SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
1
รายงานวิชา GEN211 The Philosophy Of Sufficiency Economy
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จากหนังสือ ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
(A Brief History of Neoliberalism)
ผู้เขียน เดวิด ฮาร์วี
เสนอ
อ.ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
จัดทาโดย
1. นายชินดนัย ชาวไร่นาค รหัสนักศึกษา 54211257
2. นางสาวอรจิรา ชูผกา รหัสนักศึกษา 54216327
3. นายเลอชัย กิรสมุทรานนท์ รหัสนักศึกษา 54218696
4. นางสาวสุชาดา มากจิตร รหัสนักศึกษา 54214235
5. นางสาวสุภาภรณ์ อ่อนแก้ว รหัสนักศึกษา 54214237
6. นางสาวมณีรัตน์ คุรุธวงษ์ รหัสนักศึกษา 54214227
7. นางสาวอจรี คุรุกิจวาณิชย์ รหัสนักศึกษา 54214258
8. นางสาวกรกช พรหมกาเนิด รหัสนักศึกษา 56070501201
9. นางสาวชนากานต์ กีรติอิสริยะกุล รหัสนักศึกษา 56070501401
(กลุ่ม MIXER secวันจันทร์)
2
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GEN211 The Philosophy Of Sufficiency Economy
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โดยรวบรวมเนื้อความย่อของหนังสือ
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ (A Brief History of Neoliberalism) ของผู้เขียน เดวิด ฮาร์วี
นอกจากเนื้อความย่อแล้วยังรวมถึงบทความวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศร
ษฐกิจพอเพียง 3ห่วง 2เงื่อนไข
และวิเคราะห์ถึงสาเหตุของเหตุการณ์ต่างๆในกรณีศึกษาของแต่ละประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิเสรีนิยมใ
หม่ ทั้งนี้เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ให้ง่ายต่อการศึกษา
และเป็นตัวอย่างเชิงวิเคราะห์และเป็นตัวอย่างความคิดเห็นต่อบทความดังกล่าว
หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
สรุปสาระสาคัญ
บทที่1 เสรีภาพก็แค่คาคาหนึ่ง... 5
บทที่2 การสร้างฉันทานุมัติ 8
บทที่3 รัฐเสรีนิยมใหม่ 11
บทที่4 การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์ 13
บทที่5 เสรีนิยมใหม่ “แบบจีนๆ” 15
บทที่6 บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ 17
บทที่7 ความหวังของเสรีภาพ 20
ความสัมพันธ์ระหว่างเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 24
4
สรุปสาระสาคัญ
5
บทที่ 1 เสรีภาพก็แค่คาคาหนึ่ง...
การที่ความคิดหนึ่งๆจะทรงอิทธิพลได้ต้องมีเสน่ห์ดึงดูดโดยยึดโยงเข้ากับความเป็นจริง
ประทับลงในสานึกสามัญดังเช่นแนวคิดเสรีนิยมใหม่ที่ยกย่องศักดิ์ศรีของมนุษย์และเสรีภาพปัจเจกบุคคล
และมีศัตรูคือการแทรกแซงของรัฐ
อิทธิพลของแนวคิดนี้มีมากมายยกตัวอย่างประเทศสหรัฐอเมริกายังใช้คาว่าเสรีภาพเพื่อทาสงครามในอิรัก
โดยให้เหตุผลเพื่อเสรีภาพของชาวอิรัก แต่ความจริงก็ถูกปิดเผยเมื่อมีประกาศระเบียบ
4ประการของเบรเมอร์ ประธานคณะบริหารประเทศชั่วคราวของกองกาลังพันธมิตร ดังนี้
1. แปรรูปรัฐวิสาหกิจให้เป็นของเอกชนโดยสมบูรณ์
2. บริษัทต่างชาติมีสิทธิถือครองทรัพย์สินและธุรกิจในอิรักและสามารถส่งกาไรกลับประเทศได้ทั้งหมด
3. เปิดให้ทุนต่างชาติสามารถควบคุมกิจการธนาคารของอิรักโดยสมบูรณ์
4. ขจัดอุปสรรคที่กีดกันการค้าเกือบทั้งหมด
นอกจากนี้ตลาดแรงงานยังถูกควบคุมอย่างเข้มงวด สั่งห้ามการนัดหยุดงาน
กฎเหล่านี้กลายเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมายเพราะได้รับรองจากรัฐบาลอธิปไตยที่อเมริกาจัดตั้งขึ้นมาเองมีอานาจรั
บรองกฎหมายที่ออกมาเท่านั้น สะท้อนให้เห็นถึงผลประโยชน์ของผู้ถือครองกรรมสิทธิ์เอกชน ภาคธุรกิจ
ในครั้งแรกของการใช้ลัทธิเสรีนิยมใหม่เกิดขึ้นที่ประเทศชิลี โดยมีอิทธิพลจากสหรัฐอเมริการเช่นกัน
จากการรัฐประหารที่ได้รับการสนับสนุนจากชนชั้นนานักธุกิจในประเทศและบริษัทสัญชาติอเมริกัน
มีการเรียกตัวนักเศรษฐศาสตร์กลุ่ม”ชิคาโกบอยส์”มาช่วยฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจซึ่งกลุ่มชิคาโกบอย์นี้ได้รับเงิน
สนับสนุนจากสหรัฐอเมริกานั่นเอง ผลงานชิ้นแรกของกลุ่มนี้คือการเจรจากู้เงินจากกองทุนไอเอมเอฟ
และปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของชิลีให้เป็นไปตามหลักเสรีนิยมใหม่ ให้เอกชนเข้ามาซื้อกิจการของรัฐ
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติไร้การควบคุม เน้นการส่งออกแทนการนาเข้า ทาให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว
แต่ก็เป็นเพียงระยะสั้นเท่านั้น หลังละตินอมเริกาเผชิญวิกฤติหนี้สินการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจก็พังลง
จะเห็นได้ว่าสหรัฐอเมริกาคือเบื้องหลังการกระจายตัวของรัฐเสรีนิยมใหม่ทั่วโลก
แล้วทำไมต้องเป็นเสรีนิยมใหม่?
