SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
คำบรรยำยวิชำ PS 710
สังคมวิทยำกำรเมืองกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม
Political Sociology and Social Change
ผศ.พิมล พูพิพิธ
คำสั่งรำยงำน : ให้นักศึกษาเขียนรายงานเรื่อง การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
โดยเลือกชุมชนที่นักศึกษารู้จักมากที่สุด
- เขียนด้วยลายมือตนเอง
- ความยาวไม่เกิน 15 หน้า
- ส่งวันที่ 11 มิถุนายน 2554
- คะแนนรายงาน 20 คะแนน
ขอบเขต
1. พูดถึงสภาพทั่วไปของชุมชน
2. พูดถึงปัจจัยที่นามาสู่การเปลี่ยนแปลงของชุมชน
3. ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
ในการเขียนต้องใช ้ทฤษฎีและแนวคิดที่อาจารย์สอนไปประกอบในทุกประเ
ด็น
เช่น ถ ้าเขียนถึงหมู่บ ้าน ต้อ งบอ กว่าหมู่บ ้าน เราเป็ น แบบไหน เช่น
เป็ น สั งค ม เก ษ ต รก ร รม ห รือ อุ ต ส าห ก ร รม เป็ น เมื อ ง ห รือ ช น บ ท
มี วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี แ บ บ ไ ห น
จากนั้นนักศึกษาต้องบอกว่าการเปลี่ยนแปลงของหมู่บ ้านเปลี่ยนอย่างไร
และอะไรทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (อะไรเป็ นปัจจัยสาเหตุ (ตัวแปรต้น)
อ ะไ รเป็ นผ ล (ตั วแป รต าม ) หรือ บ อ ก ไ ด้ว่าอ ะไ รเป็ น Change Agent)
จากนั้นก็ต้องพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมเป็ นอย่างไร (ปรองดอง
หรือแตกแยก)
เช่น ลพบุรีพอมีกองทหารมาตั้งแล้วทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
พอมีโรงงานอุตสาหกรรมมาตั้งทาให้ลพบุรีเปลี่ยนแปลงอย่างไร
Change Agent อ า จ จ ะเป็ น ค น เป็ น แ น ว คิ ด อุ ด ม ก าร ณ์ ก็ ไ ด้
เช่นแนวคิดแบบทุนนิยม แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
****
วิ ช า นี้ คื อ วิ ช า สั ง ค ม วิ ท ย า ก า ร เ มื อ ง
เ ป็ น วิ ช า ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย น เ ฉ พ า ะ ก า ร เ มื อ ง ล้ ว น ๆ
แต่เป็ นวิชาแบบสหวิทยาก ารที่ต้อ งศึก ษ าผส มผสานกันทั้งสังคมวิทยา
รัฐศาสตร์และสังคมวิทยาการเมือง
วิ ช า นี้ เ ป็ น วิ ช า ต่ อ ย อ ด จ า ก 7 0 4
เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังคมหรือชุมชนซึ่งเกี่ยวข้องกับชีวิตนักศึกษา
วัตถุประสงค์ของวิชำ
1. ให้นักศึกษาเข้าใจปฏิสัม พันธ์ระหว่างการเมือง เศรษ ฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
2
2. ให้นักศึกษาเข้าใจทฤษฎีทางด้านสังคมวิทยาการเมือง
3. นักศึกษาสามารถใช ้ทฤษฎีหรือแนวความคิดทางสังคมวิทยาการเมืองมา
อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยที่นักศึกษารู้ได้
กำรเมือง : ควำมหมำย เนื้อหำ และขอบเขต
อำริสโตเติล (Aristotle) กล่าวว่าการเมืองเป็นเรื่องของการออกแบบ
(Architectonic Science) แต่เป็นการออกแบบชีวิตในการอยู่ร่วมกันของมนุษย์
เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคมหรือเป็นสัตว์การเมืองไม่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้
การออกแบบสังคมของมนุษย์คือการทาอย่างไรให้มนุษย์อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุ
ข เช่น ต้องมีกฎ กติกา
สังคมไทยเราเองก็ที่ผ่านมาก็พยายามออกแบบสังคมไทยมาตลอดตั้งแต่เร
า เ ริ่ ม อ ยู่ ร่ ว ม กั น เ ป็ น สั ง ค ม เ ช่ น เ ร า มี รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ
เรา มี ก า ร เลื อ ก ตั้ ง ก็ เ พื่ อ จ ะ ใ ห้สั ง ค ม อ ยู่ กั น อ ย่ า ง ส ง บ สุ ข เช่ น
พ ยายาม อ อ ก แบบ ก ารเลื อ ก ตั้งเพื่ อ ให้ไ ด้ค นที่ ดี ที่ สุด เข้าม าท างาน
ซึ่งเรามีการลองผิดลองถูกมาตลอดเวลาตั้งแต่ 2475 จนถึงปัจจุบัน
ฮ ำ โ ร ล ด์ ล ำ ส เ ว ล ล์ (Harold Lasswell) ก ล่ า ว ว่ า
การเมืองคือ เรื่องอ าน าจ ซึ่งตรงกับแน วคิดขอ ง ฮันจ์ เจ มอแกนทอร์
ที่บอกว่าการเมืองระหว่างประเทศก็คืออานาจและอานาจคือผลประโยชน์
( ตั ว อ ย่ า ง ง่ า ย ๆ ที่ ส ะ ท้ อ น ว่ า อ า น า จ คื อ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์
เช่น นัก ศึก ษ าต้อ งก ารไ ปจ อ ดรถใน ราม คาแหงวัน หยุดแต่ไ ม่มีที่ จอ ด
จึ ง จ่ า ย เ งิ น ใ ห้ ย า ม 1 0 , 0 0 0 บ า ท ใ ห้ ย า ม จั ด ก า ร ใ ห้
ถ ้ายามรับเงินและหาที่จอดรถให้แสดงว่า)
เช่ น ก า ร เมื อ ง มี อ า น า จ ใ ห้ เร า ม า เรี ย น ห รื อ ไ ม่ เรี ย น ก็ ไ ด้
ห รื อ มี อ า น า จ สั่ ง ใ ห้ ค น เ กิ ด ห รื อ ไ ม่ เ กิ ด ก็ ไ ด้ เ ช่ น
นโยบายลูกคนเดียวของบางประเทศ
V.O. Key ก ล่ า วว่า ก า รเมื อ ง เป็ น เรื่อ ง ข อ ง ก า ร บั งคั บ บั ญ ช า
(Commanding) และอานาจ (Power)
เ ด วิ ด อี ส ตั น ก ล่ า ว ว่ า
ก า ร เมื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร จั ด ส ร ร สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ใ น สั ง ค ม
โดยผู้มีอานาจอันชอบธรรม (Authoritative Allocation of Values)
แ บ น ฟิ ล ด์ ( E.C. Banfield) ก ล่ า ว ว่ า
การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้งเกี่ยวกับผลประโยชน์ของส่วนรวม (Conflicts
of Collective Interest) เ ช่ น
ก า ร เมื อ ง เป็ น ก า ร แ ข่ ง ขั น เพื่ อ ช่ ว ง ชิ ง ต า แ ห น่ ง ท า ง ก า ร เมื อ ง
พอช่วงชิงกันก็ทาให้เกิดความขัดแย้งกัน
ผลประโยชน์จึงทาให้คนร่วม มือ กันก็ได้หากมีผลประโยชน์ร่วมกัน
และขัดแย้งกันหากผลประโยชน์ไม่สอดคล้องกัน
แ ม ก ซ์ เ ว เ บ อ ร์ ก ล่ า ว ว่ า
การเมืองเป็นเรื่องของการผูกขาดการใช ้อานาจในอาณาบริเวณหนึ่งเรื่องอานาจรั
ฐ (Monopolistic Utilization of Power in its Territory)
3
อ า น า จ ภ า ย ใ น คื อ อ า น า จ อ ธิ ป ไ ต ย
ซึ่งรัฐ บาลขอ งรัฐนั้นๆจะมีอานาจในก ารใช ้อาน าจ ภายใต้ดิน แดนของรัฐ
คือคนทุกคนในรัฐต้องทาตามในสิ่งที่รัฐสั่ง
เวล ช์ (W.A. Welsh) พิจารณาการเมืองในแง่ขอ งกิจก รรม เนื้อหา
ก ระบวน ก าร และพ ฤติก รรม ที่เกี่ยวกับห ลายสิ่ง เช่น อ าน าจ (Power)
สิทธิอานาจ/อานาจตามกฎหมาย (Authority)
- ในแง่ของกระบวนการ (Procedure) จะหมายถึงขั้นตอนหรือวิธีการ
ซึ่ ง ส า คั ญ ม า ก ๆ
ในอดีตเราจะมองว่าวิธีการเป็ นอย่างไรไม่สาคัญขอให้บรรลุเป้าหมายก็พอ
ห รื อ เ ชื่ อ ว่ า The Mean Justify The End
แต่ปัจจุบันการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ดีจะต้องใช ้วิธีการที่ดีด้วย
เ ช่ น
ถ ้าเราจะจบปริญญาก็ต้องมาจากการอ่านหนังสือไม่ให้ลอกการบ ้านหรือจ ้างคนอื่น
ทารายงาน
ในทางการเมืองมีหลายคนหลายทาสิ่งที่ไม่ถูกต้องโดยบอกว่าเพื่อรักษาเอา
ไว ้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์แนวคิดนี้ไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป
A.C. Isaak ก ล่ า ว ว่ า
การเมืองคือกิจกรรมที่รัฐบาลกระทาโดยอาศัยกฎหมาย และเป็นเรื่องเกี่ยวกับ
Power, Authority, Conflict (ความขัดแย้ง) เป็นต้น
อ านาจ (Power) และอ านาจห น้าที่ (Authority) แตก ต่างกัน เช่น
น า ย อ า เ ภ อ ส . ส . จ ะ มี อ า น า จ ห น้ า ที่ ต า ม ก ฎ ห ม า ย
แต่อานาจคือความสามารถในการสั่งให้คนกระทาหรือไม่กระทาในสิ่งที่คนมีอานา
จต้องการ ซึ่งบางครั้งคนบางคนมีอานาจหน้าที่แต่อาจจะไม่มีอานาจก็ได้
แ ต่ บ า ง ค น จ ะ มี ทั้ ง อ า น า จ ห น้ า ที่ แ ล ะ มี อ า น า จ ด้ ว ย
แ ล ะ บ า ง ค น มี อ า น า จ แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ มี อ า น า จ ห น ้ า ที่ เ ช่ น
คนที่บุคคลนอกรัฐธรรมนูญก็เป็นการพูดถึงคนที่มีอานาจแต่ไม่มีอานาจหน้าที่
คาว่าอานาจยังมีคาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น บารมี อานาจบังคับ (Force)
L.A. Froman ม อ ง ก า ร เ มื อ ง เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ เ ด วิ ด อี ส ตั น
ว่ า ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ( Distribution)
ก ารไ ด้ห รือ เสี ยป ระโยช น์ข อ งบุค คล ต่ างๆ ขึ้น กั บ ห ลาย ปั จ จัย เช่น
ก ร ะ จ า ย ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ( เช่ น
การไปเลือกตั้งคือการมีส่วนร่วมในการตัดสินว่าจะเลือกใครมาเป็นรัฐบาลหรือเป็น
ผู้นา)
หรือ ใน ปั จ จุบัน จ ะมี แน วคิด เรื่อ งก ารก ระจ ายซ้ า (Redistribution)
เนื่อ งจ าก ม อ งว่าก ารก ระจ ายผลประโยชน์ในอ ดีตไ ม่มีความ เป็ นธรรม
ทาให้คนที่ไม่ได้รับการกระจายประโยชน์ต้องได้รับการกระจายประโยชน์ใหม่อีกค
รั้ง
L. Rogers ก ล่ า ว ว่ า
รัฐ ศ าส ต ร์เป็ น ทั้ ง ศ า ส ต ร์แ ล ะศิ ล ป ะ ใน ก า ร ป ก ค รอ ง ข อ ง รัฐ บ า ล
4
ร ว ม ถึ ง แ น ว คิ ด ห รื อ ป รั ช ญ า ก า ร เ มื อ ง
เป็นพลังก่อเกิดรูปร่างสรีระของรัฐคือโครงสร้างความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยกับห
น่วยใหญ่ การกาหนดนโยบาย การนานโยบายไปปฏิบัติ ฯลฯ
- คนที่เรียนรัฐศาสตร์จะต้องอธิบายการเมืองอย่างเป็นศาสตร์ไม่ใช่อาศัยศิล
ป ะ อ ย่ า ง เ ดี ย ว
เพราะหากอาศัยศิลปะอย่างเดียวก็ไม่แตกต่างจากคนที่วิจารณ์การเมืองตามร้านก
าแฟ
- ส่วนแนวคิดหรือปรัชญาการเมืองคือโครงสร้างที่เป็นนามธรรมที่มองไม่เห็
นแต่มีอิทธิพลต่อมนุษย์ เช่น ความรู้สึกบาปเป็นแนวคิดที่ทาให้คนไม่กล้าทาผิด
ปรัชญาการเมืองก็เป็นโครงสร้างที่เป็นนามธรรมในทางการเมืองซึ่งมีอิทธิพลต่อพ
ฤติกรรมทางการเมือง
ก า ร เ มื อ ง ยั ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง
เรื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ห น่ ว ย ย่ อ ย กั บ ห น่ า ย ใ ห ญ่
เป็นของการกาหนดนโยบาย และการนานโยบายไปปฏิบัติ
G.A. and A.G. Theodorson ก ล่ า ว ว่ า
การเมืองเป็นกระบวนการสร้างนโยบาย (Policy Setting/Policy Making)
ก า ร เมื อ ง ยั ง ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ช ้อิ ท ธิพ ล คุ ม แ ห ล่ ง อ า น า จ
และการใช ้อานาจหน ้าที่มีการแข่งขันกัน (Competition) และมีความขัดแย้งกัน
(Conflicts) และความร่วมมือกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย
สรุป การเมืองมีความหมายครอบคลุมถึง
- รัฐบาล กฎหมาย และสถาบัน
- การเมืองเป็นเรื่องของสาธารณะ (Public) เรื่องส่วนตัวไม่ใช่การเมือง
- การเมืองเป็นกระบวนการ (Process) มีขั้นตอน
- การเมืองทาหน ้าที่สร้างกฎหมาย บังคับใช ้กฎหมายอย่างทั่วถึงทั้งสังคม
- ก า ร เมื อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ก ระ ท า ข อ ง ปั จ เจ ก ช น ก ลุ่ ม ค น
หรือสถาบันที่ไม่เป็นทางการ (Private/Informal)
- แนวความคิดต่างๆ ที่เกี่ยวกับรัฐบาลหรือเกี่ยวกับการปกครอง
- ค ว า ม เ ชื่ อ ป รั ช ญ า อุ ด ม ก า ร ณ์ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ต่ า ง ๆ
ที่มีผลต่อการตัดสินใจของรัฐบาล
- ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง อ า น า จ เ กี่ ย ว กั บ ส ถ า บั น
และกระบวนการที่จะทาให้ได้มาซึ่งอานาจ
เ ช่ น เ พ ล ง ช า ติ ไ ท ย ถื อ ว่ า เ ป็ น ส ถ า บั น อ ย่ า ง ห นึ่ ง
เพราะดารงอยู่มาอย่างยาวนาน หรือการไหว ้ก็เป็นสถาบันของไทยเช่นกัน
สังคมวิทยำ ศึกษาเกี่ยวกับ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไป
2. ศึกษาสถาบันต่างๆ ทางสังคม และศึกษ าความสัมพันธ์ทางสังคม
(Social Relationship)
3. เน ้น ค วา ม สั ม พั น ธ์ท า งส ถ า น ภ าพ (Status) บ ท บ า ท (Roll)
ไ ม่ใช่ตั วค น ท างก ายภ าพ ห รือ บุค ลิก ภ าพ เช่น ศึก ษ าช ายกั บ ห ญิง
5
ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับครู ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนายจ ้างกับลูกจ ้าง
ไ ม่ ไ ด้ส น ใ จ เ รื่ อ ง ค น แ ต่ ล ะ ค น แ ต่ ศึ ก ษ า เป็ น ภ า พ ร ว ม เช่ น
เ ร า ศึ ก ษ า ว่ า ค น ไ ท ย ส่ ว น ใ ห ญ่ ก ตั ญ ญู ต่ อ พ่ อ แ ม่
โ ด ย ไ ม่ ส น ใ จ ว่ า ค น แ ต่ ล ะ ค น ก ตั ญ ญู ห รื อ ไ ม่ ก ตั ญ ญู
(เพราะต้องมีคนจานวนหนึ่งที่ไม่กตัญญู)
4. ความ สัมพันธ์นี้จะรวม ถึงความ คิด ความรู้สึก ความเชื่อ ทัศนคติ
ซึ่งอ ้างถึงกัน เชื่อมโยงกัน โดยอาจจะไม่รู้จักกัน
เช่น ค นแ ต่ล ะภาค มัก จ ะมี ความ รู้สึก ต่อ คน อีก ภาคต่ างๆ น าน า
โดยอาจจะไม่มีประสบการณ์โดยตรง
อ ริส โต เติล ก ล่ า วว่า ม นุ ษ ย์เป็ น สั ต ว์สั งค ม (Political Animal)
หรือชอบอยู่รวมกัน แต่ชีวิตที่ดีของมนุษย์คือชีวิตที่อยู่ร่วมกันอย่างมีอิสระเสรี
