SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล
บึงทองหลาง อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี
บทที่1
บทนา
1.1ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชน
โดยเฉพ าะ การประกาศใช้รั ฐธรรมนู ญ แห่ งราช อาณ าจักรไทยพุ ทธศักราช 2550
ซึ่ ง มี ส า ร ะ ส าคั ญ เกี่ ย ว กั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง สิ ท ธิ ห น้ า ที่ เส รี ภ า พ
แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง าน ข อ ง รั ฐ
การป รั บ ป รุ งโค รง ส ร้ างก ารบ ริ ห ารงาน ขอ ง อง ค์ กรป กค รอง ส่ วน ท้ อ งถิ่ น
รวมทั้งการเร่งรัดให้มีการกระจายอานาจการบริหารงานและการจัดบริการสาธารณะของรัฐให้เป็นไปด้วยความคล่อ
งตัวมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น
การพัฒนาท้องถิ่นนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่1-10มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
มีการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ทุกภาคส่วนส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งมีภูมิคุ้มกัน
ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว รั บ กั บ ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
สะท้อนได้จากดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุขของคนไทยโดยรวมที่ไม่ได้รับผลกระทบและอยู่ระหว่างร้อยละ66-68
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่เข้มแข็งการมีงานทาความเข้มแข็งของชุมชน และความอบอุ่นของครอบครัว
(สรุ ปสาระส าคัญ แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11พ.ศ.2555-2559)
อย่างไรก็ตามการพัฒนาท้องถิ่นยังมีปัจจัยที่ยังเป็นอุปสรรคได้แก่ความสมานฉันท์ในสังคมสภาพแวดล้อม
แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ข า ด ค ว า ม ส ม ดุ ล ฯ ล ฯ
ปั จจัยดังกล่าวยังนั บเป็ น อุปสรรคสาคัญที่ต้องสร้างความปลอดภัยในชี วิตทรัพ ย์สิ น
แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ
รวมทั้งการสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรมและการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาเพื่อลดความเหลื่อม
ล้าในสังคม
ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรมีความจาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งในการบริหารงานองค์กรในสภาวการณ์ที่เปลี่ยน
แปลงในด้านต่างๆอยู่ตลอดเวลาการบริหารกับองค์กรมักจะเป็นสิ่งที่ควบคู่กันและไม่สามารถแยกอิสระต่อกันได้
ถ้ า มี ก า ร บ ริ ห า ร เ กิ ด ขึ้ น ก็ จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี อ ง ค์ ก ร
องค์กรประเภทใดก็ตามก็จาเป็ นต้องมีระบบบริหารและการจัดการเพื่ อให้องค์กรนั้ น ๆ
บรรลุ เป้ าห มายและเกิดประ สิ ทธิ ภ าพ ได้ดี ดังนั้ น ถ้าจะ พิ จารณ าถึ งการบริ ห าร
และขณะเดียวกันถ้าเอ่ยถึงองค์กรก็ต้องเข้าใจถึงการบริหารซึ่ งการบริหาร (Administration)
นั บว่ามีวิวัฒ น าการมาช้าน าน อาจกล่าวได้ว่าใน บรรดากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุ ษย์
ไ ม่ มี สิ่ ง ใ ด ส า คั ญ ก ว่ า ก า ร บ ริ ห า ร ห รื อ ก า ร จั ด ก า ร
ทั้งนี้เพราะงานด้านการบริหารหรือการจัดการนี้จะเป็นสิ่งสาคัญต่อการอานวยให้มนุษย์ทางานได้อย่างมีประสิทธิ
ภาพและเกิดผลผลิตที่ดีต่อองค์การและสังคมส่วนองค์กร(Organization)นั้นมักเกิดควบคู่กับสังคม(Society)
เป็ น การรวมกลุ่มระ ห ว่างบุ คคลใ น สั งคม มีการแบ่งง าน ห รื อภ ารกิ จใน สั งคม
มีการก าห น ดจุดมุ่งห มายและ เป้ าห มายใน การตอบสน องต่อสั งคมที่ แตกต่างกัน
และทั้งนี้ถ้าบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปเมื่อร่วมกันดาเนินกิจการต่างๆตามเป้ าหมายและภารกิจต่าง ๆ
ก็จาเป็นต้องมีระบบบริหารในการบริหารองค์กรนั้นๆให้ดาเนินลุล่วงไปได้ดีและมีผลดีต่อสังคมโดยส่วนรวม
การบริหารงานที่ต้องการเน้นให้เกิดประสิทธิภาพจะต้องมีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นหลักการใ
น ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น บ้ า น เมื อ ง แ ล ะ สั ง ค ม อ ย่ า ง มี ค ว า ม ส ง บ สุ ข
สามารถประสานประโยชน์และคลี่คลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี และสังคมมีการพัฒนาที่ยั่งยืน
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การพัฒนาประชาธิปไตยโดยที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน
และ การพั ฒ น าด้ าน ต่าง ๆ ซึ่ ง การเป ลี่ ยน แป ล ง นี้ ส่ งผ ลใ ห้ ป ระ เท ศต่าง ๆ
ทั่วโลกต้องตื่นตัวและได้ทุ่มเททรัพยากรเพื่อการปฏิรูปการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมของตนให้ทันโลก
ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและกติกาใหม่ของสังคม การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
เพื่อประโยชน์ สุ ขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิ ทธิ ภาพ
ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
องค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งของประเทศไทย(ศุภชัย
ยาวะประภาษ.2540:3)ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลพ.ศ.2537
(แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่5พ.ศ.2546)โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเพื่อกระจายอานาจการปกครอง(Decentralization)
ให้ประชาชนในท้องถิ่นระดับตาบลซึ่งเป็นเขตชนบทอันเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศได้มีโอกาสเรียนรู้
การแก้ไขปั ญหา และการตอบสน องความต้องการของตนเอง โดยการเข้าไปมีบทบาท
หรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง(PoliticalParticipation)หรือที่เรียกว่าปกครองตนเอง(LocalSelf
Government) ต า ม ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