โรเบิร์ต ดาห์ลและชาร์ลส์ ลินด์โบลม นักสังคมศาสตร์กล่าวว่า
หนทางเดียวที่จะก้าวไปข้างหน้าคือการผสมผสานระหว่างรัฐ ตลาดและสถาบันประชาธิปไตย
เพื่อเป็นหลักประกันว่าจะมีแต่สันติภาพ ไม่กีดกัน ความเป็นอยู่ดีและมีเสถียรภาพในระดับสากล
6
หลังสงครามโลกครั้งที่สองเกิดรูปแบบของรัฐหลากหลายโดยมีเป้าหมายเพื่อควบคุมดูแลการฟื้นฟูพั
ฒนาประเทศ มีนโยบายร่วมกันคือเน้นการจ้างงาน
ให้สวัสดิการพลเมืองแต่รัฐควรมีอานาจแทรกแซงทาหน้าที่แทนระบบตลาด
โดยมีนโยบายการคลังที่ใช้กันแพร่หลายคือแนวทางเคนเซียน มีการจ้างงานเต็มอัตรา
ประนีประนอมทางชนชั้นระหว่างทุนกับกรรมกรเพื่อความสงบในประเทศ รูปแบบเศรษฐกิจนี้เรียกว่า
ระบบเสรีนิยมที่มีการกากับดูแลซึ่งได้สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจในระดับสูงแก่ประเทศทุนนิยมที่พึ่งพิงส
หรัฐอเมริกาที่ใช้นโยบายยอมขาดดุลการค้ากับส่วนอื่นของโลกแล้วดูดซับผลผลิตส่วนเกินมาไว้ในประเทศ
แต่นโยบายนี้ไม่สร้างความเปลียนแปลงในประเทศยากจนแต่กลับกระจายความมั่งคั่งซ้าแก่ประเทศทุนนิยม
ทาให้ในระยะหลังระบบเสรีนิยมที่มีการกากับดูแลเริ่มใช้งานไม่ได้บอกถึงวิกฤตการณ์ของการสะสมทุน
การว่างงานและสภาวะเงินเฟ้อกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ
จึงเกิดการมองหาทางเลือกอื่นๆในต้นทศวรรษษ1970ซึ่งได้คาตอบหนึ่งคือการเพิ่มบทบาทของรัฐในการคว
บคุมและดูแลเศรษฐกิจแบบรัฐสหการนิยม รวมถึงการจากัดบทบาทขบวนการแรงงานและประชาชน
จนถึงกลางทศวรรษ1970พบว่าหนทางนี้ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขของการสะสมทุน
เกิดการแตกกลุ่มเป็นฝ่ายนิยมหลักสังคมนิยมประชาธิปไตยโดยวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลางและกลุ่มที่ต้
องการปลดปล่อยบริษัทและภาคธุรกิจให้มีอิสระ
ซึ่งกลุ่มฝ่ายหลังได้ก้าวมามีอิทธิพลจากวิกฤตการณ์สะสมทุน
เกิดการว่างงานและเงินเฟ้อก่อให้เกิดกระแสความไม่พอใจทั้งในขบวนการแรงงานและสังคมเมือง
และเกิดการคุกคามทางการเมืองให้รัฐค่อยๆซื้อหุ้นของกิจการเอกชน
จากัดอานาจชนชั้นบนและกรรมกรได้ส่วนแบ่งก้อนเค้กทางเศรษฐกิจมากขึ้น
ทาให้ชนชั้นบนออกมาปกป้องผลประโยชน์ของตนเกิดเป็นกลุ่มคนฝ่ายหลัง
จึงกล่าวได้ว่าการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่คือโครงการฟื้นฟูอานาจชนชั้นมาตั้งแต่แรก หรือตีความได้
2ปรระการคือ 1.
มันคือโครงการยูโทเปียที่พยายาเปลี่ยนระบบทุนนิยมระหว่างประเทศให้เป็นไปตามต้นแบบทางทฤษฎี 2.
คือโครงการทางการเมืองมุ่งสถาปนาเงื่อนไขของการสะสมทุนและการฟื้นฟูอานาจของชนชั้นนาทางเศรษฐกิ
จขึ้นมาใหม่ ดังนั้นมันเป็นแค่การอ้างเหตุผลเพื่อช่วยให้บรรลุเป้าหมาย
และเมื่อไหร่ก็ตามที่หลักการเสรีนิยมใหม่ขัดกันกับเป้าหมายที่ต้องการแล้ว
เมื่อนั้นหลักการดังกล่าวจะถูกเปลี่ยนหรือยกเลิกหรือบิดเบือนไป
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประสบควำมสำเร็จรุ่งเรืองมำกแค่ไหน?
นับตั้งแต่ขบวนการนี้ก้าวเข้าสู่ศูนย์กลางในช่วงเวลาวิกฤตทศวรรษ1970
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก็ได้รับการสนับสนุนทั้งเงินและสถาบันมันสมองต่างๆทาให้มีอิทธิพลมากขึ้นในแวดวงวิชา
การ เผชิญหน้ากับสหภาพแรงงาน โจมตีความสมานฉันท์ทางสังคมที่จะไปกีดขวางการแข่งขัน
7
สร้างบรรยากาศทางธุรกิจที่ดีเพื่อดึงดูดการลงทุนต่างชาติ จนกระทั่งในปี1981 เกิดภาวะถดถอย
โรงงานอุตสาหกรรมปิดตัวลง กลุ่มประเทศลูกหนี้ล้มละลาย
จากการเน้นความสาคัญของความรับผิดชอบทางการคลังในการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ
ทาให้ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่2
กองทุนการเงินระหว่างประเทศต้องควบคุมการคลังและเข้มงวดกับการใช้จ่ายในแต่ประเทศที่ขอความช่วยเ
หลือ จุดนี้ทาให้การเปลี่ยนไปเป็นเสรีนิยมใหม่นั้นมีผลต่อนโยบายของรัฐด้วย ดังเช่นยุคเรแกน
ที่ใช้นโยบายลดกฎระเบียบการค้าต่างๆ ลดภาษีการลงทุน เปิดพื้นที่ให้บริษัทเข้ามาหาผลประโยชน์
ลิดรอนอุตสาหกรรมในประเทศทาให้เอกชนและทุนการเงินย้ายฐานไปต่างประเทศ
นาไปสู่การเหลื่อมล้าทางสังคมเพื่อกู้คืนอานาจทางเศรษฐกิจชนชั้นสูง
จารีตจักรวรรดินิยมของอเมริกาจะใช้การยืมมือของตัวแทนในท้องถิ่นของประเทศต่างๆโดยให้การส
นับสนุนเศรษฐกิจและการทหารเพื่อให้เปิดประเทศในการเข้ามาของทุนและการสนับสนุนของอเมริกา
เป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการประชาชนและสังคมนิยมประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์แต่จับมือกับเผด็จการทหา
ร ลักษณะนี้เกิดขึ้นในหลายประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่2
โดยการลงทุนข้ามชาติของสหรัฐฯแท้จริงแล้วเป็นการขูดรีดทรัพยากรดิบเช่น น้ามัน แร่ธาตุ วัตถุดิบ
อีกทั้งกลุ่มธนาคารเพื่อการลงทุนในนิวยอร์กยังเข้ามามีบทบาทปล่อยเงินกู้แก่รัฐต่างประเทศด้วยอัตราดอกเ
บี้ยที่ได้เปรียบจากสกุลเงินโดยไม่ได้คาดคิดถึงความเสี่ยง ทาให้เม็กซิโกต้องพักชาระหนี้
ขอต่ออายุเงินกู้ภายใต้เงื่อนไขว่าเมกซิโกต้องปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจตามเสรีนิยมใหม่
ปรากฎการณ์นี้จึงเป็นเหมือนโครงการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาสามารถขู
ดรีดผลตอบแทนจากส่วนต่างๆของโลกได้อย่างมหาศาล
มีหลำยครั้งที่บทควำมนี้กล่ำวว่ำ เสรีนิยมใหม่แท้จริงก็คือกำรฟื้ นฟูอำนำจทำงชนชั้น
แล้วอำนำจทำงชนชั้นแท้จริงคืออะไร แล้วส่งผลอย่ำงไร?
จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่าการแผ่ลัทธิเสรีนิยมใหม่มีอิทธิพลเหนือกลไกอานาจรัฐ
เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้วอานาจสู่โลกของทุนการเงิน
แกนกลางของอานาจก็คือกลุ่มผู้บริหารซีอีโอรวมถึงผู้นากลไกทางการเงิน กฎหมายและเทคนิคต่างๆ
ใช้อานาจเศรษฐกิจสร้างอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจทางการเมือง
และใช้สายสัมพันธ์ข้ามชาติในการขยายอานาจและลัทธิเสรีนิยมใหม่
เรำยังมีควำมหวังกับคำว่ำเสรีภำพที่ฉำบหน้ำควำมจริงของเสรีนิยมใหม่ได้มำกเพียงใด?
โปลานยีเคยให้ความหมายของเสรีภาพว่ามีทั้งดีและเลว
ประเภทเลวคือใช้เสรีภาพขูดรีดหาผลประโยชน์จากความล่มจมของส่วนรวม
8
แต่ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีภาพนั้นกลับเจริญเติบโต
ทาให้เรารู้ว่ามีเสรีภาพอีกประเภทหนึ่งคือเสรีภาพมโนธรรมที่ความจริงมันเป็นตัวฟื้นฟูอานาจชนชั้นบริษัทใ
หญ่ ครอบงาสื่อ การเมือง เราทุกคนก้มหัวให้สิ่งเหล่านี้อย่างไม่รู้ตัว ไม่ได้มีเสรีภาพแท้จริง
มันเกิดขึ้นได้อย่างไร??
9
บทที่ 2 การสร้างฉันทานุมัติ
แม้ว่าการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ประสบความสาเร็จจากกองทัพรัฐประหารที่ได้รับการสนับสนุนจาก
ชนชั้นสูงดั้งเดิม เพื่อทาลายความสมานฉันท์ขบวนการแรงงานและสังคม
แต่ยังจาเป็นต้องสร้างฉันทานุมัติทางการเมือง หรือที่กรัมชีเรียกว่า ”สานึกสามัญ”
หรือสานึกที่ถือร่วมกันจากชุดความเชื่อ ค่านิยม ที่ถูกบ่มเพาะและโฆษณาชวนเชื่อฝังหัวจากอานาจนา
สานึกสามัญจึงมักคลุมเครืออาพรางปัญหาทางการเมือง
และใช้คาว่า”เสรีภาพ”ปลุกระดมให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นความชอบธรรมที่ตนเองพึงได้รับ
โดยเผยแพร่อุดมการณ์นี้ผ่านสื่อ และสถาบันต่างๆ รวมถึงเปลี่ยนความคิดปัญญาชน
เพื่อให้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ได้รับการสนับสนุนจากการให้เสรีภาพเป็นหลักประกันนาไปสู่การครอบงาอานาจรัฐ
เมื่อกลไกรัฐเปลี่ยนเป็นระบอบเสรีนิยมใหม่แล้ว
รัฐก็สามารถใช้อานาจต่างๆในการรักษาฉันทานุมัติซึ่งจาเป็นต่อการดารงอานาจไว้ไม่ว่าจะเป็นกาลังกองทัพ
และการเงินเพื่อไม่ให้ฉันทานุมัติล้มเหลวดังที่ปรากฏการต่อต้านในบางประเทศ
ดังนั้นสิ่งที่สาคัญคือนาลัทธิเสรีนิยมใหม่แทรกซึมไปในความเข้าใจและสานึกสามัญของประชาชนว่า
ลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็นวิถีทางที่จาเป็นและเป็นวิถีตามธรรมชาติในระเบียบสังคม
อย่างไรก็ตามคุณค่าของเสรีภาพปัจเจกบุคคลกับความยุติธรรมทางสังคมไม่จาเป็นต้องสอดคล้องกัน
โดยการแสวงหาความยุติธรรมทางสังคมต้องต่อสู้เพื่อส่วนรวมมากกว่าความต้องการของปัจเจกบุคคล
ทาให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างลัทธิอิสรนิยมที่มุ่งสนใจแต่ตนเอง
แยกขาดกับกลุ่มพลังทางสังคมที่แสวงหาความยุติธรรมทางสังคมด้วยการพยายามได้มาซึ่งอานาจรัฐ
การแบ่งแยกนี้ยิ่งทาให้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ฉกฉวยใช้เป็นประโยชน์และซ้าเติมให้รุนแรงขึ้นในยุค68
แต่ในช่วงปี70 ทั้งสองฝ่ายสามารถสร้างเป้าหมายร่วมกันเพื่อเผชิญหน้าศัตรูร่วมคือรัฐจอมก้าวก่าย
ส่วนบริษัทและธุรกิจในระบบทุนนิยมฉวยโอกาสนี้ฟื้นฟูสถานะตนเองขึ้นใหม่โดยใช้อุดมคติของเสรีภาพมาแ
ทรกแซงรัฐ พร้อมกับเน้นอิสรภาพของผู้บริโภค และส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงวัฒนธรรมในวงกว้างด้วย
จึงถือเป็นการใช้อุดมการณ์ของลัทธิเสรีนิยมใหม่บนทางวัฒนธรรม ลัทธิโพสต์โมเดิร์น
ทาให้ทั้งบริษัทและชนชั้นนาสามารถบรรลุความสาเร็จได้อย่างแนบเนียนในปี 80
ยกตัวอย่างในกรณีของสหรัฐอเมริกา จากบันทึกลับของ ลูว์อิว เพาเวลล์ที่เขียนถึงหอการค้าสหรัฐฯในปี71
ใจความว่า ถึงเวลาแล้วที่ภูมิปัญญา
ความคิดสร้างสรรค์และทรัพยากรของภาคธุรกิจจะต้องรวมพลังโจมตีผู้คิดร้ายมุ่งทาลาย
ทังนี้เพื่อเปลี่ยนความคิดของประชาชนทาให้ในปี72
หอการค้าสหรัฐฯได้ขยายฐานสมาชิกจากประมาณ60,000เป็น250,000
และอีกสิบปีถัดมาหอการค้าได้ร่วมมือกับสมาคมผู้ผลิตแห่งชาติเพื่อล้อบบี้สภาคองเกรสและทุ่มทุนให้องค์กร
โต๊ะกลมนักธุรกิจที่จัดตั้งจากกลุ่มซีอีโอเพื่อแสวงหาอานาจทางการเมืองให้แก่บริษัท
10