ไ ม่ ใ ช่ อ ยู่ ร่ ว ม กั น แ ต่ ไ ม่ มี ค ว า ม เส รี ไ ม่ มี ใ ค ร ม า บั ง คั บ ข่ ม เห ง
มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองในนครรัฐที่มีอิสระ สามารถปกครองตนเองได้
( Self Determination) ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ ใ ค ร ม า ป ก ค ร อ ง
ความเป็นสัตว์การเมืองของมนุษย์จึงจะต้องมีสิทธิและมีส่วนร่วมทางการเมืองด้วย
(ในรายงานของนักศึกษาก็ควรจะบอกว่าสังคมที่นักศึกษาเขียนถึงนั้นคนอยู่
ร่วมกันอย่างอิสรเสรีหรือไม่ มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนหรือไม่)
ควำมสำคัญของสังคมต่อควำมเป็ นอยู่ของมนุษย์
1. ม นุ ษ ย์ โ ด ย ธ ร ร ม ช า ติ มี ค ว า ม อ่ อ น แ อ ม า ก
ถ ้า ต่ า ง ค น ต่ า ง อ ยู่ ก็ จ ะ ไ ม่ อ า จ อ ยู่ ร อ ด ต่ อ ภั ย ร อ บ ตั ว ไ ด้
จึงต้องอยู่รวมกันและมีสังคมคอ ยดูแล เช่น เด็กทารก หากไม่มีใครดูแล
อยู่ได้วันเดียวก็จะตาย แต่ลูกสัตว์สามารถดิ้นรนเอาตัวรอดได้
2. ม นุ ษ ย์มี ส ม อ งข น า ด ให ญ่ มี ส ติ ปั ญ ญ า ส าม ารถ เรีย น รู้ไ ด้
ไม่ ไ ด้ใช ้เพี ยงแต่สั ญ ช าต ญ าณ (Cognitive Reason) เห มือ น สั ตว์อื่น ๆ
มนุษ ย์จึงส าม ารถส ร้างเครื่อ งมือ สื่อ ส ารคือ ภาษ าและส ร้างสิ่งอื่น ๆไ ด้
ซึ่งช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคมโดยมีชีวิตที่ดีได้
3. ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง จิ ต ใ จ แ ล ะ ท า ง อ า ร ม ณ์
ซึ่งม นุ ษ ย์ด้วย กั น เท่ า นั้น ที่ จ ะส น อ งต อ บ ไ ด้ เช่น เรามี แ ฟ น 1 ค น
ก็จะดีกว่าเลี้ยงหมา 10 ตัว
4. ความ เจริญจากสิ่งประดิษ ฐ์ต่างๆ จากการคิดค้นทางเทคโนโลยี
ซึ่ ง ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม รู้ ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม ห ล า ย ๆ ค น
และความความรู้ความเจริญของมนุษย์ได้จากการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีก
รุ่ น ห นึ่ ง เ ผ ย แ พ ร่ ล อ ก เ ลี ย น แ บ บ กั น แ ล ะ กั น ดั ง นั้ น
มนุษย์จึงจาเป็นต้องดารงอยู่ด้วยกันเป็ นสังคมและมีการแบ่งงานกันทา เช่น
เราไม่ปลูกข้าวแต่มีข้าวกิน เราไม่ผลิตมือถือแต่มีมือถือใช ้
การแบ่งงานกันทาและมีการแลกเปลี่ยนทาให้เกิดแนวคิดการได้เปรียบเชิงเ
ปรียบเทียบ นั่นคือ มองว่าการแบ่งงานกันทาดีกว่าที่คนๆเดียวทางานทุกอย่าง
แม ้ว่าจะเสียเปรียบเมื่อนาม าแลก เปลี่ยนก็ตาม เช่น ไทยผลิตข้าว 1000
6
ถังเพื่ อ แ ล ก กั บ รถ 1 คั น ก็ ยั งดี ก ว่าจ ะต้อ ง ผ ลิต ทั้ง ข้าวแ ล ะรถ เอ ง
เพราะต้นทุนจะสูงกว่าการเอาข้าวไปแลกรถ
แนะนาหนังสือ
1. สังคมวิทยาการเมือง โดย ดร.จิรโชค
2. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม โดยงามพิศ สัตย์สงวน
3. มนุษย์กับวัฒนธรรม
4. มนุษยวิทยาประวัติศาสตร์
5. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในนคร
6. พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย โดยศรีศักดิ วัลลิโภดม
7. ความเป็นคนไทย
8. ประวัติศาสตร์ชาวนาสยาม
9. อายธรรมฝั่งทะเลตะวันออก โดย ดร.ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม
10. ความเป็นไทย/ความเป็นไท
11. สานักพลเมือง
12. อิทธิพลของฝรั่งกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
13. สยามประเทศไม่ได้เริ่มที่สุโขทัย
14. บรรพบุรุษไทย
15. ประวัติศาสตร์ชาติ ปัญญาชนโดยนิธิ เอียวศรีวงค์
16. ลีลาไทย
เป็นต้น
สังคมวิทยำกำรเมือง
สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เมื อ ง เป็ น ส ห วิท ย า ก า ร ( Interdisciplinary)
ห รื อ พ หุ วิ ท ย า ก า ร (Multidisciplinary)
เพราะสังคมวิทยาก ารเมือ งจ ะศึก ษ าครอ บคลุม ถึงวิชาต่างๆ จานวนม าก
สังคมวิทยาการเมืองจะสนใจเกี่ยวกับ
- ส ถ า บั น ท า ง สั ง ค ม (Institutions)
สถาบันหมายถึงสิ่งที่ในสังคมยอมรับร่วมกันว่ามีความจาเป็ นต่อสังคม
สามารถดารงอยู่ได้ในสังคมนั้นอย่างยั่งยืน เช่น สถาบันครอบครัว
สถาบันเพลงชาติ
- กระบวนการทางการเมือง (Process)
- อุดมการณ์ทางการเมือง (Ideology)
สิ่งที่สังคมวิทยำกำรเมืองศึกษำ
1. อานาจ โดยพิจ ารณ าว่าอ านาจขอ งคนมีผลต่อ คนอื่นอ ย่างไ ร
อานาจเกี่ยวกับบทบาทและสถานภาพอย่างไร
2. ศึกษาความขัดแย้งว่านาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงอานาจในสังคมอย่างไ
ร
นอกจากความขัดแย้งแล้วยังศึกษาเรื่องของความร่วมมือซึ่งเป็นเหรียญอีกด้านขอ
งความขัดแย้ง และยังมีเรื่องการประนีประนอมรอมชอมหรือการปรองดอง
ดังที่สังคมไทยพยายามทาอยู่ในเวลานี้
7
ตั ว แ บ บ ภู เ ข า น้ า แ ข็ ง (Ice Berg)
เป็ น ตั ว แ บ บ ใ น ก า ร ท า ค ว า ม เข้า ใ จ กั บ สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เมื อ ง
เป็นตัวแบบที่บอกว่าเบื้องหลังเหตุการณ์หรือพฤติกรรมทางการเมืองใดๆ
นั้นจะมีปัจจัยทางสังคมมากมายที่เข้ามาเกี่ยวข้องแต่เป็นปัจจัยสังคมเหล่านี้เป็นปั
จ จั ย ที่ เ ร า ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น
เหมือนกับภูเขาน้าแข็งที่ส่วนที่ลอยใต้น้าที่เรามองไม่เห็นจะเป็นพื้นที่มากกว่าส่ว
นที่ลอยเหนือน้าของภูเขาน้าแข็งที่เรามองเห็น
พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ เ ร า ม อ ง เ ห็ น คื อ ส่ ว น นิ ด เ ดี ย ว
แ ต่ สิ่ ง ที่ เ ร า ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น จ ะ มี ม า ก ม า ย
การทาความเข้าใจกับสิ่งที่มองไม่เห็นเหล่านี้จะทาให้เราเข้าใจสิ่งต่างๆ มากขึ้น
ในทางสังคมวิทยาการเมืองส่วนบนของภูเขาน้าแข็งคือรัฐศาสตร์ที่มองเห็น
ได้ชัดแต่ส่วนที่อยู่ใต้ภูเขาน้าแข็งจะเป็นสังคมวิทยา
เ ช่ น
การที่คนไปเลือกตั้งเป็นสิ่งที่เรามองเห็นแต่พฤติกรรมดังกล่าวจะปัจจัยมากมาย
เช่น ค รอ บ ค รัว ฐ าน ะท าง เศ รษ ฐ กิจ ค วาม คิด ค วาม เชื่อ แ ล ะอื่ น ๆ
ที่เราต้องทาความเข้าใจ เพื่อให้เข้าถึงพฤติกรรมในการเลือกตั้ง
เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ด็ น อื่ น ๆ
เราจาเป็ นต้องทาความเข้าใจต่อปัจจัยที่อยู่ภายใต้น้าเพื่อเข้าใจในเรื่องนั้นๆ
อย่างเพียงพอ
ตัวอย่างนักสังคมวิทยาและสังคมวิทยาการเมืองที่สาคัญ
- เซนต์ ไซม่อน (ค.ศ.1760–1825)
- เ ฮ อ ร์ เ บิ ร์ ต ส เ ป น เ ซ อ ร์ ( ค . ศ . 1 8 2 0 –1 9 0 3 )
พูดถึงสังคมแบบกลไกลและสังคมแบบไม่ใช ้กลไก
- อ เ ล็ ก ซิ ส เ ด อ ท้ อ ก เ ก อ ร์ วิ ล ล์ ( ค . ศ . 1 8 0 5 –1 8 5 9 )
เป็ น ช า ว ฝ รั่ ง เศ ส เดิ น ท า ง ไ ป ศึ ก ษ า อ เ ม ริก า ใ น ยุ ค แ ร ก
ได้เห็นการแบ่งอานาจอธิปไตยออกเป็นนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
ทาให้เขาชื่นชมอย่างมาก เพราะเวลานั้นยุโรปยังไม่มีการแบ่งแยกอานาจ
- ค า ร์ล ม า ร์ก ซ์ (18 1 8 -1 8 8 3) เจ ้า ข อ งแ น ว คิด ค อ ม มิ วนิ ส ต์
พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตกับชีวิตทางสังคม
- แ ม็ ก ซ์ เ ว เ บ อ ร์ ( ค . ศ . 1 8 6 4 –1 9 2 0 )
เจ ้าพ่อแนวคิดระบบสานักงานขนาดใหญ่ (แนวคิดระบบราชการ)
- เอ มิล เดอ ไ คม์ (ค.ศ.1858–1917) พูดถึงก ารแบ่งงานกันทาใน
ก า รฆ่ า ตั ว ต า ย เช่ น ศึ ก ษ า ว่า สั ง ค ม ที่ มี ศ า ส น า กั บ สั ง ค ม
ไม่มีศาสนาใครฆ่าตัวตายมากกว่ากัน
- เซมัวร์ มาร์ติน ลิพเซ็ต พูดถึงการรวมกลุ่มองค์กรในแบบประชาธิปไตย
- S.N. Eisenstadt
- Irving Louis Horowitz
- มอร์ริส ดูเวอร์เจอร์ ศึกษาเรื่องพรรคการเมือง กระบวนการประชาธิปไตย
ฯลฯ
8
ใน การศึก ษ าสังคมวิทยาการเมืองและการเปลี่ยน แปลงทางสังคม
( ร ว ม ทั้ ง ส า ข า วิ ช า อื่ น ๆ )
เรา จ ะต้อ งศึก ษ า ว่าอ ะไ รเป็ น ส าเห ตุ ที่ ท าให้เกิด ก ารเป ลี่ ย น แป ล ง
ห รื อ ต้ อ ง ดู ว่ า อ ะ ไ ร เ ป็ น ตั ว แ ป ร ต้ น อ ะ ไ ร เ ป็ น ตั ว แ ป ร ต า ม
หรือเราต้องให้แสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งที่เราศึกษานั่นเอง
ตั วแ ป ร (Variable) คื อ สิ่งที่ ต้อ งก ารศึ ก ษ า ส าม ารถ เป ลี่ ย น ไ ด้
สิ่งที่ เป็ น เหตุ เรียก ว่าตั วแป รต้น /ตัวแปรอิส ระ (Independent Variable)
สัญ ลั ก ษ ณ์ คื อ X ผ ล ที่ ต าม ม าคื อ ตั วแป รต าม (Dependent Variable)
สัญลักษณ์คือ Y ภาพความสัมพันธ์คือ
X Y
เ ช่ น มี โ ร ง ง า น เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ค น มี ร า ย ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น
หรือมีโรงงานเกิดขึ้นทาให้สิ่งแวดล้อมถูกทาลาย
อย่างไรก็ตามสิ่งที่เกิดขึ้นจะไม่มีสาเหตุเพียงอย่างเดียว แต่จะมีหลายๆ
สาเหตุ ขณะเดียวกันสิ่งที่เป็นผลก็จะกลายเป็นเหตุของอีกสิ่งหนึ่งกลับไปกลับมา
ดังรูป
X Y
เช่น เราจะตอบไม่ได้ว่าไก่มาก่อนไข่ หรือไข่มาก่อนไก่ เช่นเดียวกัน
สั ง ค ม ก็ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เมื อ ง ก า ร เมื อ ง ท า ใ ห้เศ ร ษ ฐ กิ จ เป ลี่ ย น
เศรษฐกิจทาให้การเมืองเปลี่ยน เป็นต้น
ยกตัวอย่าง
- ก า ร เ มื อ ง ท า ใ ห้ สั ง ค ม เ ป ลี่ ย น เ ช่ น
การเมืองทาให้เกิดมหาวิทยาลัยรามคาแหง เพราะเวลานั้นนักศึกษาไม่มีที่เรียน
เพราะมหาวิทยาลัยปิดรับได้ไม่เพียงพอ ทาให้มีการเรียกร้องให้เปิดมหาวิทยาลัย
มีนักการเมืองหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้องในการผลักดันและร่างเป็นกฎหมายเข้าสู่ส
ภา
เมื่อมีมหาวิทยาลัยรามคาแหงก็ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ม า ก ม า ย เพ ร า ะ ท า ใ ห้ค น ไ ม่ มี โ อ ก า ส เ รี ย น ไ ด้เรี ย น ห นั ง สื อ
รามคาแหงทาให้การศึกษาขยายตัวอย่างมากมายเพราะเป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิ
ชา
รามคาแหงทาให้สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงพาราไดม์ด้านการศึกษา
เ พ ร า ะ อ ดี ต เ ชื่ อ ว่ า ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ่ ง มี ค่ า
เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ค น หั ว ก ะ ทิ แ ล ะ ช น ชั้ น น า เ ท่ า นั้ น
หากคนระดับล่างได้รับการศึกษาอาจจะทาให้สังคมมีปัญหา
แต่พอมีรามคาแหงทาให้เกิดการเปลี่ยนแนวคิดว่าการศึกษามีไว ้สาหรับทุก
ๆ ค น ไ ม่ ใ ช่ มี ไ ว ้ส า ห รั บ ค น ร ว ย แ ล ะ ค น ที่ เ รี ย น เ ก่ ง เ ท่ า นั้ น
ปัจจุบันรามคาแหงได้สร้างคนที่มีความรู้ออกสู่สังคมอย่างมากมายมาจนถึงทุกวัน
นี้
9
พำรำไดม์ (Paradigm) หมายถึงทัศนะ แม่บท ความ คิดพื้นฐาน
ก า ร เ ป ลี่ ย น พ า ร า ไ ด ม์ (Paradigm Shift)
คือการเปลี่ยนทัศนะพื้นฐานแบบถอนรากถอนโคน เช่น เดิมมนุษย์เชื่อว่าโลกแบน
แ ต่ ต่ อ ม า ก็ มี ก า ร ค้ น พ บ ว่ า โ ล ก ก ล ม
ถือว่าเป็นการเปลี่ยนพาราไดม์ครั้งใหญ่และส่งผลให้เกิดความก ้าวหน ้าด้านต่างๆ
มากมายของโลกมนุษย์
เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ใ น อ ดี ต เ ร า จ ะ เ ชื่ อ ว่ า ค น ไ ม่ เ ท่ า กั น
ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม คิ ด แ บ บ อ า น า จ นิ ย ม
แ ต่ ต่ อ ม า ก็ เ ป ลี่ ย น พ า ร า ไ ด ม์ ม า เ ชื่ อ ว่ า ค น เ ป็ น ค น เ ท่ า กั น
อันเป็นแนวคิดแบบประชาธิปไตย
Jacques Derrida (ชาร์ค ดารีด้า) บอกว่าความเป็นจริงเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้น
เมื่อ สิ่งที่ส ร้างขึ้น ไม่ถูกต้องต่อไป จึงต้อ งมีก ารรื้อ ทิ้ง (Deconstruction)
และต้องสร้างความจริงขึ้นมาใหม่ หรือ Reconstruction
Deconstruction คื อ ก ารเป ลี่ ย น แ ป ล งแ บ บ ไ ม่ ถ อ น ราก ถ อ น โค น
เ ป ลี่ ย น เ ล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ โ ด ย มี พื้ น ฐ า น เ ดิ ม อ ยู่
(แตกต่างจากการเปลี่ยนพาราไดม์ที่เปลี่ยนแปลงจากของเก่าไปทั้งหมดแบบถอ
นรากถอนโคน)
Reconstruction คือการสร้างขึ้นใหม่
เช่น เดิม เชื่อ ว่า รัก วัวให้ผูก รัก ลูก ให้ตี เป ลี่ยน เป็ น รัก วัวให้ผู ก
รักลูกให้ทาความเข้าใจลูก เอาใจใส่ ให้เวลาลูก เดิมชื่อว่าผู้ชายเท้าหน้า
ผู้หญิงเท้าหลังแต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นหญิงและชายเดินไปด้วยกัน
นอกจากชาร์ค ดารีดาแล้วนักวิชาการที่มีชื่อเสียงในแนวนี้คือมิเชล ฟูโกต์
ที่นาเสนอเรื่องวาทกรรม (Discourse) โทมัส คูน
- เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท า ใ ห้ ก า ร เ มื อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ช่ น
การลดค่าเงินบาททาให้การเมืองไทยมีปัญหา ทาให้รัฐบาลชวลิตต้องลาออก
- ก า ร เมื อ ง ท า ใ ห้วัฒ น ธ รรม เป ลี่ ย น แ ป ล ง เช่น จ อ ม พ ล ป .