ซึ่งการกระจายอานาจเป็นการโอนอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปให้ประชาชนในท้องถิ่นดาเนินการเองภายใต้
บ ท บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ก ฎ ห ม า ย ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ
เพื่อทาให้เกิดการจัดระเบียบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นโดยมีการจัดตั้งองค์กรเป็ นนิติบุคคล
มี อ า น า จ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ต น เ อ ง โ ด ย มี ส่ ว น ก ล า ง ค ว บ คุ ม
ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตาบลจึงเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ชนบทมากที่สุ
ดถ้าองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง (อุทัยหิรัญโต.2523:5-6)กล่าวคือ
มี เจ้ าห น้ าที่ ม าจาก ก ารเลื อ ก ตั้ ง ซึ่ ง เป็ น ตั วแท น ข อง ป ระ ช าช น ใ น ต าบ ล
มีการดาเนินงานโดยให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการกาหนดทิศทางวางแผนพัฒนาตาบล
กากับดูแลตรวจสอบการดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลการดาเนินงานย่อมสามารถแก้ไขปัญหา
ส น อ ง ต อ บ ค วาม ต้ อ ง ก าร ข อ ง ชุ มช น ใ น ร ะ ดั บ ต าบ ล ไ ด้ เป็ น อ ย่ าง ดี
อันจะส่งผลให้ประชาชนในตาบลมีความรู้สึกเชื่อมั่น และศรัทธาต่อองค์การบริหารส่วนตาบล
แ ล ะ รู้ สึ ก ว่ า มี ค ว า ม ผู ก พั น มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เสี ย ต่ อ ถิ่ น อ า ศั ย
ซึ่ งเป็ น การสร้ างพ ลเมื องที่ มีความรั บผิ ดช อบให้ แก่ประ เทศช าติ โดยส่ วน รวม
เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล
จึงมีบทบาทส าคัญต่อความส าเร็ จของการน าน โยบายการกระ จายอานาจไปปฏิ บัติ
เพ ราะ ถ้ าอ ง ค์ ก ารบ ริ ห ารส่ วน ต าบ ล ไม่ส ามารถ ป ฏิ บั ติ ง าน ต ามภ ารกิ จ
และหน้าที่ที่ได้รับการถ่ายโอนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของการถ่ายโอนภารกิจแล้ว
ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ห น ด แ ผ น
และขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ.2542ย่อมไม่เกิดผลในทางปฏิบัติ
แต่ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน(ปียะนุชเงินคล้าย.2540:245)ถึงแม้ประชาชน
จ ะ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ เรื่ อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ก า ร ป ก ค ร อ ง
แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ตั ด สิ น ปั ญ ห า
มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ น ก า ร เลื อ ก ผู้ บ ริ ห า ร ท้ อ ง ถิ่ น
การบริ ห ารงาน ขององค์ การบริ ห ารส่ วน ต าบลก็ยังไม่สามารถที่ จะแก้ไขปั ญ ห า
และสนองตอบความต้องการของประชาชนระดับตาบลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การบริหารงานหรือกิจกรรมบางส่วนที่องค์การบริหารส่วนตาบลจะต้องทาร่วมกับประชาชนในท้องถิ่น
ด้วยเหตุนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล
จึงเป็นการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้พัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการปัญหาได้ด้วยตนเอง
เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ต น เ อ ง ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ชุ ม ช น
ตลอดจนสามารถสนองตอบการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลให้บรรลุผลสาเร็จใน
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้
จนสามารถบรรลุถึงเป้ าหมายดังกล่าวได้ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนตามแนวแห่งรัฐ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง
การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจรวมทั้งการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการทางานขององค์การบริหารส่วนตาบล
จ า ก ปั ญ ห า ที่ ก ล่ า ว ม า ข้ า ง ต้ น
ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารงานขององค์การบริหารส่ว
น ต า บ ล บึ ง ท อ ง ห ล า ง อ า เภ อ ล า ลู ก ก า จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี
เพื่ อเป็ น ป ระ โยช น์ และ เป็ น แน วท างใ น การบ ริ ห ารง าน ให้ มี ประ สิ ทธิ ภ าพ
มีประสิทธิผลตรงต่อความต้องการของประชาชนต่อไป
1.2วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่ อศึ กษ าปั จจัย ด้ าน ส ภ าพ อ งค์ ก รที่ ส่ ง ผล ต่อก ระ บ วน การบ ริ ห าร
และการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี
2.เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตาบลตามปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่าง
3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหาร
และการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี
1.3 สมมติฐานการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ มีสมมติฐานการวิจัย คือ
สมมติฐานที่ 1. บุคลากรที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
ซึ่งแยกเป็นสมมติฐานย่อย คือ
สมมติฐานที่ 1.1 บุคลากรที่มีเพศต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
สมมติฐานที่ 1.2 บุคลากรที่มีอายุต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
สมมติฐานที่ 1.3 บุคลากรที่มีอายุงานต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
สมมติฐานที่ 1.4 บุคลากรที่มีรายได้ต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
สมมติฐานที่ 1.5 บุคลากรที่มีการศึกษาต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน
สมมติฐานที่ 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กร
มีความสัมพันธ์กับการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล
1.4 ขอบเขตของการวิจัย
ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการวิจัย 3ด้าน ได้แก่ขอบเขตด้านเนื้อหาขอบเขตด้านประชากร