และกลายเป็นแกนกลางในการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจ
บริษัทต้องทุ่มเงินราวครึ่งหนึ่งของจีเอนพีสหรัฐฯในปี70 และอีก900ล้านดอลลาร์ต่อปีเพื่อเข้าสู่ภาคการเมือง
และจัดตั้งมูลนิธิ
ศูนย์การศึกษาและสถาบันต่างๆเพื่อช่วยโจมตีฝ่ายตรงข้ามเมื่อจาเป็นและเพื่อสนับสนุนนโยบายเสรีใหม่
โดยเพาเวลล์ให้ความสนใจมหาวิทยาลัยเป็นพิเศษเพราะที่นี่คือศูนย์กลางการต่อต้านบริษัทและรัฐเนื่องจาก
นักศึกษามักมาจากครอบครัวร่ารวยหรือชนชั้นกลางที่ยกย่องเสรีภาพปัจเจกบุคคลมานาน
ดังนั้นเพาเวลล์สามารถใช้ภาคธุรกิจและพลังนักศึกษากล่อมเกลารัฐอย่างรอบคอบ
และเด็ดขาดในยามจาเป็น ตัวอย่างการที่สถาบันการเงินยึดอานาจจากรัฐบาล
คือเมืองนิวยอร์กที่เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน จากการลดการผลิตของภาคอุตสาหกรรมนานหลายปี
ทาให้ใจกลางเมืองเกิดความยากจน เกิดความไม่สงบหรือวิกฤตการณ์ของเมือง
หนทางแก้ไขคือขยายการจ้างงานภาครัฐและใช้งบประมาณจากรัฐกลาง
แต่เมื่อช่วงต้นปี1970เกิดช่องว่างระหว่างรายรับรายจ่ายมากขึ้นเกิดจากการกู้ยืมสุรุ่ยสุร่ายหลายปี
รัฐบาลกลางจึงลดความช่วยเหลือ สถาบันการเงินต่างๆจึงแทรกเข้ามาช่วยเหลือถมช่องว่างให้
แต่ในปี1975กลุ่มนายธนาคารเพื่อการลงทุน
ไม่ยอมยืดระยะเวลาชาระหนี้และกดดันจนนิวยอร์กล้มละลายเมื่อรัฐล้มจึงเกิดสถาบันการเงินใหม่มาบริหารง
บประมาณของเมือง
นารายได้จากภาษีไปจ่ายให้ผู้ถือพันธบัตรแลวนาเงินส่วนที่เหลือไปบริการสังคมเท่าที่สาคัญ แช่แข็งค่าจ้าง
ลดบริการภาคสังคม เก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ
และให้สหภาพแรงงานเทศบาลนากองบาเหน็จบานาญไปลงทุนพันธบัตรของเมือง
ทั้งหมดนี้คือการชิงชัยชนะขั้นเด็ดขาดในการทาสงครามครั้งใหม่โดยมีวัตถุประสงค์คือแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เกิ
ดขึ้นกับนิวยอร์กสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน
แต่ระหว่างวิกฤตการณ์นายธนาคารฉวยโอกาสปรับโครงสร้างของเมืองให้มีบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุร
กิจจากทรัยากรของรัฐโดยเฉพาะระบบโทรคมนาคม
พร้อมกับให้ทุนอุดหนุนและมาตรการจูงใจด้านภาษีสาหรับการลงทุน
ขายภาพพจนน์เมืองว่าเป็นศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม ท่องเที่ยว เสรีภาพของศิลปะและอัตลักษณ์บุคคล
นาไปสู่การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยใหม่ด้านวัฒนธรรม
เทศบาลต้องแข่งขันเพื่อดึงดูดเงินลงทุนอาศัยความเป็นหุ้นส่วนของภาครัฐกับเอกชนโดยที่ความเป็นตัวแทน
จากประชาธิปไตยนั้นลดน้อยลงไป
ดังนั้นการบริหารจัดการวิกฤตการเงินของนิวยอร์กเป็นใบเบิกทางให้แนวทางเสรีนิยมใหม่
ทาให้เกิดหลักการว่าเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างความเข้มแข็งของสถาบันการเงินกับผลตอบแทนของผู้ถือ
พันธบัตรฝ่ายหนึ่ง กับสวัสดิภาพของพลเมืองฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายแรกจะได้สิทธิมากกว่า
และบทบาทของรัฐคือการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุรกิจไม่ใช่ตอบสนองความต้องการสวัสดิภาพของประ
11
ชาชน
กล่าวได้ว่ากลุ่มธุรกิจหาทางยึดกุมพรรคการเมืองเพื่อให้ผลประโยชน์แก่ตนและเป็นการสร้างพันธมิตรที่วาง
พื้นฐานบนชนชั้นโดยมากมักลงทุนกับรีพับลิกัน
ซึ่งเป็นฐานเสียงชนชั้นการปกครองมากกว่าเดโมแครตที่มีอุดมการณ์ต้านทุนนิยมและผูกพันคนกลุ่มต่างๆใน
สังคม ทั้งผิวดา แรงงาน
ผู้หญิงฯลฯดังนั้นจึงต้องพึ่งเงินทุนบริจาคจากกลุ่มผลประโยชน์ทาให้ขัดแย้งในตัวเอง
อย่างไรก็ตามรีพับลิกันที่มีเงินทุนมากยังต้องการฐานเสียงเพิ่มโดยเป็นพันธมิตรกับชาวคริสต์ฝ่ายขวาอาศัย
วิธีการเชิงบวกของศาสนาและลัทธิชาตินิยมทางวัฒนธรรมนอกจากนี้เกิดกลุ่มชนชั้นนาเสรีนิยมหรือสายอนุรั
กษ์นิยมใหม่ซึ่งสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่แต่ต่อต้านทุกสิ่งที่รัฐแทรกแซง
เมื่อมารวมกันทาให้เบี่ยงเบนความสนใจไม่ให้มองว่าทุนนิยมและอานาจบริษัทคือต้นตอปัญหาแต่เป็นลัทธิพ
าณิชย์นิยมที่ไม่ควบคุมและปัจเจกชนนิยมต่างหาก ท้ายสุดจึงกาจัดฝ่ายเสรินิยมจากรีพับลิกันในปี90
ทาให้ชักจูงคะแนนเสียงที่ยึดเหตุผลจากวัฒนธรรมชาตินิยมศาสนา
แต่ทิศทางจริงคือทาร้ายผลประโยชน์ทางวัตถุเศรษฐกิจ ส่วนเดโมแครตที่ขัดแย้งทางนโยบายในตัวเอง