สั่ ง ใ ห้ ค น ไ ท ย ย ก เ ลิ ก ก า ร กิ น ห ม า ก
สั่ ง ใ ห้ ค น ไ ท ย มี วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร แ ต่ ง ตั ว แ บ บ ทั น ส มั ย
เช่ น เดี ย ว กั บ ฮิ ต เล อ ร์ก็ ส่ ง ผ ล ใ ห้สั ง ค ม เย อ ร มั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี จ อ ห์ น เ อ ฟ . เ ค เ น ดี้
ก็ ท า ใ ห้ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง อ เ ม ริ กั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ม า ก
รวมทั้งลีกวนยูที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับสิงคโปร์
ห รื อ ก า ร ล่ ม ส ล า ย ข อ ง ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ต
ซึ่งเป็ นเรื่องทางการเมืองนามาสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลในทุกด้าน
ทั้งเศรษฐกิจ การเมืองระหว่างประเทศ เนื่องจากสงครามเย็นสงบลง
ปัจจุบันหลายๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบไปแทบทุกด้าน เช่น
ภัยพิบัติที่ญี่ปุ่ นส่งผลต่อเศรษ ฐกิจ เช่น คนไม่กล้ากินปลาที่มาจากญี่ปุ่ น
ค น ไ ม่ ก ล้ า ไ ป เ ที่ ย ว
10
เหตุการณ์นี้ยังส่งผลต่อระหว่างประเทศเพราะนานาประเทศต่างส่งความช่วยเหลื
อไปยังญี่ปุ่น
หรือภูเขาไฟที่ไอร์แลนด์ระเบิดมีผลต่อเศรษฐกิจเพราะสายการบินต้องหยุด
บิน ซึ่งการหยุดบินแต่ละครั้งทาให้เสียหายเป็นพันเป็นหมื่นล้าน เป็นต้น
แนวทำงกำรศึกษำวิเครำะห์กำรเมือง (Approach)
เป็นแนวทางการศึกษาหรือมุมมองที่จะใช ้ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมือง
ซึ่งมีแนวทาง คือ
1. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ค ร ง ส ร้ า ง (Structure, Structuralism)
เป็นการดูโครงสร้างของสิ่งที่เราศึกษา เช่น โครงสร้างแบบเมือง แบบชนบท
แบบอุตสาหกรรม
2. แนวทางศึกษาหน ้าที่ ประโยชน์ เป้าหมาย (Function, Functionalism)
ดูหน้าที่
3. ส ถ า บั น (Institution) คื อ สิ่ ง ที่ ยึ ด ถื อ กั น ม า น า น ป ฏิ บั ติ
และถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง
4. ประวัติศาสตร์ (Historical Approach) เป็นการเล่าเรื่อง เน้นความจริง
เช่น การชนช ้างของพระนเรศวรมีจริงหรือไม่ก็ต้องดูจากหลักฐาน
ประวัติศาส ต ร์มี ทั้งประวัติศ าส ต ร์ท้อ งถิ่น ป ระวัติศ าส ต ร์ชุม ช น
ประวัติศาสตร์ของโลก
5. แนววิเคราะห์ปรัชญา (Philosophical Approach)
6. แนววิเคราะห์กฎหมาย (Legal Approach) ดูความเป็นถูก ความยุติธรรม
ค ว าม ไ ม่ 2 ม า ต ร ก า ร ไ ม่ เลื อ ก ป ฏิ บั ติ ก ฎ ห ม าย ล้า ส มั ย ห รือ ไ ม่
สอดคล้องกับชีวิตของคนปัจจุบันหรือไม่ เช่น รุกล้าทะเลปรับวันละ 100
ก็มีปัญหาถูกรุกล้าต่อไป ควรจะต้องปรับวันละ 1 ล้าน คนก็จะบุกรุกทะเลน ้อยลง
7. แนววิเคราะห์เศ รษ ฐ กิจ /เศรษ ฐ ศ าส ตร์ (Economic Approach)
ดูการผลิต การจาหน่าย การบริโภค
8. แนววิเคราะห์วัฒนธรรมการเมือง (Political Cultural Approach) เช่น
วัฒนธรรมเงินไม่มากาไม่เป็น วัฒนธรรมการเป็นนอมินี
9. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ ภ า ษ า (Linguistics/Language)
เป็นแนวการวิเคราะห์ที่บอกว่าการเมืองเป็นเรื่องขิงภาษา เช่น อามาตยาธิปไตย
ความไม่เป็ นธรรมทุกหย่อมหญ ้า การกดขี่ของคนเมือง ล้มเจ ้า ขายชาติ
ถ ้อยคาเหล่านี้เราจะพบทางหน ้าสื่อมวลชน
10. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ จิ ต วิ ท ย า (Psychological Approach) เ ช่ น
ก า ร แ ห่ ไ ป ไ ห ว ้สิ่ ง ศั ก ดิ สิ ท ธิ์ เ ป็ น จิ ต วิ ท ย า ม ว ล ช น เ ช่ น
คนแต่ละคนอาจจะเป็นคนดีแต่พอรวมกันและมีผู้ปลุกระดมก็อาจจะทาสิ่งที่ไม่น่าเ
ชื่อได้ เช่น เผาบ ้านเมืองได้
11. แนววิเคราะห์สังคมวิทยา (Sociological Approach)
12. การวิเคราะห์ปัจจัยเข้าออก (Input–Output Analysis)
11
13. แนววิเคราะห์ทฤษ ฎีระบบ (General System Theory) ดู Input,
Output, Process, Feedback เช่น ผลก ระท บที่เกิดขึ้น ดูส ภาพ แวดล้อ ม
แนวนี้จะลึกซึ้งกว่าแนว Input-Out Put Analysis
14. ก า ร สื่ อ ส า รค ม น า ค ม (Communication/Cybernetic Theory)
วิเคราะห์สื่อ
15. ก ารวิเคราะห์ก ารจัดส รรสิ่งที่ มีคุ ณ ค่า (Distributive Analysis)
ดูว่าใครได้อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร
16. ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory)
17. แนวคิดพหุนิยม (Pluralism)
18. ทฤษฎีชนชั้นนา (Elite Theory)
ควำมแตกต่ำงของมนุษย์ มนุษย์แตกต่างกันในเรื่องต่อไปนี้
1. เชื้อชาติ (Race) เชื้อชาติในโลกมี 3 เชื้อชาติใหญ่คือ
- คอเคซอยด์ (Caucasoid) ผิวขาว ตัวใหญ่ จมูกโด่ง ตาใหญ่ ผมทอง
- มองโกลอยด์ (Mongoloid) ผิวเหลือง ตาตี่ ผมดา ตาสีดาหรือน้าตาล
- นิกรอยด์ (Negroid) ผิวดา ตัวใหญ่ ตาโปน จมูกใหญ่ ผมหยิก
สิ่งเห ล่านี้ เป็ น ลั ก ษ ณ ะที่ ป ราก ฏ ภ ายน อ ก ที่ เรีย ก ว่า Phenotype
(Phenomenon หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ปรากฏให้เห็น)
2. Genotype การแตกต่างทางพันธุกรรม ทาให้ DNA ของคนต่างกัน
3. ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ (Ethnic Group) ก า ห น ด โ ด ย วั ฒ น ธ ร ร ม
และวัฒนธรรมคือสิ่งที่เราสร้างขึ้น ทาให้คนไทยแตกต่างจากคนลาว ทั้งๆ
ที่ ล า ว แ ล ะ ไ ท ย ต่ า ง เ ป็ น เ ชื้ อ ช า ติ เ ดี ย ว กั น
แต่เราเป็นคนละชาติพันธุ์กันเพราะเรามีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
ดังนั้นมนุษย์สามารถแตกต่างกันได้ในแง่ของลักษณะที่ปรากฏภายนอก
แต่ไม่ได้แตก ต่างในแง่ของความ เป็ นคน ดังนั้นไม่ว่าคนจะผิวดา เหลือ ง
หรือผิวขาวก็มีความเป็นมนุษย์เท่ากัน
เช่นเดียวกันการมียีนส์แตกต่างกันก็ไม่ได้ทาให้คนแตกต่างกันในความเป็น
คน เช่น กัน เช่น คนที่โง่ที่สุดก็มีความ เป็ นมนุษ ย์เท่ากับคนฉลาดที่สุด
และคนส่วนใหญ่ควรเห็นใจและต้องช่วยให้คนโง่ที่สุดได้รับในสิ่งที่คนทั่วไปได้รับ
เหมือนๆ กัน
วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง
1. ระบบความเชื่อ คุณค่า ค่านิยม ภูมิปัญญา
2. การปฏิบัติของชุมชน หนึ่งๆ หรือ สังคม หนึ่งๆ ที่แตกต่างกัน เช่น
ไปงานแต่งงานก็ต้องมีของขวัญให้กับคู่แต่งงาน
3. วัฒ น ธ รรม เชิงนิ เว ศ (Culture Ecology) ห รือ นิ เวศ วัฒ น ธ รร ม
เป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น เช่น
คนตรังจะมีวัฒนธรรมที่ต่างจากชาวนครพนม ไม่ว่าจะเป็นการกิน
4. วัฒ นธรรมเป็ นทุกสิ่งที่ใช ้ในก ารดารงชีวิต (Instrumental Needs)
ทั้งที่เป็นวัตถุและวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
12
วัฒ น ธรรม วัต ถุ (Material Culture) เช่น เครื่อ งใช ้ มื อ ถือ เสื้อ ผ้า
เครื่องแต่งกาย
เ ช่ น เ ร า มี มื อ ถื อ เ ร า ก็ มี วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ใ ช ้ มื อ ถื อ
แต่บางสังคมก็อาจจะมีวัฒนธรรมสื่อสารแบบอื่นๆ เช่น เขียนจดหมาย (เช่น
ในเรื่องผ้าจะมีผู้เชี่ยวชาญระดับศาสตราจารย์ที่ศึกษาเรื่องผ้า เรื่องการทอผ้า
หรือมีผู้เชี่ยวชาญเรื่องสี ว่าเกิดมาอย่างไร มนุษย์แต่ละสังคมคิดค้นสีอย่างไร)
ส่วนวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (Non Material Culture) เช่น ความเชื่อ ค่านิยม
เ จ ต ค ติ อุ ด ม ก า ร ณ์ ศ า ส น า
สั งค ม ไ ท ย เรารับ เอ าวัฒ น ธ รรม ที่ ไ ม่ ใช่วัต ถุเห ล่ านี้ จ าก ภ า ย น อ ก
แต่เราไม่ได้รับมาทั้งหมด อาจจะรับมาบางส่วน
5. วัฒนธรรมช่วยกากับสังคมไม่ให้เกิดความระส่าระสาย
6. วัฒนธรรมเป็นสิ่งจาเป็น แต่จะมีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอให้เหมาะสม เช่น
อักษรไทย หรือลายสือไทก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยพ่อขุนรามอย่างมาก
(เช่นเดียวกับในรายงานของนักศึกษาก็ต้องบอกว่าในชุมชนที่นักศึกษาเขีย
นถึงมีการเปลี่ยนแปลงในทางวัฒนธรรมอย่างไร)
วัฒนธรรมจะแบ่งออกเป็นชีวิตวัฒนธรรมและศิลปวัฒนธรรม
- ศิลปวัฒนธรรม มีลักษณะ
1. เป็ น ผ ล งาน พิ เศ ษ เฉ พ าะ ก่ อ ให้เกิ ด ค วาม รู้สึก แ ล ะอ ารม ณ์
สะท้อนใจได้ง่าย อาจใช ้ใน แง่ธุรกิจ เพื่อ การค้าขาย เพื่อก ารท่องเที่ยว
ให้เยี่ยมชม เช่น ภาพวาด รูปปั้น พระพุทธรูป (เช่น พระพุทธรูปที่เขาชีจันทร์)
2. ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม บ า ง อ ย่ า ง จ ะ เ ป็ น ชิ้ น เ ดี ย ว ใ น โ ล ก
ลอกเลียนแบบให้เหมือนสนิทไม่ได้ เป็นลักษณะสถิต (Static) ต้องอนุรักษ์เอาไว ้
ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ แ ป ร เ ป ลี่ ย น เ ช่ น รู ป โ ม น า ลิ ซ่ า
พระพุ ทธรูปขนาดใหญ่ในอัฟ ก านิส ถานที่ ถูก ท าลายโดยก ลุ่ม ตาลีบัน
ไม่สามารถสร้างใหม่มาทดแทนได้
- ชีวิต วัฒ น ธ รรม เกี่ ย วข้อ งกั บ ชีวิต ป ระจ าวัน ข อ งค น ทุ ก ค น
เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เป็ นวัฒนธรรมในการใช ้ชีวิต เช่น การแปรงฟัน
การกิน การนอน การแต่งตัว
ในกำรศึกษำของเรำเรำจะให้ควำมสนใจเกี่ยวกับชีวิตวัฒนธรรมหรือ
สังคมวัฒนธรรม ไม่ใช่ นั่นคือเราจะต้องสนใจว่าคนในสังคมใช ้ชีวิตอย่างไร
แต่งตัวอย่างไร กินอย่างไร นอนอย่างไร ทามาหากินอย่างไร
( ช่ ว ง ท้ า ย อ า จ า ร ย์ ใ ห้ Quiz ค น ที่ ไ ม่ ม า Quiz
ให้เขียนสรุปจากเอกสารประกอบคาสอนประมาณ 4 หน้าว่าในวันนี้เรียนอะไรบ ้าง)
ช่วงแรก อ าจ ารย์ท บท วน ว่าวิชานี้ เป็ น วิชาสังคม วิท ยาก ารเมือ ง
เป็ นวิชาที่ต้องการบอกนักศึกษาว่าปัจจัยต่างๆ ในโลกนี้มีความสัมพันธ์กัน
ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ กั น โ ด ย เฉ พ า ะปั จ จั ย ท า ง สั ง ค ม เศ ร ษ ฐ กิ จ
แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ที่ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น
ใน ก ารเรียนนัก ศึก ษ าต้อ งส าม ารถทาความ เข้าใจสังคม โดยใช ้แน วคิด
ทฤษฎีด้านสังคมวิทยาการเมืองได้
13
การที่เราต้องเรียนสังคมวิทยาการเมือง เพราะการเรียนการเมืองอย่างเดียว
ไม่เพียงพอต่อการทาความเข้าใจกับเรื่องราวทางการเมืองให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
ไ ด้
ขณะเดียวกันเราจะเข้าใจสังคมโดยใช ้แนวคิดทางสังคมวิทยาอย่างเดียวไม่ได้
ใน ช่วงที่ แล้วอ าจ ารย์ไ ด้น าเส น อ ถึงความ ห ม ายข อ งก ารเมื อ ง
ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง สั ง ค ม วิท ย า แ ล ะ สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เ มื อ ง
พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ในรายงานของนักศึกษาจะต้องนาเสนอว่าในชุมชนที่นักศึกษารู้จักนั้นอะไร
ท า ใ ห้ อ ะ ไ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
ต้องบอก ว่าความสัมพันธ์ในชุมชนแบบไหนเป็ นความสัมพันธ์แบบกลไก
หรือเป็นสังคมที่มีความหลากหลาย หรือเป็นเนื้อเดียวกัน หรือแตกแยกกัน
จากนั้นก็นาทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์ เช่น ชุมชนของเรามีความเป็นเมือง
( Urbanization) ห รื อ ไ ม่ ทั น ส มั ย ( Modernization) ห รื อ ไ ม่
หรือมีความเป็ นท้องถิ่น (Localism) อย่างไร หรือเป็ นทุนนิยม (Capitalism)
อย่างไร เป็นต้น
ส่วนสุดท้ายให้วิเคราะห์ว่าชุมชนขอ งเราดีหรือยัง เพราะอะไร เช่น
บอกว่าชุมชนของเรามีความขัดแย้งเนื่องจากนาเอาประชาธิปไตยระดับชาติมาใช ้
กั บ ท้อ ง ถิ่น ค ว าม ขั ด แ ย้ง ดั ง ก ล่ า ว ก่ อ ให้เกิ ด ค ว าม รุน แ รง (ทั้ ง ๆ
ที่ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ร ะ ดั บ ช า ติ ม า ใ ช ้ใ น ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ๆ ไ ม่ ไ ด้
เพ รา ะอ ย่ า ง ไ ร ใน ร ะดั บ ช า ติ แ ม ้จ ะ ขั ด แ ย้ง กั น แ ต่ ไ ม่ ฆ่ า กั น ต า ย
แต่ในชุมชนพอขัดแย้งกันอาจจะถึงฆ่ากันตายได้)
สังคมวัฒนธรรม
อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าในวิชานี้เราให้ความสนใจกับชีวิตวัฒนธรรมหรือสังค
มวัฒนธรรมมากกว่าศิลปวัฒนธรรม
เ ร า จ า เ ป็ น ต้ อ ง ศึ ก ษ า ชี วิ ต วั ฒ น ธ ร ร ม
หรือ สังค ม วัฒ น ธ รรม เพื่ อ จ ะเรียน รู้ประวัติก าพื ด ขอ งต น เอ งใน อ ดี ต
รู้จักครอบครัวตนเอง รู้จักชีวิต เข้าใจสังคมของตนเอง เข้าใจประวัติศาสตร์
เข้าใจ วัฒ น ธรรม ทั้งอ ดี ตแล ะปั จ จุบัน ซึ่งจ ะช่วยให้เกิด จิตส านึก ที่ ดี
มีพลังเพื่อเผชิญปัญหาและจัดการกับชีวิตและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล ประสบความสาเร็จ สร้างสรรค์สิ่งที่ดี
ทฤษฎีเกี่ยวกับวัฒนธรรม มีสองกลุ่ม ได้แก่
1. Cultural Evolutionism ทฤษฎีวิวัฒนำกำรทำงวัฒนธรรม
ท ฤ ษ ฎี วิวั ฒ น า ก า ร เป็ น ท ฤ ษ ฎี ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ม า ก ใ น ทุ ก ส า ข า
เชื่อว่าทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยปรับตัวเองให้ดีขึ้น
โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น จ ะ มี ห ล า ย รู ป แ บ บ
ทาให้มีชื่อเรียกทฤษฎีวิวัฒนาการอีกหลายชื่อ คือ
1.1 Vertical Model ท ฤ ษ ฎี แ น ว ดิ่ ง
เป็นทฤษฎีที่เชื่อว่าทุกอย่างเปลี่ยนแปลงจากต่าขึ้นไปสูง
14
1.2 Linear Model ท ฤ ษ ฎี เ ส ้ น ต ร ง
เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงของทุกๆจะเป็นแบบเส ้นตรง
1.3 Stage Model ท ฤ ษ ฎี ขั้ น ต อ น
เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งจะเป็นไปตามขั้นตอน
1.4 Darwinism ทฤษฎีวิวัฒนาการอาจจะเรียกว่าทฤษฎีของชาร์ลส์
ด า ร์ วิ น