และขอบเขตด้านระยะเวลาที่ศึกษารายละเอียดดังนี้
1.4.1ขอบเขตด้านเนื้อหา
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์กา
รบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วย2ด้านคือ
1.ด้านสภาพองค์กร
2.ด้านกระบวนการบริหาร
1.4.2ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือคณะผู้บริหารสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง
พนักงานส่วนตาบลพนักงานจ้างและผู้นาชุมชนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานีจานวน 337
คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ
ตัวแทนประชากรคํานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากสูตรการกําหนดขนาดตัวอย่างของ ยามาเน่
(Yamane, 1973) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95ดังนี้
สูตร n = N
1 +N e2
e = ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง
N = ขนาดของประชากร
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
แทนค่า n = 337
1+ (337x 0.052
)
n = 179.97 = 180 คน
ดังนั้น ขนาดของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด คือ 180คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple
Random Sampling) โ ด ย ก า ร จั บ ส ล า ก
เก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล โ ด ย ใ ช้ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่ ผู้ วิ จัย ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า
จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ตลอดจนงานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น 3
ส่วน ได้แก่
1. แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล เป็นแบบให้เลือกตอบ ได้แก่เพศ อายุ อายุงาน
และรายได้ และระดับการศึกษา
2.แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพองค์กรประยุกต์จากแนวคิดของ steer (1977)
ประกอบด้วยข้อคําถาม 4ด้าน ดังนี้
1. ด้านลักษณะองค์กร
2. ด้านลักษณะสภาพแวดล้อม
3. ด้านบุคลากร
4. ด้านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงาน
ส่วนที่3แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการประยุกต์จากแนวคิดของ Luther Gulick and
LyndallUrwick,1967 ประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับการบริหาร 7ด้าน ดังนี้
1.ด้านการวางแผน
2. ด้านการจัดองค์การ
3. ด้านการจัดทีมงาน
4. ด้านการสั่งการและอานวยการ
5. ด้านการประสานงาน
6. ด้านการรายงานผลงาน
7. ด้านการจัดทางบประมาณ
1.4.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนตุลาคม 2557 –มกราคม
2558และประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2558
1.5ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทาให้ทราบปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์การบริหารส่วนตาบล
บึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี
2.
ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์การบริหารส่ว
นตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี
3.ผลการวิจัยสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล
อันจะนาไปสู่ความพึงพอใจและจะช่วยเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็งในองค์กรได้
4. ผลการวิจัย สามารถน าไปใช้ ใน การจัดท าโปรแกรมการบริ ห ารองค์ กร
เพื่อป้องกันและลดปัญหาความขัดแย้งในการบริหารองค์กรให้สอดคล้องกับนโยบายด้านความมั่นคงแห่งรัฐ
สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตยที่ต้องการให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
อันจะส่งผลให้องค์กรเข้มแข็งในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง
1.6นิยามศัพท์เฉพาะ
1.6.1นิยามศัพท์ทั่วไป
ปัจจัยหมายถึงเหตุหนทางต้นเหตุที่มีผลต่อการบริหารงานทั้งด้านลบด้านบวก
ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วยเพศอายุ
อายุงานรายได้และระดับการศึกษา
เพศ หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเป็นเพศชายหรือเพศหญิงของผู้ตอบแบบ
สอบถาม
อายุหมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ตอบแบบสอบถามเกิด แสดงด้วยตัวเลขจานวนเต็ม
หน่วยเป็นปี นับถึงวันที่ตอบแบบสอบถาม
อายุงาน หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ตอบแบบสอบถามเริ่มบรรจุเข้าทางานใน
องค์กร แสดงด้วยตัวเลขจานวนเต็ม หน่วยเป็นปี นับถึงวันที่ตอบแบบสอบถาม
รายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม หมายถึง เงินเดือนและค่าตอบแทนที่ผู้ตอบ
แบบสอบถามได้รับจากการประกอบอาชีพ และรายได้อื่นๆ รวมกันเฉลี่ยต่อเดือน
ระดับการศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุดของผู้ตอบแบบสอบถาม แบ่งเป็น
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาหรือปวช. อนุปริญญาหรือปวส. ปริญญาตรี และอื่นๆ
องค์การบริหารส่วนตาบล หมายถึงเป็นหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ตาบลบึงทองหลาง
มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นพ.ศ.2537มีฐานะเป็นนิติบุคคล
พนักงาน หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง
ในส่วนราชการต่างๆ ได้แก่สานักงานปลัดกองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมกองการเกษตรและกองสวัสดิการสังคม
ผู้นาชุมชนหมายถึงบุคคลที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ตาบลบึงทองหลางเช่นกานันผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัครสาธารณสุขฯลฯ
1.6.1นิยามศัพท์ปฏิบัติการ
ปัจจัยด้านสภาพองค์กรหมายถึงเหตุหนทางต้นเหตุที่มีผลต่อการบริหารงานทั้งด้านลบด้านบวก
ประกอบด้วย4ด้านคือ
1.ด้านลักษณะองค์กรหมายถึงคุณลักษณะเชิงองค์ประกอบที่มีผลต่อการบริหารงานขององค์กร