ภายหลังต้องโอนอ่อนกระตุ้นนโยบายเสรีนิยมใหม่เพื่อประโยชน์ทางการเงิน
ซึ่งในสมัยคลินตันเกิดปัญหาขาดดุลงบประมาณคล้ายนิวยอร์ก
ทาให้รีพับลิกันปั่นฐานมวลชนให้เลือกสิ่งที่ขัดประโยชน์ของตัวเองเพื่อวัฒนธรรม ศาสนา
ทาให้เรแกนชนะการเลือกตั้งปี80ด้วยนโยบายลดขอบเขตกฎหมายการกากับดูแลภาคอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม
สถานประกอบการผ่อนคลายกฎและแต่งตั้งบุคลากรต่อต้านการกากับดูแลและเข้าข้างภาคอุตสาหกรรมเข้าไ
ปมีตาแหน่งในรัฐเพื่อกระตุ้นลัทธิเสรีนิยมใหม่แต่ใช้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์โจมตีควบคุมสิทธิของแรง
งาน และแก้ไขกฎหมายลดภาษีแก่การลงทุนให้หลายบริษัทหลบเลี่ยง
รวมถึงฟื้นฟูชนชั้นด้วยลดอัตราภาษีบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สูงสุด
ซ้าร้ายสมบัติสาธารณะถูกโอนถ่ายให้แก่ภาคเอกชนโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเช่นบริษัทยารับสิทธิบัตรฟรีจากงานวิ
จัยร่วม
โดยการควบคุมแรงงานใช้ทั้งไม้แข็งเช่นย้ายฐานการผลิตไปที่ไม่มีสหภาพหรือลดการผลิตภาคอุตสาหกรรม
และไม้อ่อนจากการโฆษณาชวนเชื่อว่าเสรีภาพและอิสระเป็นประโยชน์ทั้งทุนและแรงงานเหมือนใส่เสรีนิยมใ
หม่ลงในสานึกสามัญให้แรงงานมีราคาขั้นต่าสุด ไม่ทางานราคาน้อยกว่านี้ทาให้เกิดการว่างงาน
ซึ่งคลินตันใช้เป็นเหตุผลในการปฏิรูปสวัสดิการที่รู้กันตามแนวเสรีนิยมใหม่เพื่อลดปัญหาการว่างงาน
นอกจากการควบคุมแรงงานแล้วการสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่ยังทาได้โดยใช้แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ด้วย
เหตุผลที่ว่าการแทรกแซงของรัฐบาลมักสร้างปัญหาและนโยบายการเงินที่มีเสถียรภาพคือลดหย่อนภาษีมาก
ๆให้กลุ่มรายได้สูงเพื่อการลงทุน
12
โดยมีสื่อของภาคธุรกิจและสถาบันการศึกษาสนับสนุนแนวคิดว่าลัทธิเสรีนิยมมใหม่เป็นหนทางเดียวในการแ
ก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ
ตัวอย่างการสร้างฉันทามติในประเทศอังกฤษที่กลุ่มอานาจทางธุรกิจไม่ค่อยสนับสนุนการเมือง
จึงใช้อิทธิพลเครือข่ายชนชั้นที่มีเส้นสายถึงรัฐบาล ศาล วงวิชาการ
กลุ่มผู้นาอุตสาหกรรมและมีพรรคแรงงานที่เป็นมิตรกับสหภาพแรงงานทาให้อังกฤษพัฒนาไปในทางรัฐสวัส
ดิการเนื่องจากภาคเศรษฐกิจที่เป็นหัวใจทั้งหลายเป็นกิจการของชาติ
แต่ในยุค60ที่ซิตีออฟลอนดอนเป็นศูนย์กลางการเงินระหว่างประเทศได้สร้างความขัดแย้งกับความต้องการทุ
นการผลิต ขัดการขยายตลาดภายในจากการคุมสินเชื่อ
และตั้งใจที่จะแข็งค่าเงินปอนด์ส่งผลให้ทาลายสถานะการส่งออก เกิดวิกฤตของดุลการชาระเงินในปี70
ทาให้ตอกย้าในใจประชาชนว่ารัฐราชการเทอะทะ และมองรัฐสวัสดิการเป็นรัฐสหการนิยมที่เสื่อมทราม
ส่งผลให้เกิดฝ่ายค้านที่ได้รับการสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่จากมหาวิทยาลัย สถาบันกิจการเศรษฐกิจ
สื่อมวลชน เกิดการเสียดสีสังคมโครงสร้างเครือข่ายชนชั้นดั้งเดิม
ขบวนการนักศึกษาแสดงออกถึงประเด็นลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมและเสรีภาพ
จะเห็นได้ว่าการสร้างฉันทานุมัติต่อการเปลี่ยนไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่สาเร็จจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน
โดยลักษณะร่วมกันของสหรัฐฯและอังกฤษคือประเด็นแรงงานสัมพันธ์และการต่อสู้กับเงินเฟ้อ
ซึ่งรัฐบาลแทตเชอร์ของอังกฤษแก้ปัญหานี้โดยทาลายอานาจแรงงานจากการรัดเข็มขัดและเอื้อประโยชน์แก่
นายทุนรวมถึงเปิดประเทศให้ทุนต่างชาติเข้ามาแข่งลงทุนในปี80
ทาลายทั้งอุตสาหกรรมดั้งเดิมและสหภาพแรงงาน จัดการปัญหาเงินเฟ้อได้ทั้งหมดและ
ปลุกปั้นชนชั้นกลางให้มีฉันทานุมัติต่อนโยบายเสรีนิยมใหม่ที่ชอบการมีกรรมสิทธิ์ครอบครองบ้าน
และการแปรรูปภาคเศรษฐกิจของรัฐแล้วขายแก่ทุนเอกชน
จากกรณีศึกษาจะเห็นได้ว่าสภาพการณ์ภายในประเทศและผลพวงที่ตามมาจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่
ลัทธิเสรีนิยมใหม่มีความแตกต่างกันไป
แต่สิ่งที่เหมือนคือลัทธินี้ได้หยั่งรากเป็นจารีตที่ต้องการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่
จึงเกิดคาถามว่าแล้วรัฐที่เป็นเสรีนิยมใหม่หลังฉันทานุมัติแล้ว จะเป็นอย่างไร?