เป็นนักคิดที่โด่งดังที่นาเสนอว่าสิ่งมีชีวิตต้องมีการปรับตัวเพื่อให้สามา
รถอยู่รอดได้
Evolutionism เป็ นเรื่องของการปรับตัว (Adaptation) เพื่อการอยู่รอด
(Survival) เชื่อว่าคนที่ปรับตัวให้เหมาะสมที่สุดกับสภาพแวดล้อมหรือให้ Fittest
เท่ านั้นจึงจ ะอ ยู่รอ ดไ ด้ (The Survival of the Fittest) ไ ม่ใช่ฉลาดที่สุ ด
แข็งแรงที่สุด ดีที่สุดเท่านั้นจึงจะอยู่รอด
ทฤษฎีวิวัฒนาการเขียนเป็นภาพได้ดังนี้
นั ก ท ฤ ษ ฎี วิ วั ฒ น า ก า ร เ ช่ น อั บ ร ำ ฮั ม ม ำ ส โ ล ว์
ก ล่ า ว ว่ า ค น ต้ อ ง ก า ร ขั้ น ต่ า ไ ป ห า ขั้ น สู ง
โดยคนจะต้องการในขั้นสูงขึ้นหากขั้นต่ากว่าได้รับการตอบสนอง
(1) ความต้องการทางกายภาพ เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค
(2) ต้องการความมั่นคงปลอดภัย หรือให้ดารงอยู่ได้เหมือนเดิม เช่น
มีงานทาอยู่ก็ต้องมีความมั่นคง
(3) ต้องการเพื่อน ต้องการอยู่ร่วมกับกลุ่ม
(4) ต้องการมีชื่อเสียง
(5) ต้องการให้คนเข้าใจ ต้องการมีความรู้เข้าใจในสิ่งที่ต้องการ
(6) ต้ อ ง ก า ร ท า ใ ห้ ค ว า ม ฝั น ใ ห้ เ ป็ น จ ริ ง เ ช่ น
พระพุทธเจ ้าต้องการเผยแพร่ศาสนา
(7) การหลุดพ้นอยู่เหนือความทุกข์ ความสุข เหนือการดีใจและเสียใจ
แ น ว คิ ด ข อ ง ม า ร์ ก ซิ ส ม์ ก็ เ ป็ น แ น ว คิ ด แ บ บ วิวั ฒ น า ก า ร
ซึ่งหลายอย่างในโลกนี้ก็เปลี่ยนแปลงแบบวิวัฒนาการทั้งสิ้น โดยเฉพาะมนุษย์
ตั้ ง แ ต่ เ กิ ด เ ป็ น ท า ร ก เ ป็ น เ ด็ ก วั ย รุ่ น วั ย ท า ง า น
วัย ผู้ ใ ห ญ่ จ ะ เป็ น ช่ ว ง ที่ ม นุ ษ ย์ เ ติ บ โ ต อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ม า ก ขึ้ น
เ พ ร า ะ เ ร า เ ป ลี่ ย น จ า ก เ ป็ น ผู้ รั บ ม า เ ป็ น ผู้ ใ ห้ ม า ก ขึ้ น
1
2
3
4
5
6
Vertical
Model
Linear Model
Stage
Model
Evolutionis
m
Darwinis
m
15
สุดท้ายเมื่อถึงช่วงหนึ่งของชีวิตคนที่เติบโตสมบูรณ์ที่สุดคือคนที่ไม่ต้องการให้ค
น รั ก ไ ม่ ส น ใ จ ว่ า ใ ค ร เ ก ลี ย ด แ ต่ เ น้ น เ ป็ น ผู้ ใ ห้
ถ ้าแก่แล้วแต่ยังไม่รู้จักให้จะเรียกว่าเฒ่าทารก
2. Cultural Diffusionism ทฤ ษ ฎีกำรเผ ยแ พ ร่ท ำงวัฒ นธ รรม
เชื่อว่าวัฒนธรรมจะเผยแพร่ออกไป เป็ นทฤษฎีในแนวระนาบ (Horizontal
Model)
ทฤษฎีนี้เชื่อว่าในโลกนี้จะมีศูนย์กลางวัฒนธรรม (Culture Core/Culture
Center) เช่น จีนและอินเดียเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หรือศูนย์กลางวัฒนธรรมกรีก โรมัน มายา วัฒนธรรมจากศูนย์กลางเหล่านี้
พื้นที่ที่รับวัฒ นธรรม จาก ศูนย์ม าเรียกว่าพื้นที่วัฒนธรรม (Culture Area)
และการแพร่กระจายออกไปจะเรียกว่าชุดวัฒนธรรม (Cultural Complex)
เมื่ อ วัฒ น ธรรม ต่ างๆ เผ ยแพ ร่ม าจ าก หล าย ๆ ศูน ย์ก็จ ะม าช นกั น
ป ะ ท ะ สั ง ส ร ร ค์ กั น ห รื อ ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั น (Interaction)
วัฒนธรรมที่อยู่ไกลศูนย์กลางเรียกว่าวัฒนธรรมชายขอบ (Marginal Culture)
ยิ่ง ไ ก ล จ า ก ศู น ย์วัฒ น ธ ร รม ก็ จ ะ แ ผ่ ว ล ง เช่ น ก า ร นั บ ถื อ ศ า ส น า
วัฒนธรรมของศาสนาพุทธมาจากอินเดีย แผ่เข้ามายังพม่า ไทย ลาว เขมร
เช่น ผมจุก ผมเปีย ผมมวย ที่เคยมีในสังคมอาจจะไม่ใช่เป็นของไทย
แต่รับเอามาจากศูนย์กลางวัฒนธรรม หรือทุกวันนี้เรามีวัฒนธรรมใส่บิ๊กอาย
ใส่ถุงน่อง ทาสีผม ก็รับมาจากภายนอก รวมทั้งเครื่องมือเครื่องใช ้ต่างๆ รถ
คอมพิวเตอร์ มือถือ ก็รับมาจากภายนอกทั้งสิ้น
หรือวัฒนธรรมการกิน เดิมคนไทยไม่ได้ใช ้ช ้อนในการกิน แต่ใช ้มือเปิบ
แต่เรารับเอาวัฒนธรรมการใช ้ช ้อนจากที่อื่นมาแล้วปรับให้เข้ากับสังคมไทย เช่น
สังคมอื่นจะใช ้ช ้อนกับของเหลวเท่านั้น แต่ไทยเราใช ้กับทุกอย่าง
(ในรายงานของนักศึกษาจะต้องเขียนเรื่องของวัฒนธรรมในชุมชนด้วยว่ารับ
มาจากที่ไหน )
ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมมีสังกัปที่เกี่ยวข้องดังนี้
(1) Culture Complex ชุดวัฒนธรรม
(2) Culture Core แก่นวัฒนธรรม
(3) Culture Center ศูนย์กลางวัฒนธรรม
(4) Culture Area พื้นที่วัฒนธรรม
(5) Marginal Culture วัฒนธรรมชายขอบ
(6) Cross Cultural Comparison การข้ามวัฒนธรรม
(7) Cultural Relativism วั ฒ น ธ ร ร ม สั ม พั ท ธ์
คือวัฒนธรรมที่ไม่ได้สมบูรณ์ในตัวเอง ไม่มีวัฒนธรรมใดที่ดีกว่าวัฒนธรรมอื่น เช่น
ก า ร กิ น ป ล า ร้ า ไ ม่ ไ ด้ เ ล ว ร้ า ย ก ว่ า กิ น น ม กิ น เ น ย
เพราะคนที่ไม่เคยกินเนยก็จะเหม็นเหมือนกัน
(8) Great Tradition ประเพณีหลวง ประเพณีแห่งชาติ
(9) Little Tradition ประเพณี รอง ประเพณีท้องถิ่น ประเพณี ราษฎร์
วัฒนธรรมพื้นบ ้าน
16
(10) Great Narration การเล่าเรื่องอย่างยิ่งใหญ่ เช่น พงศาวดารหลวง
ประวัติศาสตร์หลวง
(11) Little Narration การเล่าเรื่องขนาดเล็ก เช่น พงศาวดารท้องถิ่น
ประวัติศาส ตร์ราษ ฎร์ ประวัติศาส ตร์ท้องถิ่น ประวัติศาส ต ร์ชุม ชน เช่น
ในชุมชนของไทยจะมีชื่อท้องถิ่นที่เรียกว่านามถิ่น เช่น บ ้านนาบัว บ ้านนาดอน
บ ้าน ซึ่งชื่อนามเหล่านี้จะมีที่มา
ทั้ ง นี้ วั ฒ น ธ ร ร ม ช า ติ ป ร ะ เ พ ณี ห ล ว ง
หรือประวัติศาสตร์จะเป็ น ตัวกาหนดวิถีชีวิต และแนวคิดของคนในสังคม
เ พ ร า ะ ผู้ น า จ ะ ใ ช ้ ป ร ะ เ พ ณี ห ล ว ง ห รื อ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
สร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นและนามาควบคุมคนในสังคม
(12) Cultural Interaction ก ารป ะท ะสั งส รรค์ท างวัฒ น ธรรม เช่น
วัฒนธรรมจีนมาเจอวัฒนธรรม
(13) Borrowing การหยิบยืมวัฒนธรรม
(14) Adoption การรับวัฒนธรรมเข้ามา แต่จ ะรับเข้ามาทั้งหม ด เช่น
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
เราจะเรียกว่าคอมพิวเตอร์โดยเราไม่สามารถสร้างคาไทยมาเรียกแทนได้
(15) Adaptation ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น
เป็ น ก า ร รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม เห มื อ น กั น แ ต่ มี ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น เช่ น
เรากินสุกี้ยากี้แต่กินแบบไทยๆ เราเปลี่ยนเมนูเคเอฟซีมาเป็นแบบไทยๆ
ก า รรับ วัฒ น ธ รร ม ภ าย น อ ก เข้าม าเป็ น เรื่ อ ง ที่ ต้อ ง ระมั ด ระวัง
แต่ก็ไม่ควรจะมีลักษ ณะที่น่ากลัวที่สุดคือการหลงชาติ (Ethnocentricism)
หรือการคิดว่าตัวเอง ชาติตนเอง ดีกว่าคนอื่นและดูถูกคนอื่น
เช่ น ใ น สั ง ค ม ไ ท ย ค น เห นื อ ก็ จ ะ ม อ ง ว่า ค น เ ห นื อ ดี ที่ สุ ด
คนใต้ก็ จ ะม อ งว่าคน ใต้ดีที่ สุ ด บางครั้งไ ป เรียก คน อีส านว่าเป็ นล าว
หรือคนดาถูกเรียกว่าไอ ้มืด หรือฝรั่งเรียกเราว่าไอ ้ตาตี่ ก็เพราะมองว่าเขาดีกว่าเรา
ห รือ ก ารพู ด ว่าถ ้าเจ อ งูกั บ แ ข ก ให้ดี แ ข ก ก่ อ น ก็ เกิด ค วา ม รู้สึ ก
ห ล ง ช า ติ พั น ธุ์ ข อ ง ต น เ อ ง ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ อั น ต ร า ย ม า ก ๆ
ในทางที่ดีเราจะต้องเปิดรับเอาความหลากหลายทางวัฒนธรรม
(16) Folkways วิถีประชา
(17) Custom ประเพณี
(18) Social Norms ปทัสถานสังคม กฎระเบียบของสังคม
(19) Mores จ า รี ต เ ช่ น ต้ อ ง ถ อ ด ร อ ง เ ท้ า เ ข้ า บ ้ า น
ไม่ใส่ขาสั้นสายเดี่ยวเข้าวัด บางพื้นที่ห้ามผู้หญิงเข้าเราต้องยอมรับ
(20) Tradition ธ ร ร ม เ นี ย ม ข น บ
จ า รี ต แ ล ะ ป ร ะ เพ ณี เป็ น ก ฎ ร ะ เบี ย บ ข อ ง สั ง ค ม เห มื อ น เ ช่ น
กะเทยรับปริญญาก็ต้องนุ่งกางเกงไม่ควรนุ่งกระโปรง แม ้ว่าอยากจะนุ่งกระโปรง
แต่ขนบธรรมเนียมเราทากันมาอย่างนั้นก็ต้องทาตาม
(21) Laws กฎหมาย จะต้องมีเหตุผล สอ ดคล้องกับขนบธรรมเนียม
จารีตประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ
17
(22) Taboo เรื่องต้องห้าม พูดไม่ได้
สังกัปที่น่ำสนใจเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรม
1. Mechanical Solidarity ความสัมพันธ์ของสังคมแบบกลไก
2. Organic Solidarity ความสัมพันธ์ของสังคมแบบอินทรีย์
3. Homogeneous การเป็นเนื้อเดียวกัน
4. Heterogeneous ค วาม สั ม พั น ธ์ที่ ห ล าก ห ล ายแต ก ต่างกัน เช่น
คนดากับคนขาว
สังกัปที่น่ำสนใจเกี่ยวกับลักษณะสังคม
1. Fragmentation ก า ร แ ต ก เ ป็ น เ สี่ ย ง ๆ ร ว ม กั น ไ ม่ ติ ด
มีกลุ่มแยกย่อยรวมกันไม่ได้
2. Differentiation ความแตกต่าง
3. Specialization เฉพาะด้าน เช่น เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ทั้ ง 3
คาข้างต้นเป็นเรื่องของความแตกต่างทั้งสิ้นแต่มีความหมายแตกต่างกัน เช่น
ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ เฉ พ า ะด้า น ก็ เป็ น เรื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น
อาจจ ะทาให้มี ก ลุ่ม หลายก ลุ่ม ตาม ความ รู้ความ ส าม ารถที่แตกต่างกัน
ขณะที่คาว่าแตกแยกก็มีหลายกลุ่มที่แตกต่างกันเหมือนกันเหมือนกันแต่มีความห
มายไปทางลบ
ดั ง นั้ น เ มื่ อ เ ร า ใ ช ้ ภ า ษ า จ ะ มี ค ว า ม ห ม า ย แ ต ก ต่ า ง กั น
จึ ง มี ก า ร พู ด ว่ า ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ภ า ษ า
การเลือกใช ้ภาษาต่างกันก็จะสื่อความหมายได้ต่างกัน
4. Anomie ความไร้ระเบียบ ไร้กฎเกณฑ์
5. Subculture วัฒนธรรมรอง วัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมกลุ่ม
6. Alternative Culture วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง เ ลื อ ก
ซึ่ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง เลื อ ก บ า ง อ ย่ า ง ก็ มี ค ว า ม โ ด ด เ ด่ น ขึ้ น ม า
เช่นวัฒนธรรมเพศทางเลือก ทุกวันนี้ได้รับการยอมรับมากขึ้น
7. Juxtaposition การเอาวัฒนธรรมมารวมกัน แต่เป็นการรวมกันแบบมั่วๆ
น า เ อ า สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค ว ร จ ะ อ ยู่ ด้ ว ย กั น ม า ร ว ม กั น
เช่นตกแต่งบ ้านด้วยของดีทุกอย่างแต่ไม่เข้ากัน
ห รื อ ค น ใ น บ ้ า น เ ดี ย ว กั น คุ ณ ย า ย นุ่ ง ผ้ า ถุ ง
คุณแม่แต่งชุดทางานเรียบร้อยทันสมัย หลานสาวนุ่งขาสั้นจู๋
เมื่อ วัฒนธรรมหลายอย่างมาเจอกันจะเกิด Acculturation หมายถึง
ปฏิสัมพันธ์หรือการปะทะสังสรรค์ทางสังคมวัฒนธรรมระหว่างสองกลุ่มคนที่มีวัฒ
นธรรมแตกต่างกัน ทาให้เกิด
1. Adaptation ก ารป รับ ตั ว เมื่ อ เกิด ก ารป ะท ะกั น ข อ งวัฒ น ธรรม
วัฒนธรรมก็จะมีการปรับตัวเพื่อให้คงอยู่ การปรับตัวต้องคานึงถึงองค์รวม กลุ่ม
ลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวข้อง
2. Assimilation ก า ร ก ลื น กั น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม
หมายถึงเมื่อวัฒนธรรมสองชุดมาปะทะสังสรรค์กันจนถึงขั้นผสมกลมกลืนเข้าเป็น
18
ชุ ด เดี ย ว กั น ก ลุ่ ม วัฒ น ธ ร ร ม ที่ มี พ ลั ง น้อ ย (Subordinate Culture)
จะถูก ผส มกลมกลืนเข้าไปเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ที่มีพลังมากก ว่า
(Dominant Culture) ไม่ได้หมายความว่าวัฒนธรรมอันไหนดีหรือด้อยกว่ากัน
แต่เป็นการเคยชินและการถูกกลืน
เ ช่ น
มองโกลทาสงครามกับจีนและแม ้เอาชนะได้แต่สุดท้ายก็รับเอาวัฒนธรรมจีนที่วัฒ
นธรรมที่เจริญกว่ามาเป็นวัฒนธรรมของตนเอง
ขณะที่สังคมไทยเป็นสังคมที่สามารถกลืนกันในทางวัฒนธรรมได้อย่างดี
เ ช่ น พ อ ค น จี น อ พ ย พ เ ข้ า ม า อ ยู่ ใ น เ มื อ ง ไ ท ย
เราก็ต้อ น รับเป็ น อ ย่างดีสุดท้ายคน จีนเหล่านี้ก็ก ลายเป็ น คน ไ ทย เช่น
คนจีนในสมัยก่อนก็จะได้รับตาแหน่งต่างๆ เช่นเดียวกับญี่ปุ่น ฝรั่ง แขก
เช่น คอนสแตนติน ฟอนคอล ก็เป็นเจ ้าพระยาวิชาเยนทร์
3. Cultural Integration ก า ร บู ร ณ า ก า ร ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม
ห า ก ก ลื น วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ม่ ไ ด้ ก็ ต้ อ ง ย อ ม รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม อื่ น
ทาให้เกิด ความ ห ลาก ห ลายท างวัฒ นธรรม เป็ นพ หุ นิยม (Pluralism)
แล ะอ าจ เกิด ก ระบ ว น ก ารรัก ษ าท วิลั ก ษ ณ์ ไ ว ้ไ ด้ (Dualistic Identity)
อันห ม ายถึงก ารรัก ษ าลัก ษ ณ ะขอ งวัฒ น ธรรม ทั้งส อ งฝ่ าย (Dualism)
คนทาให้คนแต่ละคนเป็ นพวก ทวิลักษ ณ์ (Double Ethnic Identity) เช่น
บรรดาลูกครึ่งจะมีวัฒนธรรม 2 อย่างในตัวเอง
ปั จ จุ บั น รั ฐ ที่ มี น โ ย บ า ย ก ลื น วั ฒ น ธ ร ร ม จ ะ ถู ก ต า ห นิ
เพราะสังคมโลกต้องการให้เกิดการยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น
เราย อ ม รับค น ไ ท ยมุส ลิม ยอ ม รับค น ไ ท ยเชื้อ ส ายญ วน เชื้อ ส ายจี น
ยอมรับไทยภูเขา โดยไม่ต้องพยายามให้คนเหล่านี้ต้องมามีวัฒนธรรมแบบไทยๆ
ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ มี ก า ร วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ ช า ติ พั น ธุ์
เกี่ ย วกั บ ผู้ห ญิ งไ ท ย ที่ ไ ด้ส ามี เป็ น ช าว ยุ โ รป แ ล้ว ย้าย ไ ป อ ยู่ ยุ โร ป
เมื่อมีลูกพบว่าผู้หญิงเหล่านี้ไม่อยากให้ลูกเหมือนแม่ อยากให้ลูกเป็นเหมือนฝรั่ง
พย าย าม พู ดภ าษ าฝ รั่งกับลู ก เช่น พู ดเยอ รมั น พู ดเด นม าร์ก กั บลู ก
ทั้งๆที่ ตน เอ งพู ดไ ม่ชัด ภาษ าไ ท ยก็ก ลายเป็ น วัฒ น ธรรม ที่ ไ ม่มีพ ลั ง
แ ต่ ผ ล ที่ เกิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ลู ก พู ด ไ ม่ ชั ด ทั้ ง ภ า ษ าฝ รั่ ง แ ล ะ ภ า ษ า ไ ท ย
เด็กที่เป็นแบบนี้ก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปัญหา
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผ ล ก า ร วิ จั ย บ อ ก ว่ า
ภ า ษ า ก า เ นิ ด ห รื อ ภ า ษ า แ ม่ เ ป็ น ภ า ษ า ที่ ดี ที่ สุ ด