โครงสร้างส่วนราชการมีรายได้เพียงพอในการบริหารจัดการมีความพร้อมในการให้บริการสาธารณะทุกด้าน
เป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรมีคุณธรรมจริยธรรม และเป็นองค์กรที่มีอิสระในการปฏิบัติงาน
2. ด้ า น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ห ม า ย ถึ ง
คุณลักษณะเชิงองค์ประกอบรอบข้างที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารการมีส่วนร่วมของประชากรในชุมชน
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารการตั้งเป้าหมายในการปฏิบัติงาน มีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทางาน
การติดต่อสื่อสารในองค์กรแบบสองทางและการติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง
3. ด้ านบุ คลากร ห มายถึง ปั จจัยส่วน บุคคลของบุคลากร ระดับการศึ กษา
ทักษะความรู้ในการปฏิบัติงานประสบการณ์การทางาน
4.ด้านนโยบายการบริหารและปฏิบัติงาน หมายถึงข้อกาหนดแนวทางการดาเนินงานของ
อ บ ต .ที่ ถื อ ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย พ .ร .บ . ร ะ เบี ย บ ก ฎ ห ม า ย
ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาและสถานการณ์ฉุกเฉินการประสานความขัดแย้งการรับรู้
และการประสานความร่วมมือของบุคลากรภายในองค์กร
ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ห ม า ย ถึ ง
กระบวนการนาเอาทรัพยากรทั้งคนและวัตถุสิ่งของมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององ
ค์การบริหารส่วนตาบล กระบวนการบริหารประกอบด้วย 7กิจกรรมได้แก่
1.ด้ าน ก ารว าง แผ น ( Planning) ห มาย ถึง ก ารค าด ก ารณ์ ล่วง ห น้ า
ก า ร จั ด ส ร ร ท รั พ ย า ก ร ภ าย ใ น อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย น อ ก
เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ น อ น า ค ต เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ ค า ด ก า ร ณ์ ไ ว้
มีการจัดทาและปรับเปลี่ยนแผนงานประจาปี แผนระยะสั้น แผนระยะยาวให้ทันต่อเหตุการณ์
2.การจัดการองค์กร (Organize) หมายถึง การกาห นดโครงสร้างงานต่างๆ
รว ม ทั้ ง อ าน าจ ห น้ าที่ ท รั พ ย าก ร แ ล ะ ง าน ต ามค วามช าน าญ เฉ พ าะ ด้า น
ร ว ม ทั้ ง ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ง า น ก า ร จั ด โ ค ร ง ส ร้ า ง ชั ด เ จ น
ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ห ลั ก ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
มีการจัดระบบงานให้สอดคล้องตามโครงสร้าง จัดโครงสร้างสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
และมีการจัดโครงสร้างการทางานที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
3.ก า ร จั ด ที ม ง า น ( Staffing) ห ม า ย ถึ ง
การคัดเลือกบุคคลให้เข้าทางานภายในหน่วยงานโดยพิจารณาจากความรู้ความสามารถที่เหมาะสมใ
ห้ ไ ด้ ป ริ ม า ณ ที่ เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ ท า ง า น ใ ห้ ง า น ส า เ ร็ จ ไ ด้
มี ร ะ บ บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก บุ ค ค ล เ ข้ า ท า ง า น ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ภ า ร กิ จ
มีการคัดสรรและคัดเลือกบุคคลตามความรู้ความสามารถ มีระบบการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
มีก า ร ส่ ง เส ริ มแ ล ะ ส นั บ ส นุ น บุ ค ล าก ร ใ ห้ มีค ว ามก้าว ห น้ า ใ น วิช าชี พ
และมีหลักการสร้างแรงจูงใจในการทางาน
4.การสั่ ง การแล ะอาน ว ย การ (Coordinating) ห มายถึง การกากับดูแล
การสั่งงานต่างๆ โดยอาศัยลักษณะความเป็นผู้นาและมืออาชีพ การมอบอานาจในการตัดสินใจ
ความมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ การติดต่อสื่อสารที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา
และมีการติดตามตรวจสอบประเมินผลอย่างรัดกุม
5.ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ( Coordinating) ห ม า ย ถึ ง
การประ สาน เชื่อมความสัมพัน ธ์ อัน ดีกับบุ คลากรทุกฝ่ าย ทุกระ ดับเข้าด้วยกัน
เพื่อกากับให้ไปสู่จุดห มายเดียวกัน บุคลากรให้ความสาคัญเรื่องการประ สาน งาน
มี ก า ร ติ ด ต่ อ ป ร ะ ส า น ง า น ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก
มีก ารอ าน วยค วาม ส ะ ด วก ใ น ก าร ติด ต่อป ร ะ ส าน ทั้ ง ภ ายใ น แ ละ ภ ายน อ ก
และมีหลักการประสานความขัดแย้งและแก้ไขปัญหาภายในองค์กรเป็นอย่างดี
6.ก า ร ร า ย ง า น ( Reporting) ห ม า ย ถึ ง
ก าร น า เส น อ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ช า
โ ด ย มี ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร แ บ บ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร
ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ร า ย ง า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล
มีก าร ฝึ ก อ บ ร มเรื่ อ ง ก า ร จัด ท า ร าย ง า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ผ ล อ ย่าง ต่อ เนื่ อ ง
รายง าน ผลได้รวดเร็วทัน ต่อ เห ตุการณ์ มีการปรับเปลี่ยน รู ปแบ บการรายงาน
และมีการนาผลการายงานและประเมินผลมาใช้ในการพัฒนาชุมชน
7.การทางบประมาณ (Budgeting) หมายถึง เครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงาน
โ ด ย ใ ช้ ว ง จ ร ง บ ป ร ะ ม าณ เพื่ อ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ กัน ไ ด้ ว่า กิ จ ก ร ร ม ต่าง ๆ
ที่ทานั้นสามารถเข้ากันได้กับแผนที่วางไว้พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบการใช้ตามแผนที่เสนอไว้ได้
ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร จั ด ท า ง บ ป ร ะ ม า ณ
จัดระบบบัญชีและการเงินสอดคล้องกับการบริหารจัดการภายใน จัดทางบประมาณอย่างรัดกุม
และมีการตรวจสอบ ประเมินผลระบบบัญชีและการเงินอย่างต่อเนื่อง

More Related Content

Similar to บทท่ี 1

บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
Saiiew