บทที่3 รัฐเสรีนิยมใหม่
รัฐเสรีนิยมใหม่ตามทฤษฎี
ตามทฤษฎีแล้วรัฐเสรีนิยมควรเข้าข้างสิทธิในกรรมสิทธิ์เอกชนที่เข้มแข็ง
หลักนิติธรรมและสถาบันต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการตลาดที่ทางานเป็นอิสระและการค้าเสรี
นักเสรีนิยมใหม่มีความพยายามในการหาทางแปรรูปสินทรัพย์ต่างๆ
13
การที่ประเทศกาลังพัฒนาจานวนมากไม่มีกรรมสิทธิ์เอกชนที่ชัดเจน
จึงถือเป็นอุปสรรคเชิงสถาบันที่สาคัญที่สุด ซึ่งขัดขวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการปรับปรุงคุณภาพชีวิต
การสร้างกรรมสิทธิ์ในที่ดินและมอบโอนกรรมสิทธิ์แก่เอกชนถือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันไม่ให้เกิดปราก
ฏการณ์ที่เรียกว่า "โศกนาฏกรรมของสมบัติส่วนรวม"
ความตึงเครียดและความขัดแย้ง
ประการแรก มีปัญหาในการตีความอานาจผูกขาด
การแข่งขันมักจะลงเอยด้วยการผูกขาดโดยผู้เล่นรายเดียว
เนื่องจากบริษัทที่เข้มแข็งกว่าย่อมเบียดบริษัทที่อ่อนแอกว่าออกไป นักทฤษฎีเสรีนิยมใหม่ส่วนใหญ่เห็นว่า
เรื่องนี้ไม่ใช่ปัญหาโดยบอกว่าการผูกขาดน่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด
ตราบใดที่ไม่มีอุปสรรคสาคัญมาขัดขวางการเข้ามาของผู่แข่งขันรายอื่นๆ(ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่เกิดขึ้นจริงได้ยาก
)
ประการที่สองคือ ปัญหาความล้มเหลวของตลาด
ปัญหานี้เกิดขึ้นเมื่อปัจเจกบุคคลและบริษัทหลีกเลี่ยงการจ่ายต้นทุนทั้งที่ควรจ่าย
โดยโยนความรับผิดชอบของตนออกไปนอกตลาด ตัวอย่างเช่นปัญหามลพิษ
ทั้งที่ปัจเจกบุคคลและบริษัทต่างก็หลีกเลี่ยงต้นทุนด้วยการทิ้งขยะพิษลงไปในสิ่งแวดล้อมโดยไม่ต้องเสียค่าใ
ช้จ่าย ผลที่ตามมาก็คือ ระบบนิเวศถูกทาลาย ถึงแม้นักเสรีนิยมใหม่ยอมรับปัญหาเหล่านี้
บ้างก็ยอมรัยว่ารัฐควรเข้ามาแทรกแซงบางกรณีอย่างมีขีดจากัด บ้างก็อ้างว่ารัฐไม่ควรทาอะไรเลย
เพราะการเยียวยาน่าจะเลวร้ายยิ่งกว่าโรค กระนั้นก็ตามนักเสรีนิยมใหม่เกือบทั้งหมดเห็นว่า
หากต้องมีการแทรกแซง ก็ควรทาผ่านกลไกลตลาด โดยอาศัยการเก็บภาษีหรือแรงจูงใจด้วยภาษี
ประการสุดท้าย ปัญหาทางการเมืองพื้นฐานบางอย่างภายใต้ลัทธิเสรีนิยมใหม่
มีความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมที่มุ่งการครอบครองทางวัตถุที่เต็มไปด้วยความแปลกแย
กกับความปรารถนาที่จะมีชีวิตส่วนรวมที่มีความหมาย ในขณะที่ยืนยันว่าปัจเจกบุคคลมีเสรีภาพในการเลือก
แต่ปัจเจกบุคคลไม่สามารถเลือกที่จะสร้างสถาบันส่วนรวมที่เข้มแข็ง
ปัจเจกบุคคลไม่สามารถที่จะรวมตัวกันสร้างพรรคการเมืองที่มีเป้าหมายบังคับรัฐให้แทรกเเซงหรือล้มเลิกตล
าด เพื่อหาทางป้องกันไม่ให้เกิดสิ่งที่นักเสรีนิยมใหม่หวาดกลัวที่สุด คือ ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์
สังคมนิยม ประชานิยมรวมศูนย์อานาจ
นักเสรีนิยมใหม่จึงต้องควบคุมการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยให้อยู่มนขอบจากัด
โดยหันไปพึ่งสถาบันที่ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยแทนและขาดความโปร่งใสให้ตัดสินใจเชิงนโยบายที่สาคั
ญแทน
14
รัฐเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติ
ความพยายามที่จะฟื้นฟูอานาจของชนชั้นมักสร้างความบิดเบือนขึ้นมา
บางกรณีถึงขั้นพลิกกลับทฤษฎีเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติเลย ความบิดเบียนนี้เกิดขึ้นสองส่วน คือ
เกิดจากความจาเป็นในการสร้าง "ภาคธุรกิจที่ดีหรือบรรยากาศในการลงทุน" ส่วนที่สองคือ
รัฐเสรีนิยมใหม่มักเข้าข้างความมั่นคงของระบบการเงินและสภาพคล่องของสถาบันทางการเงินมกกว่าความ
อยู่ดีกินดีของประชากรหรือคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ลัทธิเสรีนิยมใหม่
ไม่ได้ทาให้รัฐหรือสถาบันใดสถาบันหนึ่งของรัฐหมดความหมาย
อย่างไรก็ตามมีการปรับโฉมหน้าสถาบันและวิธีปฏิบัติของรัฐอย่างลึกซึ้ง
โดยเฉพาะส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับความสมดุลระหว่างการข่มขู่บังคับการยินยอมพร้อมใจ
ระหว่างอานาจของทุนกับขบวนการประชาชน
ระหว่างอานาจบริหารและอานาจตุลาการฝ่ายหนึ่งกับอานาจของระบอบประชาธิปไตยตัวแทนอีกฝ่ายหนึ่ง
แต่ไม่มีอะไรดาเนินไปได้ด้วยดีในรัฐเสรีนิยมใหม่ด้วยเหตุนี้
รัฐเสรีนิยมใหม่จึงดูเหมือนรูปแบบทางการเมืองที่ไม่มั่นคง หัวใจของปัญหาอยู่ที่ช่องว่างที่กว้างขึ้นเรื่อยๆ
ระหว่างเป้าหมายที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประกาศต่อสาธารณะ คือ
ความอยู่ดีกินดีของทุกคนกับผลลัพธ์จริงๆที่เกิดขึ้น นั่นก็คือ การฟื้นฟูอานาจของชนชั้น