ตอนท้องแม่จะต้องพูดภาษาของตัวเองกับลูก ทาให้ลูกรับรู้ถึงความรู้สึกของแม่
ซึ่ ง แ ม่ ต้ อ ง พู ด ภ า ษ า ก า เ นิ ด นี้ กั บ ลู ก ไ ป ต ล อ ด ชี วิ ต
ข ณ ะเดี ย ว กั น พ่ อ ก็ ต้อ ง พู ด ภ า ษ า ข อ ง พ่ อ กั บ ลู ก ไ ป ต ล อ ด ชี วิต
ลูก ก็จะก ลายเป็ นคนสอ งภาษ าส อ งวัฒ นธรรม มีความร่ารวยทางภาษ า
ทางความคิด
เ ช่ น แ ม่ ค น ไ ท ย ต้ อ ง พู ด ภ า ษ า ไ ท ย กั บ ลู ก
พ่อเยอรมันก็จะต้องพูดเยอรมันกับลูก เด็กก็จะรู้เรื่องทั้งวัฒนธรรมไทย
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)

More Related Content

Similar to สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Prapatsorn Chaihuay
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ Picha Stm
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 

Similar to สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล) (20)

รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์
 
Soc
SocSoc
Soc
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
Data Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPBData Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPB
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)

  • 1. คำบรรยำยวิชำ PS 710 สังคมวิทยำกำรเมืองกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม Political Sociology and Social Change ผศ.พิมล พูพิพิธ คำสั่งรำยงำน : ให้นักศึกษาเขียนรายงานเรื่อง การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย โดยเลือกชุมชนที่นักศึกษารู้จักมากที่สุด - เขียนด้วยลายมือตนเอง - ความยาวไม่เกิน 15 หน้า - ส่งวันที่ 11 มิถุนายน 2554 - คะแนนรายงาน 20 คะแนน ขอบเขต 1. พูดถึงสภาพทั่วไปของชุมชน 2. พูดถึงปัจจัยที่นามาสู่การเปลี่ยนแปลงของชุมชน 3. ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ในการเขียนต้องใช ้ทฤษฎีและแนวคิดที่อาจารย์สอนไปประกอบในทุกประเ ด็น เช่น ถ ้าเขียนถึงหมู่บ ้าน ต้อ งบอ กว่าหมู่บ ้าน เราเป็ น แบบไหน เช่น เป็ น สั งค ม เก ษ ต รก ร รม ห รือ อุ ต ส าห ก ร รม เป็ น เมื อ ง ห รือ ช น บ ท มี วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี แ บ บ ไ ห น จากนั้นนักศึกษาต้องบอกว่าการเปลี่ยนแปลงของหมู่บ ้านเปลี่ยนอย่างไร และอะไรทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (อะไรเป็ นปัจจัยสาเหตุ (ตัวแปรต้น) อ ะไ รเป็ นผ ล (ตั วแป รต าม ) หรือ บ อ ก ไ ด้ว่าอ ะไ รเป็ น Change Agent) จากนั้นก็ต้องพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมเป็ นอย่างไร (ปรองดอง หรือแตกแยก) เช่น ลพบุรีพอมีกองทหารมาตั้งแล้วทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร พอมีโรงงานอุตสาหกรรมมาตั้งทาให้ลพบุรีเปลี่ยนแปลงอย่างไร Change Agent อ า จ จ ะเป็ น ค น เป็ น แ น ว คิ ด อุ ด ม ก าร ณ์ ก็ ไ ด้ เช่นแนวคิดแบบทุนนิยม แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง **** วิ ช า นี้ คื อ วิ ช า สั ง ค ม วิ ท ย า ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น วิ ช า ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย น เ ฉ พ า ะ ก า ร เ มื อ ง ล้ ว น ๆ แต่เป็ นวิชาแบบสหวิทยาก ารที่ต้อ งศึก ษ าผส มผสานกันทั้งสังคมวิทยา รัฐศาสตร์และสังคมวิทยาการเมือง วิ ช า นี้ เ ป็ น วิ ช า ต่ อ ย อ ด จ า ก 7 0 4 เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังคมหรือชุมชนซึ่งเกี่ยวข้องกับชีวิตนักศึกษา วัตถุประสงค์ของวิชำ 1. ให้นักศึกษาเข้าใจปฏิสัม พันธ์ระหว่างการเมือง เศรษ ฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
  • 2. 2 2. ให้นักศึกษาเข้าใจทฤษฎีทางด้านสังคมวิทยาการเมือง 3. นักศึกษาสามารถใช ้ทฤษฎีหรือแนวความคิดทางสังคมวิทยาการเมืองมา อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยที่นักศึกษารู้ได้ กำรเมือง : ควำมหมำย เนื้อหำ และขอบเขต อำริสโตเติล (Aristotle) กล่าวว่าการเมืองเป็นเรื่องของการออกแบบ (Architectonic Science) แต่เป็นการออกแบบชีวิตในการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคมหรือเป็นสัตว์การเมืองไม่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ การออกแบบสังคมของมนุษย์คือการทาอย่างไรให้มนุษย์อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุ ข เช่น ต้องมีกฎ กติกา สังคมไทยเราเองก็ที่ผ่านมาก็พยายามออกแบบสังคมไทยมาตลอดตั้งแต่เร า เ ริ่ ม อ ยู่ ร่ ว ม กั น เ ป็ น สั ง ค ม เ ช่ น เ ร า มี รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ เรา มี ก า ร เลื อ ก ตั้ ง ก็ เ พื่ อ จ ะ ใ ห้สั ง ค ม อ ยู่ กั น อ ย่ า ง ส ง บ สุ ข เช่ น พ ยายาม อ อ ก แบบ ก ารเลื อ ก ตั้งเพื่ อ ให้ไ ด้ค นที่ ดี ที่ สุด เข้าม าท างาน ซึ่งเรามีการลองผิดลองถูกมาตลอดเวลาตั้งแต่ 2475 จนถึงปัจจุบัน ฮ ำ โ ร ล ด์ ล ำ ส เ ว ล ล์ (Harold Lasswell) ก ล่ า ว ว่ า การเมืองคือ เรื่องอ าน าจ ซึ่งตรงกับแน วคิดขอ ง ฮันจ์ เจ มอแกนทอร์ ที่บอกว่าการเมืองระหว่างประเทศก็คืออานาจและอานาจคือผลประโยชน์ ( ตั ว อ ย่ า ง ง่ า ย ๆ ที่ ส ะ ท้ อ น ว่ า อ า น า จ คื อ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เช่น นัก ศึก ษ าต้อ งก ารไ ปจ อ ดรถใน ราม คาแหงวัน หยุดแต่ไ ม่มีที่ จอ ด จึ ง จ่ า ย เ งิ น ใ ห้ ย า ม 1 0 , 0 0 0 บ า ท ใ ห้ ย า ม จั ด ก า ร ใ ห้ ถ ้ายามรับเงินและหาที่จอดรถให้แสดงว่า) เช่ น ก า ร เมื อ ง มี อ า น า จ ใ ห้ เร า ม า เรี ย น ห รื อ ไ ม่ เรี ย น ก็ ไ ด้ ห รื อ มี อ า น า จ สั่ ง ใ ห้ ค น เ กิ ด ห รื อ ไ ม่ เ กิ ด ก็ ไ ด้ เ ช่ น นโยบายลูกคนเดียวของบางประเทศ V.O. Key ก ล่ า วว่า ก า รเมื อ ง เป็ น เรื่อ ง ข อ ง ก า ร บั งคั บ บั ญ ช า (Commanding) และอานาจ (Power) เ ด วิ ด อี ส ตั น ก ล่ า ว ว่ า ก า ร เมื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร จั ด ส ร ร สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ใ น สั ง ค ม โดยผู้มีอานาจอันชอบธรรม (Authoritative Allocation of Values) แ บ น ฟิ ล ด์ ( E.C. Banfield) ก ล่ า ว ว่ า การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้งเกี่ยวกับผลประโยชน์ของส่วนรวม (Conflicts of Collective Interest) เ ช่ น ก า ร เมื อ ง เป็ น ก า ร แ ข่ ง ขั น เพื่ อ ช่ ว ง ชิ ง ต า แ ห น่ ง ท า ง ก า ร เมื อ ง พอช่วงชิงกันก็ทาให้เกิดความขัดแย้งกัน ผลประโยชน์จึงทาให้คนร่วม มือ กันก็ได้หากมีผลประโยชน์ร่วมกัน และขัดแย้งกันหากผลประโยชน์ไม่สอดคล้องกัน แ ม ก ซ์ เ ว เ บ อ ร์ ก ล่ า ว ว่ า การเมืองเป็นเรื่องของการผูกขาดการใช ้อานาจในอาณาบริเวณหนึ่งเรื่องอานาจรั ฐ (Monopolistic Utilization of Power in its Territory)
  • 3. 3 อ า น า จ ภ า ย ใ น คื อ อ า น า จ อ ธิ ป ไ ต ย ซึ่งรัฐ บาลขอ งรัฐนั้นๆจะมีอานาจในก ารใช ้อาน าจ ภายใต้ดิน แดนของรัฐ คือคนทุกคนในรัฐต้องทาตามในสิ่งที่รัฐสั่ง เวล ช์ (W.A. Welsh) พิจารณาการเมืองในแง่ขอ งกิจก รรม เนื้อหา ก ระบวน ก าร และพ ฤติก รรม ที่เกี่ยวกับห ลายสิ่ง เช่น อ าน าจ (Power) สิทธิอานาจ/อานาจตามกฎหมาย (Authority) - ในแง่ของกระบวนการ (Procedure) จะหมายถึงขั้นตอนหรือวิธีการ ซึ่ ง ส า คั ญ ม า ก ๆ ในอดีตเราจะมองว่าวิธีการเป็ นอย่างไรไม่สาคัญขอให้บรรลุเป้าหมายก็พอ ห รื อ เ ชื่ อ ว่ า The Mean Justify The End แต่ปัจจุบันการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ดีจะต้องใช ้วิธีการที่ดีด้วย เ ช่ น ถ ้าเราจะจบปริญญาก็ต้องมาจากการอ่านหนังสือไม่ให้ลอกการบ ้านหรือจ ้างคนอื่น ทารายงาน ในทางการเมืองมีหลายคนหลายทาสิ่งที่ไม่ถูกต้องโดยบอกว่าเพื่อรักษาเอา ไว ้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์แนวคิดนี้ไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป A.C. Isaak ก ล่ า ว ว่ า การเมืองคือกิจกรรมที่รัฐบาลกระทาโดยอาศัยกฎหมาย และเป็นเรื่องเกี่ยวกับ Power, Authority, Conflict (ความขัดแย้ง) เป็นต้น อ านาจ (Power) และอ านาจห น้าที่ (Authority) แตก ต่างกัน เช่น น า ย อ า เ ภ อ ส . ส . จ ะ มี อ า น า จ ห น้ า ที่ ต า ม ก ฎ ห ม า ย แต่อานาจคือความสามารถในการสั่งให้คนกระทาหรือไม่กระทาในสิ่งที่คนมีอานา จต้องการ ซึ่งบางครั้งคนบางคนมีอานาจหน้าที่แต่อาจจะไม่มีอานาจก็ได้ แ ต่ บ า ง ค น จ ะ มี ทั้ ง อ า น า จ ห น้ า ที่ แ ล ะ มี อ า น า จ ด้ ว ย แ ล ะ บ า ง ค น มี อ า น า จ แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ มี อ า น า จ ห น ้ า ที่ เ ช่ น คนที่บุคคลนอกรัฐธรรมนูญก็เป็นการพูดถึงคนที่มีอานาจแต่ไม่มีอานาจหน้าที่ คาว่าอานาจยังมีคาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น บารมี อานาจบังคับ (Force) L.A. Froman ม อ ง ก า ร เ มื อ ง เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ เ ด วิ ด อี ส ตั น ว่ า ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ( Distribution) ก ารไ ด้ห รือ เสี ยป ระโยช น์ข อ งบุค คล ต่ างๆ ขึ้น กั บ ห ลาย ปั จ จัย เช่น ก ร ะ จ า ย ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ( เช่ น การไปเลือกตั้งคือการมีส่วนร่วมในการตัดสินว่าจะเลือกใครมาเป็นรัฐบาลหรือเป็น ผู้นา) หรือ ใน ปั จ จุบัน จ ะมี แน วคิด เรื่อ งก ารก ระจ ายซ้ า (Redistribution) เนื่อ งจ าก ม อ งว่าก ารก ระจ ายผลประโยชน์ในอ ดีตไ ม่มีความ เป็ นธรรม ทาให้คนที่ไม่ได้รับการกระจายประโยชน์ต้องได้รับการกระจายประโยชน์ใหม่อีกค รั้ง L. Rogers ก ล่ า ว ว่ า รัฐ ศ าส ต ร์เป็ น ทั้ ง ศ า ส ต ร์แ ล ะศิ ล ป ะ ใน ก า ร ป ก ค รอ ง ข อ ง รัฐ บ า ล
  • 4. 4 ร ว ม ถึ ง แ น ว คิ ด ห รื อ ป รั ช ญ า ก า ร เ มื อ ง เป็นพลังก่อเกิดรูปร่างสรีระของรัฐคือโครงสร้างความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยกับห น่วยใหญ่ การกาหนดนโยบาย การนานโยบายไปปฏิบัติ ฯลฯ - คนที่เรียนรัฐศาสตร์จะต้องอธิบายการเมืองอย่างเป็นศาสตร์ไม่ใช่อาศัยศิล ป ะ อ ย่ า ง เ ดี ย ว เพราะหากอาศัยศิลปะอย่างเดียวก็ไม่แตกต่างจากคนที่วิจารณ์การเมืองตามร้านก าแฟ - ส่วนแนวคิดหรือปรัชญาการเมืองคือโครงสร้างที่เป็นนามธรรมที่มองไม่เห็ นแต่มีอิทธิพลต่อมนุษย์ เช่น ความรู้สึกบาปเป็นแนวคิดที่ทาให้คนไม่กล้าทาผิด ปรัชญาการเมืองก็เป็นโครงสร้างที่เป็นนามธรรมในทางการเมืองซึ่งมีอิทธิพลต่อพ ฤติกรรมทางการเมือง ก า ร เ มื อ ง ยั ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง เรื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ห น่ ว ย ย่ อ ย กั บ ห น่ า ย ใ ห ญ่ เป็นของการกาหนดนโยบาย และการนานโยบายไปปฏิบัติ G.A. and A.G. Theodorson ก ล่ า ว ว่ า การเมืองเป็นกระบวนการสร้างนโยบาย (Policy Setting/Policy Making) ก า ร เมื อ ง ยั ง ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ช ้อิ ท ธิพ ล คุ ม แ ห ล่ ง อ า น า จ และการใช ้อานาจหน ้าที่มีการแข่งขันกัน (Competition) และมีความขัดแย้งกัน (Conflicts) และความร่วมมือกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย สรุป การเมืองมีความหมายครอบคลุมถึง - รัฐบาล กฎหมาย และสถาบัน - การเมืองเป็นเรื่องของสาธารณะ (Public) เรื่องส่วนตัวไม่ใช่การเมือง - การเมืองเป็นกระบวนการ (Process) มีขั้นตอน - การเมืองทาหน ้าที่สร้างกฎหมาย บังคับใช ้กฎหมายอย่างทั่วถึงทั้งสังคม - ก า ร เมื อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ก ระ ท า ข อ ง ปั จ เจ ก ช น ก ลุ่ ม ค น หรือสถาบันที่ไม่เป็นทางการ (Private/Informal) - แนวความคิดต่างๆ ที่เกี่ยวกับรัฐบาลหรือเกี่ยวกับการปกครอง - ค ว า ม เ ชื่ อ ป รั ช ญ า อุ ด ม ก า ร ณ์ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ต่ า ง ๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจของรัฐบาล - ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง อ า น า จ เ กี่ ย ว กั บ ส ถ า บั น และกระบวนการที่จะทาให้ได้มาซึ่งอานาจ เ ช่ น เ พ ล ง ช า ติ ไ ท ย ถื อ ว่ า เ ป็ น ส ถ า บั น อ ย่ า ง ห นึ่ ง เพราะดารงอยู่มาอย่างยาวนาน หรือการไหว ้ก็เป็นสถาบันของไทยเช่นกัน สังคมวิทยำ ศึกษาเกี่ยวกับ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไป 2. ศึกษาสถาบันต่างๆ ทางสังคม และศึกษ าความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relationship) 3. เน ้น ค วา ม สั ม พั น ธ์ท า งส ถ า น ภ าพ (Status) บ ท บ า ท (Roll) ไ ม่ใช่ตั วค น ท างก ายภ าพ ห รือ บุค ลิก ภ าพ เช่น ศึก ษ าช ายกั บ ห ญิง