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
guest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
honan4108
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
kroobannakakok
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
Saiiew
 

Similar to บทท่ี 1 (20)

หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
20160902115458
2016090211545820160902115458
20160902115458
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 

บทท่ี 1

  • 2. บทที่1 บทนา 1.1ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชน โดยเฉพ าะ การประกาศใช้รั ฐธรรมนู ญ แห่ งราช อาณ าจักรไทยพุ ทธศักราช 2550 ซึ่ ง มี ส า ร ะ ส าคั ญ เกี่ ย ว กั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง สิ ท ธิ ห น้ า ที่ เส รี ภ า พ แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง าน ข อ ง รั ฐ การป รั บ ป รุ งโค รง ส ร้ างก ารบ ริ ห ารงาน ขอ ง อง ค์ กรป กค รอง ส่ วน ท้ อ งถิ่ น รวมทั้งการเร่งรัดให้มีการกระจายอานาจการบริหารงานและการจัดบริการสาธารณะของรัฐให้เป็นไปด้วยความคล่อ งตัวมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น การพัฒนาท้องถิ่นนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่1-10มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง มีการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ทุกภาคส่วนส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งมีภูมิคุ้มกัน ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว รั บ กั บ ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สะท้อนได้จากดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุขของคนไทยโดยรวมที่ไม่ได้รับผลกระทบและอยู่ระหว่างร้อยละ66-68 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่เข้มแข็งการมีงานทาความเข้มแข็งของชุมชน และความอบอุ่นของครอบครัว (สรุ ปสาระส าคัญ แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11พ.ศ.2555-2559) อย่างไรก็ตามการพัฒนาท้องถิ่นยังมีปัจจัยที่ยังเป็นอุปสรรคได้แก่ความสมานฉันท์ในสังคมสภาพแวดล้อม แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ข า ด ค ว า ม ส ม ดุ ล ฯ ล ฯ ปั จจัยดังกล่าวยังนั บเป็ น อุปสรรคสาคัญที่ต้องสร้างความปลอดภัยในชี วิตทรัพ ย์สิ น แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ รวมทั้งการสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรมและการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาเพื่อลดความเหลื่อม ล้าในสังคม ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรมีความจาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งในการบริหารงานองค์กรในสภาวการณ์ที่เปลี่ยน แปลงในด้านต่างๆอยู่ตลอดเวลาการบริหารกับองค์กรมักจะเป็นสิ่งที่ควบคู่กันและไม่สามารถแยกอิสระต่อกันได้ ถ้ า มี ก า ร บ ริ ห า ร เ กิ ด ขึ้ น ก็ จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี อ ง ค์ ก ร องค์กรประเภทใดก็ตามก็จาเป็ นต้องมีระบบบริหารและการจัดการเพื่ อให้องค์กรนั้ น ๆ
  • 3. บรรลุ เป้ าห มายและเกิดประ สิ ทธิ ภ าพ ได้ดี ดังนั้ น ถ้าจะ พิ จารณ าถึ งการบริ ห าร และขณะเดียวกันถ้าเอ่ยถึงองค์กรก็ต้องเข้าใจถึงการบริหารซึ่ งการบริหาร (Administration) นั บว่ามีวิวัฒ น าการมาช้าน าน อาจกล่าวได้ว่าใน บรรดากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุ ษย์ ไ ม่ มี สิ่ ง ใ ด ส า คั ญ ก ว่ า ก า ร บ ริ ห า ร ห รื อ ก า ร จั ด ก า ร ทั้งนี้เพราะงานด้านการบริหารหรือการจัดการนี้จะเป็นสิ่งสาคัญต่อการอานวยให้มนุษย์ทางานได้อย่างมีประสิทธิ ภาพและเกิดผลผลิตที่ดีต่อองค์การและสังคมส่วนองค์กร(Organization)นั้นมักเกิดควบคู่กับสังคม(Society) เป็ น การรวมกลุ่มระ ห ว่างบุ คคลใ น สั งคม มีการแบ่งง าน ห รื อภ ารกิ จใน สั งคม มีการก าห น ดจุดมุ่งห มายและ เป้ าห มายใน การตอบสน องต่อสั งคมที่ แตกต่างกัน และทั้งนี้ถ้าบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปเมื่อร่วมกันดาเนินกิจการต่างๆตามเป้ าหมายและภารกิจต่าง ๆ ก็จาเป็นต้องมีระบบบริหารในการบริหารองค์กรนั้นๆให้ดาเนินลุล่วงไปได้ดีและมีผลดีต่อสังคมโดยส่วนรวม การบริหารงานที่ต้องการเน้นให้เกิดประสิทธิภาพจะต้องมีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นหลักการใ น ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น บ้ า น เมื อ ง แ ล ะ สั ง ค ม อ ย่ า ง มี ค ว า ม ส ง บ สุ ข สามารถประสานประโยชน์และคลี่คลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี และสังคมมีการพัฒนาที่ยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การพัฒนาประชาธิปไตยโดยที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และ การพั ฒ น าด้ าน ต่าง ๆ ซึ่ ง การเป ลี่ ยน แป ล ง นี้ ส่ งผ ลใ ห้ ป ระ เท ศต่าง ๆ ทั่วโลกต้องตื่นตัวและได้ทุ่มเททรัพยากรเพื่อการปฏิรูปการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมของตนให้ทันโลก ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและกติกาใหม่ของสังคม การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์ สุ ขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิ ทธิ ภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ องค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งของประเทศไทย(ศุภชัย ยาวะประภาษ.2540:3)ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลพ.ศ.2537 (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่5พ.ศ.2546)โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเพื่อกระจายอานาจการปกครอง(Decentralization) ให้ประชาชนในท้องถิ่นระดับตาบลซึ่งเป็นเขตชนบทอันเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศได้มีโอกาสเรียนรู้ การแก้ไขปั ญหา และการตอบสน องความต้องการของตนเอง โดยการเข้าไปมีบทบาท หรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง(PoliticalParticipation)หรือที่เรียกว่าปกครองตนเอง(LocalSelf Government) ต า ม ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ซึ่งการกระจายอานาจเป็นการโอนอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปให้ประชาชนในท้องถิ่นดาเนินการเองภายใต้ บ ท บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ก ฎ ห ม า ย ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ
  • 4. เพื่อทาให้เกิดการจัดระเบียบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นโดยมีการจัดตั้งองค์กรเป็ นนิติบุคคล มี อ า น า จ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ต น เ อ ง โ ด ย มี ส่ ว น ก ล า ง ค ว บ คุ ม ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตาบลจึงเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ชนบทมากที่สุ ดถ้าองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง (อุทัยหิรัญโต.2523:5-6)กล่าวคือ มี เจ้ าห น้ าที่ ม าจาก ก ารเลื อ ก ตั้ ง ซึ่ ง เป็ น ตั วแท น ข อง ป ระ ช าช น ใ น ต าบ ล มีการดาเนินงานโดยให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการกาหนดทิศทางวางแผนพัฒนาตาบล กากับดูแลตรวจสอบการดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลการดาเนินงานย่อมสามารถแก้ไขปัญหา ส น อ ง ต อ บ ค วาม ต้ อ ง ก าร ข อ ง ชุ มช น ใ น ร ะ ดั บ ต าบ ล ไ ด้ เป็ น อ ย่ าง ดี อันจะส่งผลให้ประชาชนในตาบลมีความรู้สึกเชื่อมั่น และศรัทธาต่อองค์การบริหารส่วนตาบล แ ล ะ รู้ สึ ก ว่ า มี ค ว า ม ผู ก พั น มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เสี ย ต่ อ ถิ่ น อ า ศั ย ซึ่ งเป็ น การสร้ างพ ลเมื องที่ มีความรั บผิ ดช อบให้ แก่ประ เทศช าติ โดยส่ วน รวม เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล จึงมีบทบาทส าคัญต่อความส าเร็ จของการน าน โยบายการกระ จายอานาจไปปฏิ บัติ เพ ราะ ถ้ าอ ง ค์ ก ารบ ริ ห ารส่ วน ต าบ ล ไม่ส ามารถ ป ฏิ บั ติ ง าน ต ามภ ารกิ จ และหน้าที่ที่ได้รับการถ่ายโอนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของการถ่ายโอนภารกิจแล้ว ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ห น ด แ ผ น และขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ.2542ย่อมไม่เกิดผลในทางปฏิบัติ แต่ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน(ปียะนุชเงินคล้าย.2540:245)ถึงแม้ประชาชน จ ะ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ เรื่ อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ก า ร ป ก ค ร อ ง แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ตั ด สิ น ปั ญ ห า มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ น ก า ร เลื อ ก ผู้ บ ริ ห า ร ท้ อ ง ถิ่ น การบริ ห ารงาน ขององค์ การบริ ห ารส่ วน ต าบลก็ยังไม่สามารถที่ จะแก้ไขปั ญ ห า และสนองตอบความต้องการของประชาชนระดับตาบลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารงานหรือกิจกรรมบางส่วนที่องค์การบริหารส่วนตาบลจะต้องทาร่วมกับประชาชนในท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล จึงเป็นการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้พัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการปัญหาได้ด้วยตนเอง เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ต น เ อ ง ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ชุ ม ช น ตลอดจนสามารถสนองตอบการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลให้บรรลุผลสาเร็จใน ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ จนสามารถบรรลุถึงเป้ าหมายดังกล่าวได้ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนตามแนวแห่งรัฐ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจรวมทั้งการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการทางานขององค์การบริหารส่วนตาบล
  • 5. จ า ก ปั ญ ห า ที่ ก ล่ า ว ม า ข้ า ง ต้ น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารงานขององค์การบริหารส่ว น ต า บ ล บึ ง ท อ ง ห ล า ง อ า เภ อ ล า ลู ก ก า จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี เพื่ อเป็ น ป ระ โยช น์ และ เป็ น แน วท างใ น การบ ริ ห ารง าน ให้ มี ประ สิ ทธิ ภ าพ มีประสิทธิผลตรงต่อความต้องการของประชาชนต่อไป 1.2วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่ อศึ กษ าปั จจัย ด้ าน ส ภ าพ อ งค์ ก รที่ ส่ ง ผล ต่อก ระ บ วน การบ ริ ห าร และการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี 2.เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตาบลตามปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่าง 3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหาร และการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี 1.3 สมมติฐานการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ มีสมมติฐานการวิจัย คือ สมมติฐานที่ 1. บุคลากรที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน ซึ่งแยกเป็นสมมติฐานย่อย คือ สมมติฐานที่ 1.1 บุคลากรที่มีเพศต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน สมมติฐานที่ 1.2 บุคลากรที่มีอายุต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน สมมติฐานที่ 1.3 บุคลากรที่มีอายุงานต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน สมมติฐานที่ 1.4 บุคลากรที่มีรายได้ต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน สมมติฐานที่ 1.5 บุคลากรที่มีการศึกษาต่างกัน มีการบริหารงานต่างกัน สมมติฐานที่ 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กร มีความสัมพันธ์กับการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล 1.4 ขอบเขตของการวิจัย ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการวิจัย 3ด้าน ได้แก่ขอบเขตด้านเนื้อหาขอบเขตด้านประชากร และขอบเขตด้านระยะเวลาที่ศึกษารายละเอียดดังนี้ 1.4.1ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์กา รบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วย2ด้านคือ 1.ด้านสภาพองค์กร