แต่นอกเหนือจากนี้ยังมีความขัดแย้งที่จาเพาะเจาะจงอีกชุดหนึ่ง ได้แก่
1. รัฐเสรีนิยมใหม่ควรอยู่เฉยๆ และทาหน้าที่เพียงจัดเวทีให้กลไกลการตลาด
แต่ในอีกด้านหนึ่งรัฐกลับถูกคาดหวังให้มีบทบาทในการสร้างบรรยากาศทางธุรกิจที่ดีและประพฤติตัวเป็นอง
ค์การเมืองที่แข่งขันได้ในระดับโลก รัฐต้องทางานในฐานะบรรษัทรวมหมู่
2.ลักษณะแบบอานาจนิยมของกลไกตลาดเข้ากันไม่ค่อยได้ง่ายนักกับอุดมคติเสนีภาพของปัจเจกบุคคล
ยิ่งรัฐเสนีนิยมใหม่หันเข้าหาอานาจนิยมของตลาดมากเท่าไรก็ยิ่งยากที่จะรักษาความชอบธรรมและยิ่งเปิดเผ
ยให้เห็นธาตุแท้ที่ต่อต้านประชาธิปไตยออกมา
ความขัดแย้งนี้คู่ขนานมากับความไม่สมมาตรที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างบรรษัทกับ
ปัจเจกบุคคล
3. การรักษาความมั่นคงของระบบการเงินเป็นเรื่องที่สาคัญมาก
แต่ลัทธิปัจเจกบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานทางด้านการเงิน
ก่อให้เกิดการเก็งกาไรที่คาดเดาไม่ได้
4. การแข่งขันกลายเป็นคุณธรรมที่ได้รับการยกย่องเป็นอันดับแรก แต่ความจริงกลับตรงกันข้าม
อานาจผูกขาดโดยผู้ผลิตหรือผู้ขาย
15
อานาจผูกขาดตลาดและอานาจข้ามชาติของบรรษัทข้ามชาติเพียงไม่กี่บรรษัท
กลับมีความเข้มแข็งและรวมศูนย์มากขึ้นเรื่อยๆ
5. ในระดับประชาชน แรงขับขันสู่ตลาดเสรีและการทาให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า
อาจสร้างความเสียหาและก่อให้เกิดการแตกสลายของสังคม
การทาลายความสมานฉันท์ทางสังคมทุกรูปแบบ
ในความเป็นจริง เสรีนิยมใหม่ไม่ได้ถูกนาไปใช้ตรงๆตามทฤษฎีหรือหลักปฏิบัติ
เนื่องจากในแต่ประเทศก็มีความต่างกันจากพื้นฐานเดิม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่เหลื่อมล้า ซึ่งจะกล่าวในบทถัดไป
บทที่4 การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์
การขยายตัวของลัทธิเสรีนิยมใหม่ถูกผลักดันด้วยกลไกของการพัฒนาที่เหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์
มากขึ้นเรื่อยๆ
มีประสบความสาเร็จจึงทาให้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดดแต่ในระบบทุนนิยมโลกยังมีความแปรปรวนอยู่เนื่
องจากศูนย์กลางหรือผู้นาขบวนที่ขับเคลื่อนหลักๆมีอยู่ไม่กี่ประเทศ เช่น สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
ซึ่งมีการประสบความสาเร็จในการแปรรูปและสาธารณูปโภค
แต่งานด้านดูแลสุขภาพและการศึกษาที่เป็นแก่นกลางสาคัญกลับยังไม่มีการพัฒนา
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่ก้าวเข้ามาในแต่ละประเทศมีการเยียวยาระบบเศรษฐกิจมากมายแต่ก็ยังพบภาวะ
เงินเฟ้อและอัตราการว่างงานสูงซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนจานวนมากแต่ก็ต้องแลกมากับการที่
ภาครัฐลดสวัสดิการและค่าใช้จ่ายโครงสร้างพื้นฐาน
จึงทาให้ในอังกฤษและอเมริกาเกิดภาวะเศรษฐกิจชะงักงันและปั่นป่วน
แต่ในทางตรงข้ามกลับเป็นยุครุ่งเรืองของประเทศญี่ปุ่นที่ทาตามนโยบายของสานักการเงินนิยมที่อาศัยการส่
งออกเป็นตัวขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้าในฐานะผู้นาเศรษฐกิจโลก
ด้วยเหตุนี้หลายประเทศจึงอ้าแขนรับโมเดลแบบเยอรมันตะวันตก และญี่ปุ่นแทน
ปัจจัยที่เอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นลัทธิเสรีนิยมใหม่นี้เกิดขึ้นตั้งแต่มีการเปิดเสรีภาพทางการเงิ
นโดยการลงทุนจากต่างประเทศ การลดกฎระเบียบระหว่างประเทศ
เกิดการเคลื่อนย้ายทุนในเชิงภูมิศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
จึงทาให้ต้นทุนการขนส่งและการสื่อสารลดลงอย่างรวดเร็ว
แรงผลักดันโดยรวมจึงเกิดการสร้างมาตรฐานในระบบการค้าให้หันมาสู่เส้นทางเสรีนิยมใหม่
ประธานาธิบดีคลินตันและนายกรัฐมนตรีแบลร์จากฝ่ายซ้ายได้ก่อตั้งองค์การการค้าโลก WTO
สาหรับการทาธุรกรรมการเงิน โดยมีเป้าหมายสาคัญคือ
การเปิดพื้นที่โลกให้มากที่สุดเพื่อให้เงินทุนไหลเข้าออกโดยไม่มีอะไรขัดขวาง
16
การพัฒนาที่เหลื่อมล้าเป็นผลพวงที่เกิดจากการกระจายการลงทุน นวัตกรรม การแข่งขัน
หรือการยัดเยียดอานาจจากภายนอกที่ครองความเป็นใหญ่
มีตัวแปรมากมายที่ส่งผลกระทบต่อการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ เช่น
แรงผลักดันที่ผสมผสานกันระหว่างพลังของแนวคิดแบบเสรีนิยมใหม่ ในประเทศอังกฤษและชิลี
ความจาเป็นที่ต้องปรับตัวเนื่องจากสถานการณ์ทางการเงินในเม็กซิโกและเกาหลีใต้
และแนวคิดในการปฏิรูปกลไกรัฐในฝรั่งเศสและจีน
โดยในแต่ละสถานการณ์มักจะมีกลุ่มผู้นาภาคธุรกิจหรือกลุ่มที่มีผลประโยชน์ทางการเงินเข้ามามีบทบาทแทร
กแซงทางแนวคิดและอุดมการณ์
หลังจากหลุดพ้นจากสงครามเกาหลีจนเป็นประเทศที่มีแต่ความง่อนแง่นทั้งด้านเศรษฐกิจและสถาน
