ก็ เ ป็ น ค า ต อ บ ที่ ชั ด เ จ น ประเทศหนึ่งๆจะถูกผลักดันให้หันไปหาลัทธิเสรีนิยมใหม่หรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับดุลอานาจทางชนชั้น ปัจจัยที่จะเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและฟื้นฟูอานาจทางชนชั้นจึงถูกวางหมากทีละน้อยแต่ไม่สม่าเสมอ ในทศวรรณ 1980 และลงหลักปักฐานได้อย่างมั่นคงในทศวรรษ 1990 วิก ฤ ต ก ารณ์ ท างก ารเงิน เป็ น ทั้งโรค ป ระจาถิ่น แล ะโรค ติด ต่ อ ใน ว งก ว้าง วิกฤตการณ์หนี้สินในทศวรรษ 1980 ไม่ได้จากัดอยู่แค่ในเม็กซิโก แต่แสดงอาการป่วยไปทั่วโลก แล ะใน ช่ วงท ศ วรรษ 1990 เกิด วิห ฤ ต ก ารณ์ ท างก ารเงิน ส อ งชุ ด ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกัน เผยให้เห็นร่องรอยด้านลบของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่อย่างไม่เท่าเทียม เช่น "วิกฤตการณ์เตกีล่า" ที่ ท า ร้ า ย เ ม็ ก ซิ โ ก ใ น ค .ศ . 1995 สร้างปัญหาแพระกระจายออกไปเกือบในทันทีส่งผลเสียหายต่อประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา แต่ผลสะเทือนของมันสามารถรู้สึกได้ในระดับหนึ่งในประเทศชิลี ฟิลิปปินส์ ไทย และโปแลนด์ด้วย
  • 10. เมื่อวิกฤตการณ์ดาเนินต่อไป ภาวะว่างงานก็พุ่งสูงขึ้น จีดีพีดิ่งหัวลง ธนาคารถูกปิด อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นถึงสี่เท่าในเกาหลี สามเท่าในประเทศไทย สิบเท่าในอินโดนีเซีย แ ร ง ง า น ช า ย เ กื อ บ 15% ที่ เ ค ย มี ง า น ท า ก็ ต้ อ ง ต ก ง า น แ ล ะค ว า ม พิ น าศ ท า งเศ ร ษ ฐ กิ จ จ ยิ่ งเล ว ร้า ย ใน พื้ น ที่ เมื อ งให ญ่ บ น เก า ะช ว า เ มื่ อ จี ดี พี ข อ ง อิ น โ ด นี เ ซี ย ต ก ต่ า ล ง แ ล ะ ก า ร ว่ า ง ง า น พุ่ ง สู ง ขึ้ น ไ อ เ อ็ ม เ อ ฟ ก็ ก้ า ว เ ข้ า ม า พ ร้ อ ม ค า สั่ ง ใ ห้ เ ข้ ม ง ว ด ด้ า น ก า ร ค ลั ง ยกเลิกการใช้เงินอุดหนุนราคาอาหารและน้ามันก๊าด ไอเอ็มเอฟ/กระทรวงการคลังสหรัฐฯ มี ค า อ ธิ บ า ย ม า ต ร ฐ า น ส า ห รั บ วิ ก ฤ ต ก า ร ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ว่ า เป็นเพราะมีการแทรกแซงของรัฐมากเกินไปและความสัมพันธ์ที่ฉ้อฉลระหว่างรัฐกับภาคธุรกิจ หลักฐานต่างๆ ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาที่เหลื่อมล้าเป็นผลพวงที่เกิดมาจากการกระจายลงทุน น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น ร ะ ห ว่ า ง เข ต ป ก ค ร อ ง ใน ร ะ ดั บ ช า ติ ภู มิ ภ า ค แ ล ะ ใ น บ า ง ก ร ณี ก็ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง ใ น ร ะ ดั บ ม ห า น ค ร แต่แงมุมที่น่าสนใจที่สุดของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่อาจอยู่ที่การรับส่งอันซับซ้อนระหว่างพลวัตภา