  • 6. 2.ด้านกระบวนการบริหาร 1.4.2ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือคณะผู้บริหารสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง พนักงานส่วนตาบลพนักงานจ้างและผู้นาชุมชนตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานีจานวน 337 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ตัวแทนประชากรคํานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากสูตรการกําหนดขนาดตัวอย่างของ ยามาเน่ (Yamane, 1973) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95ดังนี้ สูตร n = N 1 +N e2 e = ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง N = ขนาดของประชากร n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง แทนค่า n = 337 1+ (337x 0.052 ) n = 179.97 = 180 คน ดังนั้น ขนาดของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด คือ 180คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โ ด ย ก า ร จั บ ส ล า ก เก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล โ ด ย ใ ช้ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่ ผู้ วิ จัย ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ตลอดจนงานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล เป็นแบบให้เลือกตอบ ได้แก่เพศ อายุ อายุงาน และรายได้ และระดับการศึกษา 2.แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยด้านสภาพองค์กรประยุกต์จากแนวคิดของ steer (1977) ประกอบด้วยข้อคําถาม 4ด้าน ดังนี้
  • 7. 1. ด้านลักษณะองค์กร 2. ด้านลักษณะสภาพแวดล้อม 3. ด้านบุคลากร 4. ด้านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงาน ส่วนที่3แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการประยุกต์จากแนวคิดของ Luther Gulick and LyndallUrwick,1967 ประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับการบริหาร 7ด้าน ดังนี้ 1.ด้านการวางแผน 2. ด้านการจัดองค์การ 3. ด้านการจัดทีมงาน 4. ด้านการสั่งการและอานวยการ 5. ด้านการประสานงาน 6. ด้านการรายงานผลงาน 7. ด้านการจัดทางบประมาณ 1.4.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนตุลาคม 2557 –มกราคม 2558และประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 1.5ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทาให้ทราบปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์การบริหารส่วนตาบล บึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี 2. ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพองค์กรที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารขององค์การบริหารส่ว นตาบลบึงทองหลางอาเภอลาลูกกาจังหวัดปทุมธานี 3.ผลการวิจัยสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล อันจะนาไปสู่ความพึงพอใจและจะช่วยเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็งในองค์กรได้ 4. ผลการวิจัย สามารถน าไปใช้ ใน การจัดท าโปรแกรมการบริ ห ารองค์ กร เพื่อป้องกันและลดปัญหาความขัดแย้งในการบริหารองค์กรให้สอดคล้องกับนโยบายด้านความมั่นคงแห่งรัฐ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตยที่ต้องการให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี อันจะส่งผลให้องค์กรเข้มแข็งในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง 1.6นิยามศัพท์เฉพาะ
  • 8. 1.6.1นิยามศัพท์ทั่วไป ปัจจัยหมายถึงเหตุหนทางต้นเหตุที่มีผลต่อการบริหารงานทั้งด้านลบด้านบวก ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วยเพศอายุ อายุงานรายได้และระดับการศึกษา เพศ หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเป็นเพศชายหรือเพศหญิงของผู้ตอบแบบ สอบถาม อายุหมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ตอบแบบสอบถามเกิด แสดงด้วยตัวเลขจานวนเต็ม หน่วยเป็นปี นับถึงวันที่ตอบแบบสอบถาม อายุงาน หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ตอบแบบสอบถามเริ่มบรรจุเข้าทางานใน องค์กร แสดงด้วยตัวเลขจานวนเต็ม หน่วยเป็นปี นับถึงวันที่ตอบแบบสอบถาม รายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม หมายถึง เงินเดือนและค่าตอบแทนที่ผู้ตอบ แบบสอบถามได้รับจากการประกอบอาชีพ และรายได้อื่นๆ รวมกันเฉลี่ยต่อเดือน ระดับการศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุดของผู้ตอบแบบสอบถาม แบ่งเป็น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาหรือปวช. อนุปริญญาหรือปวส. ปริญญาตรี และอื่นๆ องค์การบริหารส่วนตาบล หมายถึงเป็นหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ตาบลบึงทองหลาง มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นพ.ศ.2537มีฐานะเป็นนิติบุคคล พนักงาน หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตาบลบึงทองหลาง ในส่วนราชการต่างๆ ได้แก่สานักงานปลัดกองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมกองการเกษตรและกองสวัสดิการสังคม ผู้นาชุมชนหมายถึงบุคคลที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ตาบลบึงทองหลางเช่นกานันผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขฯลฯ 1.6.1นิยามศัพท์ปฏิบัติการ ปัจจัยด้านสภาพองค์กรหมายถึงเหตุหนทางต้นเหตุที่มีผลต่อการบริหารงานทั้งด้านลบด้านบวก ประกอบด้วย4ด้านคือ 1.ด้านลักษณะองค์กรหมายถึงคุณลักษณะเชิงองค์ประกอบที่มีผลต่อการบริหารงานขององค์กร โครงสร้างส่วนราชการมีรายได้เพียงพอในการบริหารจัดการมีความพร้อมในการให้บริการสาธารณะทุกด้าน เป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรมีคุณธรรมจริยธรรม และเป็นองค์กรที่มีอิสระในการปฏิบัติงาน 2. ด้ า น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ห ม า ย ถึ ง คุณลักษณะเชิงองค์ประกอบรอบข้างที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารการมีส่วนร่วมของประชากรในชุมชน