  • 5. 5 ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับครู ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนายจ ้างกับลูกจ ้าง ไ ม่ ไ ด้ส น ใ จ เ รื่ อ ง ค น แ ต่ ล ะ ค น แ ต่ ศึ ก ษ า เป็ น ภ า พ ร ว ม เช่ น เ ร า ศึ ก ษ า ว่ า ค น ไ ท ย ส่ ว น ใ ห ญ่ ก ตั ญ ญู ต่ อ พ่ อ แ ม่ โ ด ย ไ ม่ ส น ใ จ ว่ า ค น แ ต่ ล ะ ค น ก ตั ญ ญู ห รื อ ไ ม่ ก ตั ญ ญู (เพราะต้องมีคนจานวนหนึ่งที่ไม่กตัญญู) 4. ความ สัมพันธ์นี้จะรวม ถึงความ คิด ความรู้สึก ความเชื่อ ทัศนคติ ซึ่งอ ้างถึงกัน เชื่อมโยงกัน โดยอาจจะไม่รู้จักกัน เช่น ค นแ ต่ล ะภาค มัก จ ะมี ความ รู้สึก ต่อ คน อีก ภาคต่ างๆ น าน า โดยอาจจะไม่มีประสบการณ์โดยตรง อ ริส โต เติล ก ล่ า วว่า ม นุ ษ ย์เป็ น สั ต ว์สั งค ม (Political Animal) หรือชอบอยู่รวมกัน แต่ชีวิตที่ดีของมนุษย์คือชีวิตที่อยู่ร่วมกันอย่างมีอิสระเสรี ไ ม่ ใ ช่ อ ยู่ ร่ ว ม กั น แ ต่ ไ ม่ มี ค ว า ม เส รี ไ ม่ มี ใ ค ร ม า บั ง คั บ ข่ ม เห ง มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองในนครรัฐที่มีอิสระ สามารถปกครองตนเองได้ ( Self Determination) ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ ใ ค ร ม า ป ก ค ร อ ง ความเป็นสัตว์การเมืองของมนุษย์จึงจะต้องมีสิทธิและมีส่วนร่วมทางการเมืองด้วย (ในรายงานของนักศึกษาก็ควรจะบอกว่าสังคมที่นักศึกษาเขียนถึงนั้นคนอยู่ ร่วมกันอย่างอิสรเสรีหรือไม่ มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนหรือไม่) ควำมสำคัญของสังคมต่อควำมเป็ นอยู่ของมนุษย์ 1. ม นุ ษ ย์ โ ด ย ธ ร ร ม ช า ติ มี ค ว า ม อ่ อ น แ อ ม า ก ถ ้า ต่ า ง ค น ต่ า ง อ ยู่ ก็ จ ะ ไ ม่ อ า จ อ ยู่ ร อ ด ต่ อ ภั ย ร อ บ ตั ว ไ ด้ จึงต้องอยู่รวมกันและมีสังคมคอ ยดูแล เช่น เด็กทารก หากไม่มีใครดูแล อยู่ได้วันเดียวก็จะตาย แต่ลูกสัตว์สามารถดิ้นรนเอาตัวรอดได้ 2. ม นุ ษ ย์มี ส ม อ งข น า ด ให ญ่ มี ส ติ ปั ญ ญ า ส าม ารถ เรีย น รู้ไ ด้ ไม่ ไ ด้ใช ้เพี ยงแต่สั ญ ช าต ญ าณ (Cognitive Reason) เห มือ น สั ตว์อื่น ๆ มนุษ ย์จึงส าม ารถส ร้างเครื่อ งมือ สื่อ ส ารคือ ภาษ าและส ร้างสิ่งอื่น ๆไ ด้ ซึ่งช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคมโดยมีชีวิตที่ดีได้ 3. ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง จิ ต ใ จ แ ล ะ ท า ง อ า ร ม ณ์ ซึ่งม นุ ษ ย์ด้วย กั น เท่ า นั้น ที่ จ ะส น อ งต อ บ ไ ด้ เช่น เรามี แ ฟ น 1 ค น ก็จะดีกว่าเลี้ยงหมา 10 ตัว 4. ความ เจริญจากสิ่งประดิษ ฐ์ต่างๆ จากการคิดค้นทางเทคโนโลยี ซึ่ ง ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม รู้ ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม ห ล า ย ๆ ค น และความความรู้ความเจริญของมนุษย์ได้จากการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีก รุ่ น ห นึ่ ง เ ผ ย แ พ ร่ ล อ ก เ ลี ย น แ บ บ กั น แ ล ะ กั น ดั ง นั้ น มนุษย์จึงจาเป็นต้องดารงอยู่ด้วยกันเป็ นสังคมและมีการแบ่งงานกันทา เช่น เราไม่ปลูกข้าวแต่มีข้าวกิน เราไม่ผลิตมือถือแต่มีมือถือใช ้ การแบ่งงานกันทาและมีการแลกเปลี่ยนทาให้เกิดแนวคิดการได้เปรียบเชิงเ ปรียบเทียบ นั่นคือ มองว่าการแบ่งงานกันทาดีกว่าที่คนๆเดียวทางานทุกอย่าง แม ้ว่าจะเสียเปรียบเมื่อนาม าแลก เปลี่ยนก็ตาม เช่น ไทยผลิตข้าว 1000
  • 6. 6 ถังเพื่ อ แ ล ก กั บ รถ 1 คั น ก็ ยั งดี ก ว่าจ ะต้อ ง ผ ลิต ทั้ง ข้าวแ ล ะรถ เอ ง เพราะต้นทุนจะสูงกว่าการเอาข้าวไปแลกรถ แนะนาหนังสือ 1. สังคมวิทยาการเมือง โดย ดร.จิรโชค 2. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม โดยงามพิศ สัตย์สงวน 3. มนุษย์กับวัฒนธรรม 4. มนุษยวิทยาประวัติศาสตร์ 5. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในนคร 6. พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย โดยศรีศักดิ วัลลิโภดม 7. ความเป็นคนไทย 8. ประวัติศาสตร์ชาวนาสยาม 9. อายธรรมฝั่งทะเลตะวันออก โดย ดร.ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม 10. ความเป็นไทย/ความเป็นไท 11. สานักพลเมือง 12. อิทธิพลของฝรั่งกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย 13. สยามประเทศไม่ได้เริ่มที่สุโขทัย 14. บรรพบุรุษไทย 15. ประวัติศาสตร์ชาติ ปัญญาชนโดยนิธิ เอียวศรีวงค์ 16. ลีลาไทย เป็นต้น สังคมวิทยำกำรเมือง สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เมื อ ง เป็ น ส ห วิท ย า ก า ร ( Interdisciplinary) ห รื อ พ หุ วิ ท ย า ก า ร (Multidisciplinary) เพราะสังคมวิทยาก ารเมือ งจ ะศึก ษ าครอ บคลุม ถึงวิชาต่างๆ จานวนม าก สังคมวิทยาการเมืองจะสนใจเกี่ยวกับ - ส ถ า บั น ท า ง สั ง ค ม (Institutions) สถาบันหมายถึงสิ่งที่ในสังคมยอมรับร่วมกันว่ามีความจาเป็ นต่อสังคม สามารถดารงอยู่ได้ในสังคมนั้นอย่างยั่งยืน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันเพลงชาติ - กระบวนการทางการเมือง (Process) - อุดมการณ์ทางการเมือง (Ideology) สิ่งที่สังคมวิทยำกำรเมืองศึกษำ 1. อานาจ โดยพิจ ารณ าว่าอ านาจขอ งคนมีผลต่อ คนอื่นอ ย่างไ ร อานาจเกี่ยวกับบทบาทและสถานภาพอย่างไร 2. ศึกษาความขัดแย้งว่านาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงอานาจในสังคมอย่างไ ร นอกจากความขัดแย้งแล้วยังศึกษาเรื่องของความร่วมมือซึ่งเป็นเหรียญอีกด้านขอ งความขัดแย้ง และยังมีเรื่องการประนีประนอมรอมชอมหรือการปรองดอง ดังที่สังคมไทยพยายามทาอยู่ในเวลานี้
  • 7. 7 ตั ว แ บ บ ภู เ ข า น้ า แ ข็ ง (Ice Berg) เป็ น ตั ว แ บ บ ใ น ก า ร ท า ค ว า ม เข้า ใ จ กั บ สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เมื อ ง เป็นตัวแบบที่บอกว่าเบื้องหลังเหตุการณ์หรือพฤติกรรมทางการเมืองใดๆ นั้นจะมีปัจจัยทางสังคมมากมายที่เข้ามาเกี่ยวข้องแต่เป็นปัจจัยสังคมเหล่านี้เป็นปั จ จั ย ที่ เ ร า ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น เหมือนกับภูเขาน้าแข็งที่ส่วนที่ลอยใต้น้าที่เรามองไม่เห็นจะเป็นพื้นที่มากกว่าส่ว นที่ลอยเหนือน้าของภูเขาน้าแข็งที่เรามองเห็น พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ เ ร า ม อ ง เ ห็ น คื อ ส่ ว น นิ ด เ ดี ย ว แ ต่ สิ่ ง ที่ เ ร า ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น จ ะ มี ม า ก ม า ย การทาความเข้าใจกับสิ่งที่มองไม่เห็นเหล่านี้จะทาให้เราเข้าใจสิ่งต่างๆ มากขึ้น ในทางสังคมวิทยาการเมืองส่วนบนของภูเขาน้าแข็งคือรัฐศาสตร์ที่มองเห็น ได้ชัดแต่ส่วนที่อยู่ใต้ภูเขาน้าแข็งจะเป็นสังคมวิทยา เ ช่ น การที่คนไปเลือกตั้งเป็นสิ่งที่เรามองเห็นแต่พฤติกรรมดังกล่าวจะปัจจัยมากมาย เช่น ค รอ บ ค รัว ฐ าน ะท าง เศ รษ ฐ กิจ ค วาม คิด ค วาม เชื่อ แ ล ะอื่ น ๆ ที่เราต้องทาความเข้าใจ เพื่อให้เข้าถึงพฤติกรรมในการเลือกตั้ง เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ด็ น อื่ น ๆ เราจาเป็ นต้องทาความเข้าใจต่อปัจจัยที่อยู่ภายใต้น้าเพื่อเข้าใจในเรื่องนั้นๆ อย่างเพียงพอ ตัวอย่างนักสังคมวิทยาและสังคมวิทยาการเมืองที่สาคัญ - เซนต์ ไซม่อน (ค.ศ.1760–1825) - เ ฮ อ ร์ เ บิ ร์ ต ส เ ป น เ ซ อ ร์ ( ค . ศ . 1 8 2 0 –1 9 0 3 ) พูดถึงสังคมแบบกลไกลและสังคมแบบไม่ใช ้กลไก - อ เ ล็ ก ซิ ส เ ด อ ท้ อ ก เ ก อ ร์ วิ ล ล์ ( ค . ศ . 1 8 0 5 –1 8 5 9 ) เป็ น ช า ว ฝ รั่ ง เศ ส เดิ น ท า ง ไ ป ศึ ก ษ า อ เ ม ริก า ใ น ยุ ค แ ร ก ได้เห็นการแบ่งอานาจอธิปไตยออกเป็นนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ทาให้เขาชื่นชมอย่างมาก เพราะเวลานั้นยุโรปยังไม่มีการแบ่งแยกอานาจ - ค า ร์ล ม า ร์ก ซ์ (18 1 8 -1 8 8 3) เจ ้า ข อ งแ น ว คิด ค อ ม มิ วนิ ส ต์ พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตกับชีวิตทางสังคม - แ ม็ ก ซ์ เ ว เ บ อ ร์ ( ค . ศ . 1 8 6 4 –1 9 2 0 ) เจ ้าพ่อแนวคิดระบบสานักงานขนาดใหญ่ (แนวคิดระบบราชการ) - เอ มิล เดอ ไ คม์ (ค.ศ.1858–1917) พูดถึงก ารแบ่งงานกันทาใน ก า รฆ่ า ตั ว ต า ย เช่ น ศึ ก ษ า ว่า สั ง ค ม ที่ มี ศ า ส น า กั บ สั ง ค ม ไม่มีศาสนาใครฆ่าตัวตายมากกว่ากัน - เซมัวร์ มาร์ติน ลิพเซ็ต พูดถึงการรวมกลุ่มองค์กรในแบบประชาธิปไตย - S.N. Eisenstadt - Irving Louis Horowitz - มอร์ริส ดูเวอร์เจอร์ ศึกษาเรื่องพรรคการเมือง กระบวนการประชาธิปไตย ฯลฯ
  • 8. 8 ใน การศึก ษ าสังคมวิทยาการเมืองและการเปลี่ยน แปลงทางสังคม ( ร ว ม ทั้ ง ส า ข า วิ ช า อื่ น ๆ ) เรา จ ะต้อ งศึก ษ า ว่าอ ะไ รเป็ น ส าเห ตุ ที่ ท าให้เกิด ก ารเป ลี่ ย น แป ล ง ห รื อ ต้ อ ง ดู ว่ า อ ะ ไ ร เ ป็ น ตั ว แ ป ร ต้ น อ ะ ไ ร เ ป็ น ตั ว แ ป ร ต า ม หรือเราต้องให้แสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งที่เราศึกษานั่นเอง ตั วแ ป ร (Variable) คื อ สิ่งที่ ต้อ งก ารศึ ก ษ า ส าม ารถ เป ลี่ ย น ไ ด้ สิ่งที่ เป็ น เหตุ เรียก ว่าตั วแป รต้น /ตัวแปรอิส ระ (Independent Variable) สัญ ลั ก ษ ณ์ คื อ X ผ ล ที่ ต าม ม าคื อ ตั วแป รต าม (Dependent Variable) สัญลักษณ์คือ Y ภาพความสัมพันธ์คือ X Y เ ช่ น มี โ ร ง ง า น เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ค น มี ร า ย ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น หรือมีโรงงานเกิดขึ้นทาให้สิ่งแวดล้อมถูกทาลาย อย่างไรก็ตามสิ่งที่เกิดขึ้นจะไม่มีสาเหตุเพียงอย่างเดียว แต่จะมีหลายๆ สาเหตุ ขณะเดียวกันสิ่งที่เป็นผลก็จะกลายเป็นเหตุของอีกสิ่งหนึ่งกลับไปกลับมา ดังรูป X Y เช่น เราจะตอบไม่ได้ว่าไก่มาก่อนไข่ หรือไข่มาก่อนไก่ เช่นเดียวกัน สั ง ค ม ก็ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เมื อ ง ก า ร เมื อ ง ท า ใ ห้เศ ร ษ ฐ กิ จ เป ลี่ ย น เศรษฐกิจทาให้การเมืองเปลี่ยน เป็นต้น ยกตัวอย่าง - ก า ร เ มื อ ง ท า ใ ห้ สั ง ค ม เ ป ลี่ ย น เ ช่ น การเมืองทาให้เกิดมหาวิทยาลัยรามคาแหง เพราะเวลานั้นนักศึกษาไม่มีที่เรียน เพราะมหาวิทยาลัยปิดรับได้ไม่เพียงพอ ทาให้มีการเรียกร้องให้เปิดมหาวิทยาลัย มีนักการเมืองหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้องในการผลักดันและร่างเป็นกฎหมายเข้าสู่ส ภา เมื่อมีมหาวิทยาลัยรามคาแหงก็ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ม า ก ม า ย เพ ร า ะ ท า ใ ห้ค น ไ ม่ มี โ อ ก า ส เ รี ย น ไ ด้เรี ย น ห นั ง สื อ รามคาแหงทาให้การศึกษาขยายตัวอย่างมากมายเพราะเป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิ ชา รามคาแหงทาให้สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงพาราไดม์ด้านการศึกษา เ พ ร า ะ อ ดี ต เ ชื่ อ ว่ า ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น สิ่ ง มี ค่ า เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ค น หั ว ก ะ ทิ แ ล ะ ช น ชั้ น น า เ ท่ า นั้ น หากคนระดับล่างได้รับการศึกษาอาจจะทาให้สังคมมีปัญหา แต่พอมีรามคาแหงทาให้เกิดการเปลี่ยนแนวคิดว่าการศึกษามีไว ้สาหรับทุก ๆ ค น ไ ม่ ใ ช่ มี ไ ว ้ส า ห รั บ ค น ร ว ย แ ล ะ ค น ที่ เ รี ย น เ ก่ ง เ ท่ า นั้ น ปัจจุบันรามคาแหงได้สร้างคนที่มีความรู้ออกสู่สังคมอย่างมากมายมาจนถึงทุกวัน นี้
  • 9. 9 พำรำไดม์ (Paradigm) หมายถึงทัศนะ แม่บท ความ คิดพื้นฐาน ก า ร เ ป ลี่ ย น พ า ร า ไ ด ม์ (Paradigm Shift) คือการเปลี่ยนทัศนะพื้นฐานแบบถอนรากถอนโคน เช่น เดิมมนุษย์เชื่อว่าโลกแบน แ ต่ ต่ อ ม า ก็ มี ก า ร ค้ น พ บ ว่ า โ ล ก ก ล ม ถือว่าเป็นการเปลี่ยนพาราไดม์ครั้งใหญ่และส่งผลให้เกิดความก ้าวหน ้าด้านต่างๆ มากมายของโลกมนุษย์ เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ใ น อ ดี ต เ ร า จ ะ เ ชื่ อ ว่ า ค น ไ ม่ เ ท่ า กั น ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม คิ ด แ บ บ อ า น า จ นิ ย ม แ ต่ ต่ อ ม า ก็ เ ป ลี่ ย น พ า ร า ไ ด ม์ ม า เ ชื่ อ ว่ า ค น เ ป็ น ค น เ ท่ า กั น อันเป็นแนวคิดแบบประชาธิปไตย Jacques Derrida (ชาร์ค ดารีด้า) บอกว่าความเป็นจริงเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้น เมื่อ สิ่งที่ส ร้างขึ้น ไม่ถูกต้องต่อไป จึงต้อ งมีก ารรื้อ ทิ้ง (Deconstruction) และต้องสร้างความจริงขึ้นมาใหม่ หรือ Reconstruction Deconstruction คื อ ก ารเป ลี่ ย น แ ป ล งแ บ บ ไ ม่ ถ อ น ราก ถ อ น โค น เ ป ลี่ ย น เ ล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ โ ด ย มี พื้ น ฐ า น เ ดิ ม อ ยู่ (แตกต่างจากการเปลี่ยนพาราไดม์ที่เปลี่ยนแปลงจากของเก่าไปทั้งหมดแบบถอ นรากถอนโคน) Reconstruction คือการสร้างขึ้นใหม่ เช่น เดิม เชื่อ ว่า รัก วัวให้ผูก รัก ลูก ให้ตี เป ลี่ยน เป็ น รัก วัวให้ผู ก รักลูกให้ทาความเข้าใจลูก เอาใจใส่ ให้เวลาลูก เดิมชื่อว่าผู้ชายเท้าหน้า ผู้หญิงเท้าหลังแต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นหญิงและชายเดินไปด้วยกัน นอกจากชาร์ค ดารีดาแล้วนักวิชาการที่มีชื่อเสียงในแนวนี้คือมิเชล ฟูโกต์ ที่นาเสนอเรื่องวาทกรรม (Discourse) โทมัส คูน - เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท า ใ ห้ ก า ร เ มื อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ช่ น การลดค่าเงินบาททาให้การเมืองไทยมีปัญหา ทาให้รัฐบาลชวลิตต้องลาออก - ก า ร เมื อ ง ท า ใ ห้วัฒ น ธ รรม เป ลี่ ย น แ ป ล ง เช่น จ อ ม พ ล ป . สั่ ง ใ ห้ ค น ไ ท ย ย ก เ ลิ ก ก า ร กิ น ห ม า ก สั่ ง ใ ห้ ค น ไ ท ย มี วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร แ ต่ ง ตั ว แ บ บ ทั น ส มั ย เช่ น เดี ย ว กั บ ฮิ ต เล อ ร์ก็ ส่ ง ผ ล ใ ห้สั ง ค ม เย อ ร มั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี จ อ ห์ น เ อ ฟ . เ ค เ น ดี้ ก็ ท า ใ ห้ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง อ เ ม ริ กั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ม า ก รวมทั้งลีกวนยูที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับสิงคโปร์ ห รื อ ก า ร ล่ ม ส ล า ย ข อ ง ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ต ซึ่งเป็ นเรื่องทางการเมืองนามาสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ การเมืองระหว่างประเทศ เนื่องจากสงครามเย็นสงบลง ปัจจุบันหลายๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบไปแทบทุกด้าน เช่น ภัยพิบัติที่ญี่ปุ่ นส่งผลต่อเศรษ ฐกิจ เช่น คนไม่กล้ากินปลาที่มาจากญี่ปุ่ น ค น ไ ม่ ก ล้ า ไ ป เ ที่ ย ว