ยในกับแรงผลักภายนอกแม้ในบางกรณีอาจมีเหตุผลให้ตีความว่า แรงผลักภายนอกเป็นปัจจัยกาหนด แต่เกือบทั้งหมด บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ ส อ งป ระเท ศ ที่ มีบ ท บ าท ม าใน ลัท ธิเส รีนิ ย ม ให ม่ คือ จีน แล ะส ห รัฐอ เม ริก า ที่การปกครองด้วยงบประมาณขาดดุลมหาศาลเพื่อส่งเสริมลัทธิทหารและลัทธิบริโภคนิยม ลัทธิเสรีนิยมใหม่เหมือนจะทาเพื่ อกลุ่มคนที่พ อมีฐานะมากกว่ากลุ่มคนจน เอื้อประโยชน์ให้แก่กลุ่มผู้มีฐานะเพื่อส่งเสริมกันกับรัฐบาลที่กอบโกยผลประโยชน์ให้แก่ตน ในรูปแบบต่างๆ ทั้งการแปรรูปสิ่งต่างๆ จากของสาธารณะก็ให้เป็นเอกชน การเก็งกาไร ฉ้อโกง ใ น ห ล า ย ๆ รู ป แ บ บ ในบางรูปแบบอาจทาเหมือนทาเพื่อให้คนชนชั้นล่างได้มีโอกาสได้พัฒนาตนเองให้มีฐานะขึ้นแต่ในระยะย าว ช น ชั้น ล่ า งนี้ ก็ ต้ อ ง ถู ก บี บ ก ลับ ให้ ก ลับ ไป สู้ ช น ชั้น ล่ า งไม่ มี ฐ า น ะเช่ น เค ย ก ารแ ส ว งห าผ ล ป ระโย ช น์ ต่ างๆ จ าก ก ารเก็ งก าไร ก ารปั่น หุ้ น กั บ ดั ก ห นี้ สิ น ก า ร ดู ด ก ลื น ค ว า ม มั่ ง คั่ ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ที่ ย า ก จ น สู่ ป ร ะ เ ท ศ ที่ ร่ า ร ว ย ทาให้แทบไม่มีประเทศที่กาลังพัฒนารอดพ้นวิกฤตการณ์นี้ จากการบีบคั้นที่เป็นการขูดรีด กดดันให้มีคนที่ไม่พอใจเกิดการต่อต้านในรัฐบาลเป็นจานวนมากและก่อจลาจล ก่อการร้าย การปลูกฝังการทาทุ กอย่างให้เป็ นสินค้า สังคมสามารถตีราคาสิ่งต่ างๆ ได้ แ ม้ แ ต่ สิ่ ง ที่ ดี ผิ ด จ ริ ย ธ ร ร ม ทั้ ง ย า เ ส พ ติ ด แ ล ะ บ ริ ก า ร ท า ง เ พ ศ หลายสิ่งที่เสื่อมสภาพและถูกทาลายลงเนื่องจากคนขาดศีลธรรมจริยธรรมกันไปมาก ทั้ ง ก า ร ท า ล า ย เ อ า เ ป รี ย บ ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ ค น ด้ ว ย กั น เ อ ง ก า ร ที่ มี ก ล ไ ก ต ล า ด มี อิ ท ธิ พ ล เ ข้ า ม า เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ ค น
  • 11. คนต้องดิ้นรนต่อสู้เป็นแรงงานที่ถูกกดขี่เพื่อเอาชีวิตรอด แม้ผลตอบแทนที่ได้จะไม่คุ้ม กลายเป็นระบบความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคลที่ต้องดูแลตัวเองปรับเปลี่ยนไปตามความไม่แน่นอนขอ งผู้มีอานาจ การทาลายธรรมชาติจากการใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือยและที่ระบบอุสาหกรรมไม่คานึงถึงผลที่ต า ม ม า ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด รู โ ห ว่ ใ น ชั้ น โ อ โ ซ น ซึ่ ง เป็ น ผ ล ใ ห้ เกิ ด ภ า ว ะ โ ล ก ร้ อ น การหาผลประโยชน์ให้แก่ตนจนไม่สนใจในสิ่งที่ตามมามีการทาลายแหล่งน้า ให้เกิดมลภาวะในน้า เต็มไปด้วยสารเคมีที่ถูกปล่อยออกมา การทาลายป่าสร้างเขื่อนเพื่อประโยชน์แก่คน ทรัพยากรต่างๆถูกทาลายลงเป็นอย่างมากในลัทธิเสรีนิยมใหม่ ในระยะเวลาเพียงสั้นๆ อันเกิดจากความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ ทฤษฎีและโวหารของลัทธิเสรีนิยมใหม่ ทฤษฎีและโวหารของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เป็นหน้ากากปกปิดวิธีปฎิบัติที่มีเป้าหมายเพื่อบารุง ฟื้ น ฟู อ า น า จ ช น ชั้ น อ ภิ สิ ท ธิ์ ช น ม า โ ด ย ต ล อ ด เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ ก า ร ส า ร ว จ ท า ง เ ลื อ ก จึ ง ต้ อ ง ก้ า ว อ อ ก ม า น อ ก ก ร อ บ ใน ข ณ ะ เดี ย ว กั น ก็ ยึ ด มั่น อ ยู่ กั บ ค ว า ม จ ริง แ ห่ ง ก า ล ะ เท ศ ะ อ ย่ า ง มี เห ตุ ผ ล ความจริงเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าจะเกิดวิกฤตครั้งยิ่งใหญ่ในระบอบเสรีนิยมใหม่ ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็นสิ่งที่ไม่มีทางควบคุมได้ จ น ต้ อ ง ป ล่ อ ย ใ ห้ เ กิ ด วิ ก ฤ ต ก า ร ณ์ ท า ง ก า ร เ งิ น ลั ท ธิ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก เ ถ้ า ถ่ า น ข อ ง ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ง ที่ ส อ ง การส่งเสริมลัทธิบริโภคนิยมด้วยการอัดฉีดเงินให้ระบบสินเชื่อโตอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อให้เกิดความสงบทางสังคม สมควรหยุดลงได้แล้ว ระบบธนานุวัตร แบบเสรีนิยมใหม่ เปราะบางและเพ้ อฝัน ความเปราะบางนี้ ไม่ได้จากัดอยู่แค่ สห รัฐอเมริกาเท่ านั้น ห ล าย ป ระก ารที่ บ่ งบ อ ก ว่ าก ารค รอ งค ว าม เป็ น ให ญ่ ข อ งส ห รัฐก าลังสั่น ค ล อ น สูญ เสียอานาจครอบงาในการผลิตของโลก ความ เป็นผู้นาทางเทคโนโลยีถูกท้าทาย วัฒนธรรมและศีลธรรมเสื่อมถอยอย่างรวดเร็ว เหลือแต่ความแข็งแกร่งทางทหารและอาวุธ ก า ร เป ลี่ ย น ผ่ า น สู่ โค ร ง ส ร้า ง อ า น า จ ให ม่ ใน ร ะ บ บ ทุ น นิ ย ม โล ก ท า ให้ ส ห รัฐ ต้องเลือกระหว่างทางเลือกสองทาง คือจะเปลี่ยนผ่านอย่างสงบ หรือเปลี่ยนผ่านอย่างหายนะ ในปัจจุบันชี้ไปหาทางเลือกที่สองมากกว่า บทเรียนประการแรกที่เราต้องเรียนรู้ก็คือ ถ้าอะไรก็ตามดูเหมือนการต่อสู้ทางชนชั้น และมีลักษณะของสงครามชนชั้น เราต้องนิยามมันตรงๆ มวลชนส่วนใหญ่มีทางเลือกแค่สองทางคือ ก้มหน้ายอมรับวงจรทางประวัติศาสตร์ หรือไม่ก็ตอบโต้บนเงื่อนไขของชนชั้น ข้ออ้างเชิงศีลธรรมเฟื่องฟูในหมู่นักอนุรักษนิยมใหม่
  • 12. ไม่เพียงพิสูจน์ถึงความกลัวว่าสังคมจะล่มสลายภายใต้ลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมแบบเสรีนิยมใหม่เท่านั้นแต่ ยังเผยให้เห็นความรังเกียจทางศีลธรรมที่มีต่อความแปลกแยก ความวิตถาร การกีดกัน ความเดียดฉันท์และความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากภาคปฏิบัติของการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใ ห ม่ ทฤษฎีมักแสดงถึงความเกรงกลัวต่ออิทธิพลเหินขอบเขตของกลุ่มผลประโยชน์พิเศษที่เข้าไปแทรกแซงก ระบวนการนิติบัญ ญัติ เราต้องผลักดันเพื่อหยั่งรากประชาธิปไตย ไม่ใช่การทาลาย ภ า ย ใ ต้ อ า น า จ อั น ท ร ง พ ลั ง ข อ ง ต ล า ด โลก นี้ ยังมีโอก าส ขอ งเสรีภ าพ ที่ดีงาม และสูงส่ งยิ่งกว่าลัท ธิเส รีนิ ยม ให ม่เท ศ น า มีระบบการปกครองที่ควรค่าแก่การสร้างสรรค์ยิ่งกว่าลัทธิอนุรักษนิยมใหม่ ลั ท ธิ สั ง ค ม นิ ย ม ใ ห ม่ ต้ อ ง ถื อ ว่ า เป็ น ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด อ ย่ า ง ม หั น ต์ ส า ห รั บ ผู้ ถู ก ท อ ด ทิ้ ง ห รื อ ถู ก ขั บ ไ ล่ ใ ห้ อ ยู่ ภ า ย น อ ก ร ะ บ บ ต ล า ด ประชาชนจานวนมหาศาลที่ถูกพรากการปกป้องทางสังคม และขาดไร้โครงสร้างการช่วยเหลือทางสังคม นอกเห นือจากค วามยากจน ความหิวโห ย โรคภัยไข้เจ็บ และค วามสิ้นห วังแล้ว สิ่งที่พวกเขาคาดหวังจากลัทธิเสรีนิยมใหม่มีเพียงน้อยนิด ความหวังเดียวของพวกเค้าคือ ดิ้นรนตะกายเข้าไปอยู่ไหนระบบตลาดให้ได้ ไม่ว่าในฐานะผู้ผลิตสินค้ารายย่อย ผู้ค้า ใ น ภ า ค เ ศ ร ษ ฐ กิ จ น อ ก ร ะ บ บ ผู้ ล่ า ร า ย ย่ อ ย ที่ ข อ ท า น ข โ ม ย ห รื อ แ ย่ ง ชิ ง เ ศ ษ เ ด น จ า ก ค น ร ว ย ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร ง หรือในฐานะผู้มีส่วนร่วมในการค้าผิดกฎหมายขนาดใหญ่ เช่น การค้ายาเสพติด อาวุธ ผู้หญิง ห รือ สิ น ค้ า ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ใด ๆ ที่ เป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ตั ว เล ข ที่ สู ง อ ย่ า ง ไ ม่ น่ า เชื่ อ ข อ ง ส ถิ ติ ก า ร ป ร ะ ท้ ว ง ต่ อ ต้ า น ก อ ง ทุ น ก า ร เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ยังไม่ ร ว ม ถึ ง ก ระแ ส ก า รก่ อ อ า ช ญ า ก ร รม ที่ เกิ ด ขึ้ น ใน เมื อ งให ญ่ ห ล า ย เมื อ ง ห ลั ง ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ รู ป เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ กลุ่มคนที่ตกอยู่ภายใต้ตรรกะอันไร้ความปรานีและความต้องการของตลาดก็พบว่าตนมีเวลาหรือพื้นที่น้อ ยมาก จนยากที่จะสารวจหาช่องทางของการปลดปล่อยที่อยู่นอกเหนือจากเส้นที่ตลาดขีดกาหนดไว้ว่า เป็ น ก า ร ผ จ ญ ภั ย ที่ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เป็ น เว ล า ว่ า ง แ ล ะ สิ่ ง ที่ น่ า ตื่ น ต า ตื่ น ใ จ เมื่อต้องดาเนินชีวิตราวกับเป็นแค่ไส้ติ่งของตลาดและการสะสมทุนแทนที่จะเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหมาย อ า ณ า จั ก ร ข อ ง เ ส รี ภ า พ จึงฝ่อลงเมื่อต้องเผชิญหน้ากับตรรกะอันน่าเกรงขามและความเอาจริงเอาจังอย่างไร้แก่นสารในการดารง ชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์ของตลาด