  • 9. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารการตั้งเป้าหมายในการปฏิบัติงาน มีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทางาน การติดต่อสื่อสารในองค์กรแบบสองทางและการติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง 3. ด้ านบุ คลากร ห มายถึง ปั จจัยส่วน บุคคลของบุคลากร ระดับการศึ กษา ทักษะความรู้ในการปฏิบัติงานประสบการณ์การทางาน 4.ด้านนโยบายการบริหารและปฏิบัติงาน หมายถึงข้อกาหนดแนวทางการดาเนินงานของ อ บ ต .ที่ ถื อ ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย พ .ร .บ . ร ะ เบี ย บ ก ฎ ห ม า ย ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาและสถานการณ์ฉุกเฉินการประสานความขัดแย้งการรับรู้ และการประสานความร่วมมือของบุคลากรภายในองค์กร ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ห ม า ย ถึ ง กระบวนการนาเอาทรัพยากรทั้งคนและวัตถุสิ่งของมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององ ค์การบริหารส่วนตาบล กระบวนการบริหารประกอบด้วย 7กิจกรรมได้แก่ 1.ด้ าน ก ารว าง แผ น ( Planning) ห มาย ถึง ก ารค าด ก ารณ์ ล่วง ห น้ า ก า ร จั ด ส ร ร ท รั พ ย า ก ร ภ าย ใ น อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย น อ ก เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ น อ น า ค ต เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ ค า ด ก า ร ณ์ ไ ว้ มีการจัดทาและปรับเปลี่ยนแผนงานประจาปี แผนระยะสั้น แผนระยะยาวให้ทันต่อเหตุการณ์ 2.การจัดการองค์กร (Organize) หมายถึง การกาห นดโครงสร้างงานต่างๆ รว ม ทั้ ง อ าน าจ ห น้ าที่ ท รั พ ย าก ร แ ล ะ ง าน ต ามค วามช าน าญ เฉ พ าะ ด้า น ร ว ม ทั้ ง ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ง า น ก า ร จั ด โ ค ร ง ส ร้ า ง ชั ด เ จ น ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ห ลั ก ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย มีการจัดระบบงานให้สอดคล้องตามโครงสร้าง จัดโครงสร้างสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และมีการจัดโครงสร้างการทางานที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 3.ก า ร จั ด ที ม ง า น ( Staffing) ห ม า ย ถึ ง การคัดเลือกบุคคลให้เข้าทางานภายในหน่วยงานโดยพิจารณาจากความรู้ความสามารถที่เหมาะสมใ ห้ ไ ด้ ป ริ ม า ณ ที่ เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ ท า ง า น ใ ห้ ง า น ส า เ ร็ จ ไ ด้ มี ร ะ บ บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก บุ ค ค ล เ ข้ า ท า ง า น ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ภ า ร กิ จ มีการคัดสรรและคัดเลือกบุคคลตามความรู้ความสามารถ มีระบบการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร มีก า ร ส่ ง เส ริ มแ ล ะ ส นั บ ส นุ น บุ ค ล าก ร ใ ห้ มีค ว ามก้าว ห น้ า ใ น วิช าชี พ และมีหลักการสร้างแรงจูงใจในการทางาน
  • 10. 4.การสั่ ง การแล ะอาน ว ย การ (Coordinating) ห มายถึง การกากับดูแล การสั่งงานต่างๆ โดยอาศัยลักษณะความเป็นผู้นาและมืออาชีพ การมอบอานาจในการตัดสินใจ ความมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ การติดต่อสื่อสารที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา และมีการติดตามตรวจสอบประเมินผลอย่างรัดกุม 5.ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ( Coordinating) ห ม า ย ถึ ง การประ สาน เชื่อมความสัมพัน ธ์ อัน ดีกับบุ คลากรทุกฝ่ าย ทุกระ ดับเข้าด้วยกัน เพื่อกากับให้ไปสู่จุดห มายเดียวกัน บุคลากรให้ความสาคัญเรื่องการประ สาน งาน มี ก า ร ติ ด ต่ อ ป ร ะ ส า น ง า น ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก มีก ารอ าน วยค วาม ส ะ ด วก ใ น ก าร ติด ต่อป ร ะ ส าน ทั้ ง ภ ายใ น แ ละ ภ ายน อ ก และมีหลักการประสานความขัดแย้งและแก้ไขปัญหาภายในองค์กรเป็นอย่างดี 6.ก า ร ร า ย ง า น ( Reporting) ห ม า ย ถึ ง ก าร น า เส น อ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ช า โ ด ย มี ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร แ บ บ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ร า ย ง า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล มีก าร ฝึ ก อ บ ร มเรื่ อ ง ก า ร จัด ท า ร าย ง า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ผ ล อ ย่าง ต่อ เนื่ อ ง รายง าน ผลได้รวดเร็วทัน ต่อ เห ตุการณ์ มีการปรับเปลี่ยน รู ปแบ บการรายงาน และมีการนาผลการายงานและประเมินผลมาใช้ในการพัฒนาชุมชน 7.การทางบประมาณ (Budgeting) หมายถึง เครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงาน โ ด ย ใ ช้ ว ง จ ร ง บ ป ร ะ ม าณ เพื่ อ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ กัน ไ ด้ ว่า กิ จ ก ร ร ม ต่าง ๆ ที่ทานั้นสามารถเข้ากันได้กับแผนที่วางไว้พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบการใช้ตามแผนที่เสนอไว้ได้ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร จั ด ท า ง บ ป ร ะ ม า ณ จัดระบบบัญชีและการเงินสอดคล้องกับการบริหารจัดการภายใน จัดทางบประมาณอย่างรัดกุม และมีการตรวจสอบ ประเมินผลระบบบัญชีและการเงินอย่างต่อเนื่อง