  • 10. 10 เหตุการณ์นี้ยังส่งผลต่อระหว่างประเทศเพราะนานาประเทศต่างส่งความช่วยเหลื อไปยังญี่ปุ่น หรือภูเขาไฟที่ไอร์แลนด์ระเบิดมีผลต่อเศรษฐกิจเพราะสายการบินต้องหยุด บิน ซึ่งการหยุดบินแต่ละครั้งทาให้เสียหายเป็นพันเป็นหมื่นล้าน เป็นต้น แนวทำงกำรศึกษำวิเครำะห์กำรเมือง (Approach) เป็นแนวทางการศึกษาหรือมุมมองที่จะใช ้ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมือง ซึ่งมีแนวทาง คือ 1. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ค ร ง ส ร้ า ง (Structure, Structuralism) เป็นการดูโครงสร้างของสิ่งที่เราศึกษา เช่น โครงสร้างแบบเมือง แบบชนบท แบบอุตสาหกรรม 2. แนวทางศึกษาหน ้าที่ ประโยชน์ เป้าหมาย (Function, Functionalism) ดูหน้าที่ 3. ส ถ า บั น (Institution) คื อ สิ่ ง ที่ ยึ ด ถื อ กั น ม า น า น ป ฏิ บั ติ และถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง 4. ประวัติศาสตร์ (Historical Approach) เป็นการเล่าเรื่อง เน้นความจริง เช่น การชนช ้างของพระนเรศวรมีจริงหรือไม่ก็ต้องดูจากหลักฐาน ประวัติศาส ต ร์มี ทั้งประวัติศ าส ต ร์ท้อ งถิ่น ป ระวัติศ าส ต ร์ชุม ช น ประวัติศาสตร์ของโลก 5. แนววิเคราะห์ปรัชญา (Philosophical Approach) 6. แนววิเคราะห์กฎหมาย (Legal Approach) ดูความเป็นถูก ความยุติธรรม ค ว าม ไ ม่ 2 ม า ต ร ก า ร ไ ม่ เลื อ ก ป ฏิ บั ติ ก ฎ ห ม าย ล้า ส มั ย ห รือ ไ ม่ สอดคล้องกับชีวิตของคนปัจจุบันหรือไม่ เช่น รุกล้าทะเลปรับวันละ 100 ก็มีปัญหาถูกรุกล้าต่อไป ควรจะต้องปรับวันละ 1 ล้าน คนก็จะบุกรุกทะเลน ้อยลง 7. แนววิเคราะห์เศ รษ ฐ กิจ /เศรษ ฐ ศ าส ตร์ (Economic Approach) ดูการผลิต การจาหน่าย การบริโภค 8. แนววิเคราะห์วัฒนธรรมการเมือง (Political Cultural Approach) เช่น วัฒนธรรมเงินไม่มากาไม่เป็น วัฒนธรรมการเป็นนอมินี 9. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ ภ า ษ า (Linguistics/Language) เป็นแนวการวิเคราะห์ที่บอกว่าการเมืองเป็นเรื่องขิงภาษา เช่น อามาตยาธิปไตย ความไม่เป็ นธรรมทุกหย่อมหญ ้า การกดขี่ของคนเมือง ล้มเจ ้า ขายชาติ ถ ้อยคาเหล่านี้เราจะพบทางหน ้าสื่อมวลชน 10. แ น ว วิ เ ค ร า ะ ห์ จิ ต วิ ท ย า (Psychological Approach) เ ช่ น ก า ร แ ห่ ไ ป ไ ห ว ้สิ่ ง ศั ก ดิ สิ ท ธิ์ เ ป็ น จิ ต วิ ท ย า ม ว ล ช น เ ช่ น คนแต่ละคนอาจจะเป็นคนดีแต่พอรวมกันและมีผู้ปลุกระดมก็อาจจะทาสิ่งที่ไม่น่าเ ชื่อได้ เช่น เผาบ ้านเมืองได้ 11. แนววิเคราะห์สังคมวิทยา (Sociological Approach) 12. การวิเคราะห์ปัจจัยเข้าออก (Input–Output Analysis)
  • 11. 11 13. แนววิเคราะห์ทฤษ ฎีระบบ (General System Theory) ดู Input, Output, Process, Feedback เช่น ผลก ระท บที่เกิดขึ้น ดูส ภาพ แวดล้อ ม แนวนี้จะลึกซึ้งกว่าแนว Input-Out Put Analysis 14. ก า ร สื่ อ ส า รค ม น า ค ม (Communication/Cybernetic Theory) วิเคราะห์สื่อ 15. ก ารวิเคราะห์ก ารจัดส รรสิ่งที่ มีคุ ณ ค่า (Distributive Analysis) ดูว่าใครได้อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร 16. ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory) 17. แนวคิดพหุนิยม (Pluralism) 18. ทฤษฎีชนชั้นนา (Elite Theory) ควำมแตกต่ำงของมนุษย์ มนุษย์แตกต่างกันในเรื่องต่อไปนี้ 1. เชื้อชาติ (Race) เชื้อชาติในโลกมี 3 เชื้อชาติใหญ่คือ - คอเคซอยด์ (Caucasoid) ผิวขาว ตัวใหญ่ จมูกโด่ง ตาใหญ่ ผมทอง - มองโกลอยด์ (Mongoloid) ผิวเหลือง ตาตี่ ผมดา ตาสีดาหรือน้าตาล - นิกรอยด์ (Negroid) ผิวดา ตัวใหญ่ ตาโปน จมูกใหญ่ ผมหยิก สิ่งเห ล่านี้ เป็ น ลั ก ษ ณ ะที่ ป ราก ฏ ภ ายน อ ก ที่ เรีย ก ว่า Phenotype (Phenomenon หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ปรากฏให้เห็น) 2. Genotype การแตกต่างทางพันธุกรรม ทาให้ DNA ของคนต่างกัน 3. ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ (Ethnic Group) ก า ห น ด โ ด ย วั ฒ น ธ ร ร ม และวัฒนธรรมคือสิ่งที่เราสร้างขึ้น ทาให้คนไทยแตกต่างจากคนลาว ทั้งๆ ที่ ล า ว แ ล ะ ไ ท ย ต่ า ง เ ป็ น เ ชื้ อ ช า ติ เ ดี ย ว กั น แต่เราเป็นคนละชาติพันธุ์กันเพราะเรามีวัฒนธรรมแตกต่างกัน ดังนั้นมนุษย์สามารถแตกต่างกันได้ในแง่ของลักษณะที่ปรากฏภายนอก แต่ไม่ได้แตก ต่างในแง่ของความ เป็ นคน ดังนั้นไม่ว่าคนจะผิวดา เหลือ ง หรือผิวขาวก็มีความเป็นมนุษย์เท่ากัน เช่นเดียวกันการมียีนส์แตกต่างกันก็ไม่ได้ทาให้คนแตกต่างกันในความเป็น คน เช่น กัน เช่น คนที่โง่ที่สุดก็มีความ เป็ นมนุษ ย์เท่ากับคนฉลาดที่สุด และคนส่วนใหญ่ควรเห็นใจและต้องช่วยให้คนโง่ที่สุดได้รับในสิ่งที่คนทั่วไปได้รับ เหมือนๆ กัน วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง 1. ระบบความเชื่อ คุณค่า ค่านิยม ภูมิปัญญา 2. การปฏิบัติของชุมชน หนึ่งๆ หรือ สังคม หนึ่งๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ไปงานแต่งงานก็ต้องมีของขวัญให้กับคู่แต่งงาน 3. วัฒ น ธ รรม เชิงนิ เว ศ (Culture Ecology) ห รือ นิ เวศ วัฒ น ธ รร ม เป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น เช่น คนตรังจะมีวัฒนธรรมที่ต่างจากชาวนครพนม ไม่ว่าจะเป็นการกิน 4. วัฒ นธรรมเป็ นทุกสิ่งที่ใช ้ในก ารดารงชีวิต (Instrumental Needs) ทั้งที่เป็นวัตถุและวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
  • 12. 12 วัฒ น ธรรม วัต ถุ (Material Culture) เช่น เครื่อ งใช ้ มื อ ถือ เสื้อ ผ้า เครื่องแต่งกาย เ ช่ น เ ร า มี มื อ ถื อ เ ร า ก็ มี วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ใ ช ้ มื อ ถื อ แต่บางสังคมก็อาจจะมีวัฒนธรรมสื่อสารแบบอื่นๆ เช่น เขียนจดหมาย (เช่น ในเรื่องผ้าจะมีผู้เชี่ยวชาญระดับศาสตราจารย์ที่ศึกษาเรื่องผ้า เรื่องการทอผ้า หรือมีผู้เชี่ยวชาญเรื่องสี ว่าเกิดมาอย่างไร มนุษย์แต่ละสังคมคิดค้นสีอย่างไร) ส่วนวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (Non Material Culture) เช่น ความเชื่อ ค่านิยม เ จ ต ค ติ อุ ด ม ก า ร ณ์ ศ า ส น า สั งค ม ไ ท ย เรารับ เอ าวัฒ น ธ รรม ที่ ไ ม่ ใช่วัต ถุเห ล่ านี้ จ าก ภ า ย น อ ก แต่เราไม่ได้รับมาทั้งหมด อาจจะรับมาบางส่วน 5. วัฒนธรรมช่วยกากับสังคมไม่ให้เกิดความระส่าระสาย 6. วัฒนธรรมเป็นสิ่งจาเป็น แต่จะมีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอให้เหมาะสม เช่น อักษรไทย หรือลายสือไทก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยพ่อขุนรามอย่างมาก (เช่นเดียวกับในรายงานของนักศึกษาก็ต้องบอกว่าในชุมชนที่นักศึกษาเขีย นถึงมีการเปลี่ยนแปลงในทางวัฒนธรรมอย่างไร) วัฒนธรรมจะแบ่งออกเป็นชีวิตวัฒนธรรมและศิลปวัฒนธรรม - ศิลปวัฒนธรรม มีลักษณะ 1. เป็ น ผ ล งาน พิ เศ ษ เฉ พ าะ ก่ อ ให้เกิ ด ค วาม รู้สึก แ ล ะอ ารม ณ์ สะท้อนใจได้ง่าย อาจใช ้ใน แง่ธุรกิจ เพื่อ การค้าขาย เพื่อก ารท่องเที่ยว ให้เยี่ยมชม เช่น ภาพวาด รูปปั้น พระพุทธรูป (เช่น พระพุทธรูปที่เขาชีจันทร์) 2. ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม บ า ง อ ย่ า ง จ ะ เ ป็ น ชิ้ น เ ดี ย ว ใ น โ ล ก ลอกเลียนแบบให้เหมือนสนิทไม่ได้ เป็นลักษณะสถิต (Static) ต้องอนุรักษ์เอาไว ้ ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ แ ป ร เ ป ลี่ ย น เ ช่ น รู ป โ ม น า ลิ ซ่ า พระพุ ทธรูปขนาดใหญ่ในอัฟ ก านิส ถานที่ ถูก ท าลายโดยก ลุ่ม ตาลีบัน ไม่สามารถสร้างใหม่มาทดแทนได้ - ชีวิต วัฒ น ธ รรม เกี่ ย วข้อ งกั บ ชีวิต ป ระจ าวัน ข อ งค น ทุ ก ค น เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เป็ นวัฒนธรรมในการใช ้ชีวิต เช่น การแปรงฟัน การกิน การนอน การแต่งตัว ในกำรศึกษำของเรำเรำจะให้ควำมสนใจเกี่ยวกับชีวิตวัฒนธรรมหรือ สังคมวัฒนธรรม ไม่ใช่ นั่นคือเราจะต้องสนใจว่าคนในสังคมใช ้ชีวิตอย่างไร แต่งตัวอย่างไร กินอย่างไร นอนอย่างไร ทามาหากินอย่างไร ( ช่ ว ง ท้ า ย อ า จ า ร ย์ ใ ห้ Quiz ค น ที่ ไ ม่ ม า Quiz ให้เขียนสรุปจากเอกสารประกอบคาสอนประมาณ 4 หน้าว่าในวันนี้เรียนอะไรบ ้าง) ช่วงแรก อ าจ ารย์ท บท วน ว่าวิชานี้ เป็ น วิชาสังคม วิท ยาก ารเมือ ง เป็ นวิชาที่ต้องการบอกนักศึกษาว่าปัจจัยต่างๆ ในโลกนี้มีความสัมพันธ์กัน ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ กั น โ ด ย เฉ พ า ะปั จ จั ย ท า ง สั ง ค ม เศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ที่ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น ใน ก ารเรียนนัก ศึก ษ าต้อ งส าม ารถทาความ เข้าใจสังคม โดยใช ้แน วคิด ทฤษฎีด้านสังคมวิทยาการเมืองได้
  • 13. 13 การที่เราต้องเรียนสังคมวิทยาการเมือง เพราะการเรียนการเมืองอย่างเดียว ไม่เพียงพอต่อการทาความเข้าใจกับเรื่องราวทางการเมืองให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ไ ด้ ขณะเดียวกันเราจะเข้าใจสังคมโดยใช ้แนวคิดทางสังคมวิทยาอย่างเดียวไม่ได้ ใน ช่วงที่ แล้วอ าจ ารย์ไ ด้น าเส น อ ถึงความ ห ม ายข อ งก ารเมื อ ง ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง สั ง ค ม วิท ย า แ ล ะ สั ง ค ม วิท ย า ก า ร เ มื อ ง พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ในรายงานของนักศึกษาจะต้องนาเสนอว่าในชุมชนที่นักศึกษารู้จักนั้นอะไร ท า ใ ห้ อ ะ ไ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต้องบอก ว่าความสัมพันธ์ในชุมชนแบบไหนเป็ นความสัมพันธ์แบบกลไก หรือเป็นสังคมที่มีความหลากหลาย หรือเป็นเนื้อเดียวกัน หรือแตกแยกกัน จากนั้นก็นาทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์ เช่น ชุมชนของเรามีความเป็นเมือง ( Urbanization) ห รื อ ไ ม่ ทั น ส มั ย ( Modernization) ห รื อ ไ ม่ หรือมีความเป็ นท้องถิ่น (Localism) อย่างไร หรือเป็ นทุนนิยม (Capitalism) อย่างไร เป็นต้น ส่วนสุดท้ายให้วิเคราะห์ว่าชุมชนขอ งเราดีหรือยัง เพราะอะไร เช่น บอกว่าชุมชนของเรามีความขัดแย้งเนื่องจากนาเอาประชาธิปไตยระดับชาติมาใช ้ กั บ ท้อ ง ถิ่น ค ว าม ขั ด แ ย้ง ดั ง ก ล่ า ว ก่ อ ให้เกิ ด ค ว าม รุน แ รง (ทั้ ง ๆ ที่ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ร ะ ดั บ ช า ติ ม า ใ ช ้ใ น ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ๆ ไ ม่ ไ ด้ เพ รา ะอ ย่ า ง ไ ร ใน ร ะดั บ ช า ติ แ ม ้จ ะ ขั ด แ ย้ง กั น แ ต่ ไ ม่ ฆ่ า กั น ต า ย แต่ในชุมชนพอขัดแย้งกันอาจจะถึงฆ่ากันตายได้) สังคมวัฒนธรรม อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าในวิชานี้เราให้ความสนใจกับชีวิตวัฒนธรรมหรือสังค มวัฒนธรรมมากกว่าศิลปวัฒนธรรม เ ร า จ า เ ป็ น ต้ อ ง ศึ ก ษ า ชี วิ ต วั ฒ น ธ ร ร ม หรือ สังค ม วัฒ น ธ รรม เพื่ อ จ ะเรียน รู้ประวัติก าพื ด ขอ งต น เอ งใน อ ดี ต รู้จักครอบครัวตนเอง รู้จักชีวิต เข้าใจสังคมของตนเอง เข้าใจประวัติศาสตร์ เข้าใจ วัฒ น ธรรม ทั้งอ ดี ตแล ะปั จ จุบัน ซึ่งจ ะช่วยให้เกิด จิตส านึก ที่ ดี มีพลังเพื่อเผชิญปัญหาและจัดการกับชีวิตและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประสบความสาเร็จ สร้างสรรค์สิ่งที่ดี ทฤษฎีเกี่ยวกับวัฒนธรรม มีสองกลุ่ม ได้แก่ 1. Cultural Evolutionism ทฤษฎีวิวัฒนำกำรทำงวัฒนธรรม ท ฤ ษ ฎี วิวั ฒ น า ก า ร เป็ น ท ฤ ษ ฎี ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ม า ก ใ น ทุ ก ส า ข า เชื่อว่าทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยปรับตัวเองให้ดีขึ้น โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น จ ะ มี ห ล า ย รู ป แ บ บ ทาให้มีชื่อเรียกทฤษฎีวิวัฒนาการอีกหลายชื่อ คือ 1.1 Vertical Model ท ฤ ษ ฎี แ น ว ดิ่ ง เป็นทฤษฎีที่เชื่อว่าทุกอย่างเปลี่ยนแปลงจากต่าขึ้นไปสูง
  • 14. 14 1.2 Linear Model ท ฤ ษ ฎี เ ส ้ น ต ร ง เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงของทุกๆจะเป็นแบบเส ้นตรง 1.3 Stage Model ท ฤ ษ ฎี ขั้ น ต อ น เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งจะเป็นไปตามขั้นตอน 1.4 Darwinism ทฤษฎีวิวัฒนาการอาจจะเรียกว่าทฤษฎีของชาร์ลส์ ด า ร์ วิ น เป็นนักคิดที่โด่งดังที่นาเสนอว่าสิ่งมีชีวิตต้องมีการปรับตัวเพื่อให้สามา รถอยู่รอดได้ Evolutionism เป็ นเรื่องของการปรับตัว (Adaptation) เพื่อการอยู่รอด (Survival) เชื่อว่าคนที่ปรับตัวให้เหมาะสมที่สุดกับสภาพแวดล้อมหรือให้ Fittest เท่ านั้นจึงจ ะอ ยู่รอ ดไ ด้ (The Survival of the Fittest) ไ ม่ใช่ฉลาดที่สุ ด แข็งแรงที่สุด ดีที่สุดเท่านั้นจึงจะอยู่รอด ทฤษฎีวิวัฒนาการเขียนเป็นภาพได้ดังนี้ นั ก ท ฤ ษ ฎี วิ วั ฒ น า ก า ร เ ช่ น อั บ ร ำ ฮั ม ม ำ ส โ ล ว์ ก ล่ า ว ว่ า ค น ต้ อ ง ก า ร ขั้ น ต่ า ไ ป ห า ขั้ น สู ง โดยคนจะต้องการในขั้นสูงขึ้นหากขั้นต่ากว่าได้รับการตอบสนอง (1) ความต้องการทางกายภาพ เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค (2) ต้องการความมั่นคงปลอดภัย หรือให้ดารงอยู่ได้เหมือนเดิม เช่น มีงานทาอยู่ก็ต้องมีความมั่นคง (3) ต้องการเพื่อน ต้องการอยู่ร่วมกับกลุ่ม (4) ต้องการมีชื่อเสียง (5) ต้องการให้คนเข้าใจ ต้องการมีความรู้เข้าใจในสิ่งที่ต้องการ (6) ต้ อ ง ก า ร ท า ใ ห้ ค ว า ม ฝั น ใ ห้ เ ป็ น จ ริ ง เ ช่ น พระพุทธเจ ้าต้องการเผยแพร่ศาสนา (7) การหลุดพ้นอยู่เหนือความทุกข์ ความสุข เหนือการดีใจและเสียใจ แ น ว คิ ด ข อ ง ม า ร์ ก ซิ ส ม์ ก็ เ ป็ น แ น ว คิ ด แ บ บ วิวั ฒ น า ก า ร ซึ่งหลายอย่างในโลกนี้ก็เปลี่ยนแปลงแบบวิวัฒนาการทั้งสิ้น โดยเฉพาะมนุษย์ ตั้ ง แ ต่ เ กิ ด เ ป็ น ท า ร ก เ ป็ น เ ด็ ก วั ย รุ่ น วั ย ท า ง า น วัย ผู้ ใ ห ญ่ จ ะ เป็ น ช่ ว ง ที่ ม นุ ษ ย์ เ ติ บ โ ต อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ม า ก ขึ้ น เ พ ร า ะ เ ร า เ ป ลี่ ย น จ า ก เ ป็ น ผู้ รั บ ม า เ ป็ น ผู้ ใ ห้ ม า ก ขึ้ น 1 2 3 4 5 6 Vertical Model Linear Model Stage Model Evolutionis m Darwinis m
  • 15. 15 สุดท้ายเมื่อถึงช่วงหนึ่งของชีวิตคนที่เติบโตสมบูรณ์ที่สุดคือคนที่ไม่ต้องการให้ค น รั ก ไ ม่ ส น ใ จ ว่ า ใ ค ร เ ก ลี ย ด แ ต่ เ น้ น เ ป็ น ผู้ ใ ห้ ถ ้าแก่แล้วแต่ยังไม่รู้จักให้จะเรียกว่าเฒ่าทารก 2. Cultural Diffusionism ทฤ ษ ฎีกำรเผ ยแ พ ร่ท ำงวัฒ นธ รรม เชื่อว่าวัฒนธรรมจะเผยแพร่ออกไป เป็ นทฤษฎีในแนวระนาบ (Horizontal Model) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าในโลกนี้จะมีศูนย์กลางวัฒนธรรม (Culture Core/Culture Center) เช่น จีนและอินเดียเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือศูนย์กลางวัฒนธรรมกรีก โรมัน มายา วัฒนธรรมจากศูนย์กลางเหล่านี้ พื้นที่ที่รับวัฒ นธรรม จาก ศูนย์ม าเรียกว่าพื้นที่วัฒนธรรม (Culture Area) และการแพร่กระจายออกไปจะเรียกว่าชุดวัฒนธรรม (Cultural Complex) เมื่ อ วัฒ น ธรรม ต่ างๆ เผ ยแพ ร่ม าจ าก หล าย ๆ ศูน ย์ก็จ ะม าช นกั น ป ะ ท ะ สั ง ส ร ร ค์ กั น ห รื อ ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั น (Interaction) วัฒนธรรมที่อยู่ไกลศูนย์กลางเรียกว่าวัฒนธรรมชายขอบ (Marginal Culture) ยิ่ง ไ ก ล จ า ก ศู น ย์วัฒ น ธ ร รม ก็ จ ะ แ ผ่ ว ล ง เช่ น ก า ร นั บ ถื อ ศ า ส น า วัฒนธรรมของศาสนาพุทธมาจากอินเดีย แผ่เข้ามายังพม่า ไทย ลาว เขมร เช่น ผมจุก ผมเปีย ผมมวย ที่เคยมีในสังคมอาจจะไม่ใช่เป็นของไทย แต่รับเอามาจากศูนย์กลางวัฒนธรรม หรือทุกวันนี้เรามีวัฒนธรรมใส่บิ๊กอาย ใส่ถุงน่อง ทาสีผม ก็รับมาจากภายนอก รวมทั้งเครื่องมือเครื่องใช ้ต่างๆ รถ คอมพิวเตอร์ มือถือ ก็รับมาจากภายนอกทั้งสิ้น หรือวัฒนธรรมการกิน เดิมคนไทยไม่ได้ใช ้ช ้อนในการกิน แต่ใช ้มือเปิบ แต่เรารับเอาวัฒนธรรมการใช ้ช ้อนจากที่อื่นมาแล้วปรับให้เข้ากับสังคมไทย เช่น สังคมอื่นจะใช ้ช ้อนกับของเหลวเท่านั้น แต่ไทยเราใช ้กับทุกอย่าง (ในรายงานของนักศึกษาจะต้องเขียนเรื่องของวัฒนธรรมในชุมชนด้วยว่ารับ มาจากที่ไหน ) ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมมีสังกัปที่เกี่ยวข้องดังนี้ (1) Culture Complex ชุดวัฒนธรรม (2) Culture Core แก่นวัฒนธรรม (3) Culture Center ศูนย์กลางวัฒนธรรม (4) Culture Area พื้นที่วัฒนธรรม (5) Marginal Culture วัฒนธรรมชายขอบ (6) Cross Cultural Comparison การข้ามวัฒนธรรม (7) Cultural Relativism วั ฒ น ธ ร ร ม สั ม พั ท ธ์ คือวัฒนธรรมที่ไม่ได้สมบูรณ์ในตัวเอง ไม่มีวัฒนธรรมใดที่ดีกว่าวัฒนธรรมอื่น เช่น ก า ร กิ น ป ล า ร้ า ไ ม่ ไ ด้ เ ล ว ร้ า ย ก ว่ า กิ น น ม กิ น เ น ย เพราะคนที่ไม่เคยกินเนยก็จะเหม็นเหมือนกัน (8) Great Tradition ประเพณีหลวง ประเพณีแห่งชาติ (9) Little Tradition ประเพณี รอง ประเพณีท้องถิ่น ประเพณี ราษฎร์ วัฒนธรรมพื้นบ ้าน
  • 16. 16 (10) Great Narration การเล่าเรื่องอย่างยิ่งใหญ่ เช่น พงศาวดารหลวง ประวัติศาสตร์หลวง (11) Little Narration การเล่าเรื่องขนาดเล็ก เช่น พงศาวดารท้องถิ่น ประวัติศาส ตร์ราษ ฎร์ ประวัติศาส ตร์ท้องถิ่น ประวัติศาส ต ร์ชุม ชน เช่น ในชุมชนของไทยจะมีชื่อท้องถิ่นที่เรียกว่านามถิ่น เช่น บ ้านนาบัว บ ้านนาดอน บ ้าน ซึ่งชื่อนามเหล่านี้จะมีที่มา ทั้ ง นี้ วั ฒ น ธ ร ร ม ช า ติ ป ร ะ เ พ ณี ห ล ว ง หรือประวัติศาสตร์จะเป็ น ตัวกาหนดวิถีชีวิต และแนวคิดของคนในสังคม เ พ ร า ะ ผู้ น า จ ะ ใ ช ้ ป ร ะ เ พ ณี ห ล ว ง ห รื อ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ สร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นและนามาควบคุมคนในสังคม (12) Cultural Interaction ก ารป ะท ะสั งส รรค์ท างวัฒ น ธรรม เช่น วัฒนธรรมจีนมาเจอวัฒนธรรม (13) Borrowing การหยิบยืมวัฒนธรรม (14) Adoption การรับวัฒนธรรมเข้ามา แต่จ ะรับเข้ามาทั้งหม ด เช่น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เราจะเรียกว่าคอมพิวเตอร์โดยเราไม่สามารถสร้างคาไทยมาเรียกแทนได้ (15) Adaptation ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น เป็ น ก า ร รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม เห มื อ น กั น แ ต่ มี ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น เช่ น เรากินสุกี้ยากี้แต่กินแบบไทยๆ เราเปลี่ยนเมนูเคเอฟซีมาเป็นแบบไทยๆ ก า รรับ วัฒ น ธ รร ม ภ าย น อ ก เข้าม าเป็ น เรื่ อ ง ที่ ต้อ ง ระมั ด ระวัง แต่ก็ไม่ควรจะมีลักษ ณะที่น่ากลัวที่สุดคือการหลงชาติ (Ethnocentricism) หรือการคิดว่าตัวเอง ชาติตนเอง ดีกว่าคนอื่นและดูถูกคนอื่น เช่ น ใ น สั ง ค ม ไ ท ย ค น เห นื อ ก็ จ ะ ม อ ง ว่า ค น เ ห นื อ ดี ที่ สุ ด คนใต้ก็ จ ะม อ งว่าคน ใต้ดีที่ สุ ด บางครั้งไ ป เรียก คน อีส านว่าเป็ นล าว หรือคนดาถูกเรียกว่าไอ ้มืด หรือฝรั่งเรียกเราว่าไอ ้ตาตี่ ก็เพราะมองว่าเขาดีกว่าเรา ห รือ ก ารพู ด ว่าถ ้าเจ อ งูกั บ แ ข ก ให้ดี แ ข ก ก่ อ น ก็ เกิด ค วา ม รู้สึ ก ห ล ง ช า ติ พั น ธุ์ ข อ ง ต น เ อ ง ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ อั น ต ร า ย ม า ก ๆ ในทางที่ดีเราจะต้องเปิดรับเอาความหลากหลายทางวัฒนธรรม (16) Folkways วิถีประชา (17) Custom ประเพณี (18) Social Norms ปทัสถานสังคม กฎระเบียบของสังคม (19) Mores จ า รี ต เ ช่ น ต้ อ ง ถ อ ด ร อ ง เ ท้ า เ ข้ า บ ้ า น ไม่ใส่ขาสั้นสายเดี่ยวเข้าวัด บางพื้นที่ห้ามผู้หญิงเข้าเราต้องยอมรับ (20) Tradition ธ ร ร ม เ นี ย ม ข น บ จ า รี ต แ ล ะ ป ร ะ เพ ณี เป็ น ก ฎ ร ะ เบี ย บ ข อ ง สั ง ค ม เห มื อ น เ ช่ น กะเทยรับปริญญาก็ต้องนุ่งกางเกงไม่ควรนุ่งกระโปรง แม ้ว่าอยากจะนุ่งกระโปรง แต่ขนบธรรมเนียมเราทากันมาอย่างนั้นก็ต้องทาตาม (21) Laws กฎหมาย จะต้องมีเหตุผล สอ ดคล้องกับขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ
  • 17. 17 (22) Taboo เรื่องต้องห้าม พูดไม่ได้ สังกัปที่น่ำสนใจเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรม 1. Mechanical Solidarity ความสัมพันธ์ของสังคมแบบกลไก 2. Organic Solidarity ความสัมพันธ์ของสังคมแบบอินทรีย์ 3. Homogeneous การเป็นเนื้อเดียวกัน 4. Heterogeneous ค วาม สั ม พั น ธ์ที่ ห ล าก ห ล ายแต ก ต่างกัน เช่น คนดากับคนขาว สังกัปที่น่ำสนใจเกี่ยวกับลักษณะสังคม 1. Fragmentation ก า ร แ ต ก เ ป็ น เ สี่ ย ง ๆ ร ว ม กั น ไ ม่ ติ ด มีกลุ่มแยกย่อยรวมกันไม่ได้ 2. Differentiation ความแตกต่าง 3. Specialization เฉพาะด้าน เช่น เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทั้ ง 3 คาข้างต้นเป็นเรื่องของความแตกต่างทั้งสิ้นแต่มีความหมายแตกต่างกัน เช่น ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ เฉ พ า ะด้า น ก็ เป็ น เรื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น อาจจ ะทาให้มี ก ลุ่ม หลายก ลุ่ม ตาม ความ รู้ความ ส าม ารถที่แตกต่างกัน ขณะที่คาว่าแตกแยกก็มีหลายกลุ่มที่แตกต่างกันเหมือนกันเหมือนกันแต่มีความห มายไปทางลบ ดั ง นั้ น เ มื่ อ เ ร า ใ ช ้ ภ า ษ า จ ะ มี ค ว า ม ห ม า ย แ ต ก ต่ า ง กั น จึ ง มี ก า ร พู ด ว่ า ก า ร เ มื อ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ภ า ษ า การเลือกใช ้ภาษาต่างกันก็จะสื่อความหมายได้ต่างกัน 4. Anomie ความไร้ระเบียบ ไร้กฎเกณฑ์ 5. Subculture วัฒนธรรมรอง วัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมกลุ่ม 6. Alternative Culture วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง เ ลื อ ก ซึ่ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง เลื อ ก บ า ง อ ย่ า ง ก็ มี ค ว า ม โ ด ด เ ด่ น ขึ้ น ม า เช่นวัฒนธรรมเพศทางเลือก ทุกวันนี้ได้รับการยอมรับมากขึ้น 7. Juxtaposition การเอาวัฒนธรรมมารวมกัน แต่เป็นการรวมกันแบบมั่วๆ น า เ อ า สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค ว ร จ ะ อ ยู่ ด้ ว ย กั น ม า ร ว ม กั น เช่นตกแต่งบ ้านด้วยของดีทุกอย่างแต่ไม่เข้ากัน ห รื อ ค น ใ น บ ้ า น เ ดี ย ว กั น คุ ณ ย า ย นุ่ ง ผ้ า ถุ ง คุณแม่แต่งชุดทางานเรียบร้อยทันสมัย หลานสาวนุ่งขาสั้นจู๋ เมื่อ วัฒนธรรมหลายอย่างมาเจอกันจะเกิด Acculturation หมายถึง ปฏิสัมพันธ์หรือการปะทะสังสรรค์ทางสังคมวัฒนธรรมระหว่างสองกลุ่มคนที่มีวัฒ นธรรมแตกต่างกัน ทาให้เกิด 1. Adaptation ก ารป รับ ตั ว เมื่ อ เกิด ก ารป ะท ะกั น ข อ งวัฒ น ธรรม วัฒนธรรมก็จะมีการปรับตัวเพื่อให้คงอยู่ การปรับตัวต้องคานึงถึงองค์รวม กลุ่ม ลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวข้อง 2. Assimilation ก า ร ก ลื น กั น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม หมายถึงเมื่อวัฒนธรรมสองชุดมาปะทะสังสรรค์กันจนถึงขั้นผสมกลมกลืนเข้าเป็น
  • 18. 18 ชุ ด เดี ย ว กั น ก ลุ่ ม วัฒ น ธ ร ร ม ที่ มี พ ลั ง น้อ ย (Subordinate Culture) จะถูก ผส มกลมกลืนเข้าไปเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ที่มีพลังมากก ว่า (Dominant Culture) ไม่ได้หมายความว่าวัฒนธรรมอันไหนดีหรือด้อยกว่ากัน แต่เป็นการเคยชินและการถูกกลืน เ ช่ น มองโกลทาสงครามกับจีนและแม ้เอาชนะได้แต่สุดท้ายก็รับเอาวัฒนธรรมจีนที่วัฒ นธรรมที่เจริญกว่ามาเป็นวัฒนธรรมของตนเอง ขณะที่สังคมไทยเป็นสังคมที่สามารถกลืนกันในทางวัฒนธรรมได้อย่างดี เ ช่ น พ อ ค น จี น อ พ ย พ เ ข้ า ม า อ ยู่ ใ น เ มื อ ง ไ ท ย เราก็ต้อ น รับเป็ น อ ย่างดีสุดท้ายคน จีนเหล่านี้ก็ก ลายเป็ น คน ไ ทย เช่น คนจีนในสมัยก่อนก็จะได้รับตาแหน่งต่างๆ เช่นเดียวกับญี่ปุ่น ฝรั่ง แขก เช่น คอนสแตนติน ฟอนคอล ก็เป็นเจ ้าพระยาวิชาเยนทร์ 3. Cultural Integration ก า ร บู ร ณ า ก า ร ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ห า ก ก ลื น วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ม่ ไ ด้ ก็ ต้ อ ง ย อ ม รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม อื่ น ทาให้เกิด ความ ห ลาก ห ลายท างวัฒ นธรรม เป็ นพ หุ นิยม (Pluralism) แล ะอ าจ เกิด ก ระบ ว น ก ารรัก ษ าท วิลั ก ษ ณ์ ไ ว ้ไ ด้ (Dualistic Identity) อันห ม ายถึงก ารรัก ษ าลัก ษ ณ ะขอ งวัฒ น ธรรม ทั้งส อ งฝ่ าย (Dualism) คนทาให้คนแต่ละคนเป็ นพวก ทวิลักษ ณ์ (Double Ethnic Identity) เช่น บรรดาลูกครึ่งจะมีวัฒนธรรม 2 อย่างในตัวเอง ปั จ จุ บั น รั ฐ ที่ มี น โ ย บ า ย ก ลื น วั ฒ น ธ ร ร ม จ ะ ถู ก ต า ห นิ เพราะสังคมโลกต้องการให้เกิดการยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น เราย อ ม รับค น ไ ท ยมุส ลิม ยอ ม รับค น ไ ท ยเชื้อ ส ายญ วน เชื้อ ส ายจี น ยอมรับไทยภูเขา โดยไม่ต้องพยายามให้คนเหล่านี้ต้องมามีวัฒนธรรมแบบไทยๆ ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ มี ก า ร วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ ช า ติ พั น ธุ์ เกี่ ย วกั บ ผู้ห ญิ งไ ท ย ที่ ไ ด้ส ามี เป็ น ช าว ยุ โ รป แ ล้ว ย้าย ไ ป อ ยู่ ยุ โร ป เมื่อมีลูกพบว่าผู้หญิงเหล่านี้ไม่อยากให้ลูกเหมือนแม่ อยากให้ลูกเป็นเหมือนฝรั่ง พย าย าม พู ดภ าษ าฝ รั่งกับลู ก เช่น พู ดเยอ รมั น พู ดเด นม าร์ก กั บลู ก ทั้งๆที่ ตน เอ งพู ดไ ม่ชัด ภาษ าไ ท ยก็ก ลายเป็ น วัฒ น ธรรม ที่ ไ ม่มีพ ลั ง แ ต่ ผ ล ที่ เกิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ลู ก พู ด ไ ม่ ชั ด ทั้ ง ภ า ษ าฝ รั่ ง แ ล ะ ภ า ษ า ไ ท ย เด็กที่เป็นแบบนี้ก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปัญหา อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผ ล ก า ร วิ จั ย บ อ ก ว่ า ภ า ษ า ก า เ นิ ด ห รื อ ภ า ษ า แ ม่ เ ป็ น ภ า ษ า ที่ ดี ที่ สุ ด ตอนท้องแม่จะต้องพูดภาษาของตัวเองกับลูก ทาให้ลูกรับรู้ถึงความรู้สึกของแม่ ซึ่ ง แ ม่ ต้ อ ง พู ด ภ า ษ า ก า เ นิ ด นี้ กั บ ลู ก ไ ป ต ล อ ด ชี วิ ต ข ณ ะเดี ย ว กั น พ่ อ ก็ ต้อ ง พู ด ภ า ษ า ข อ ง พ่ อ กั บ ลู ก ไ ป ต ล อ ด ชี วิต ลูก ก็จะก ลายเป็ นคนสอ งภาษ าส อ งวัฒ นธรรม มีความร่ารวยทางภาษ า ทางความคิด เ ช่ น แ ม่ ค น ไ ท ย ต้ อ ง พู ด ภ า ษ า ไ ท ย กั บ ลู ก พ่อเยอรมันก็จะต้องพูดเยอรมันกับลูก เด็กก็จะรู้เรื่องทั้งวัฒนธรรมไทย