ะทางภูมิศาสตร์การเมืองแต่ก็ยังมีความได้เปรียบเนื่องจากสหรัฐอเมริกาพร้อมที่จะสนับสนุนทั้งด้านทหารแล
ะด้านเศรษฐกิจให้
และยังมีญี่ปุ่นที่เคยมีความสัมพันธ์ในอดีตอีกด้วยซึ่งญี่ปุ่นถือว่ามีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือในด้านต่า
งๆ ทั้งประสบการณ์ในการเจาะตลาดต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี โดยจะเน้นไปที่การส่งออกเป็นหลัก
หลังจากการส่งออกเฟื่องฟู อุตสาหกรรมเกาหลีก็พ่ายแพ้ต่อการแข่งขัน เกิดภาวะขาดทุนในตลาดส่งออก
กาไรลดน้อย กลุ่มแชโบลเริ่มหันมากู้ยืมเงินและติดหนี้สินอย่างหนักจนในที่สุดต้องประกาศล้มละลาย
ธนาคารต่างชาติถอนการสนับสนุนจากเกาหลี เกาหลีจึงหันไปขอความช่วยเหลือจาก IMF และ อเมริกา
เกาหลีใต้ต้องยอมเปิดการบริการการเงินให้ต่างชาติเข้ามาถือครองและอนุญาตให้บริษัทต่างชาติดาเนินการโ
ดยเสรีนี่คือเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่ความจาเป็นจะต้องปรับตัวเนื่องจาก
สถานการณ์ทางการเงิน
สาเหตุของวิกฤตการณ์ทางการเงินนั้นในแต่ละประเทศก็ประสบปัญหาแตกต่างกันออกไป
มีทั้งจากการโจมตีจากกลุ่มนายทุน การไหลออกของเงินทุน การเกร็งกาไร
หรือการที่วิกฤตการณ์ทางการเงินเกิดจากการมีคนจงใจวางแผนเพื่อเปิดช่องชิงเงินทุน
อย่างเช่นการเกิดวิกฤตการณ์เตกีล่าในเม็กซิโกที่เกิดจากธนาคารสหรัฐขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนนาไปสู่การเกร็ง
กาไรค่าเงินเปโซที่ออกมาเพื่อกระตุ้นการลงทุนจากต่างประเทศ
แต่ค่าเงินที่คาดว่าจะสูงขึ้นกลับลดต่าลงจนไม่สามารถระดมเงินสาหรับจ่ายคืนสภาคองเกรสได้
อีกทั้งสหรัฐอเมริกาก็ปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ
แต่เม็กซิโกก็ผ่านพ้นมาได้ด้วยความสามารถของประธานาธิบดีคลินตัน
ในประเทศไทยเราก็มีวิกฤตการณ์ที่เกิดจากการเกร็งกาไรในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
โดยพอเกิดวิกฤตการณ์นี้ได้มีการลดค่าเงินบาทจึงทาให้วิกฤตการณ์เริ่มแพร่กระจายเป็นวงกว้างไปทั่วเอเชี
ยทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์เกาหลีใต้
เท่านี้ยังไม่พอยังส่งผลกระทบรุนแรงไปยังรัฐเซีย บราซิล อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์และตรุกีก็โดนหางเลขไปด้วย เหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อประเทศต่างๆทั่วโลก
17
การเปลี่ยนเป็นลัทธิเสรีนิยมใหม่ของแต่ละประเทศมีความยากง่ายที่แต่ต่างกันเพราะในแต่ละประเท
ศมีการจัดวางโครงสร้างสถาบันและปัจจัยต่างๆภายในประเทศไม่เหมือนกัน
การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ต้องอาศัยอานาจ ความอิสระ และการผนึกกาลังของภาคธุรกิจและบริษัทต่างๆ
โดยวิธีในแต่ละประเทศก็แตกต่างกันไป เช่น การสร้างแรงกดดันต่ออานาจรัฐในสหรัฐฯและสวีเดน
โดยการยืมมือของสถาบันการเงิน พฤติกรรมในตลาด โจมตีทุนหรือการไหลออกของเงินทุน การคอร์รัปชั่น
การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่สามารถแบ่งจากสาเหตุได้สองสาเหตุหลักๆ คือ
จากพลวัตภายในและแรงผลักดันจากภายนอก
อัตราความสาเร็จของแรงผลักดันจากภายนอกนั้นมีความสาเร็จในระดับต่า ถ้ามีรัฐ
ตลาดและกฎหมายที่เข้มแข็ง
ภาครัฐจึงจาเป็นจาต้องสร้างบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุรกิจเพื่อดึงดูดและรักษาทุนในเชิงภูมิศาสตร์เอาไว้
เงื่อนไขทางภูมิศาสตร์การเมืองก็มีบทบาทสาหรับบางประเทศ
อย่างเช่นในเกาหลีที่เป็นรัฐด่านหน้าในสงครามเย็นทาให้สหรัฐฯคอยปกป้องคุ้มครองลัทธิพัฒนานิยมของปร
ะเทศนี้เอาไว้
แต่ข้อเท็จจริงที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงภายในประวัติศาสตร์ของการพัฒนาลัทธิเสรีนิยมใหม่อย่างเหลื่อมล้าคือลั
ทธิเสรีนิยมใหม่จะก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมทางสังคมเพิ่มมากขึ้นและทอดทิ้งกลุ่มคนที่ด้อยโอกาส
แม้ว่าที่ผ่านมาในหลายบท
เรามีหลายกรณีศึกษาที่แสดงให้เห็นถึงแก่นแท้ของเสรีนิยมใหม่ว่าต้องการอะไรอย่างแท้จริง
และเกิดการครอบงารัฐบาล เปลี่ยนถ่ายอานาจ
แต่ก็ยังมีประเทศที่ประยุกต์หลักการนี้มาใช้ให้เหมาะสมกับระบบเดิมของประเทศ
เช่นประเทศจีนที่นาหลักเสรีนิยมใหม่มาประยุกต์ใช้กับระบอบเผด็จการ
บทที่ 5 เสรีนิยมใหม่ “แบบจีนๆ”
ภายหลังอสัญกรรมของเหมาจีนประสบปัญหาสองอย่างพร้อมๆกันคือ
-ความไม่แน่นอนทางการเมือง
-ภาวะเศรษฐกิจชะงักงัน
คณะผู้นาภายใต้การนาของเติ้งเสี่ยวผิงประกาศนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจจีน
เบื้องลึกแล้วเติ้งเสี่ยวผิงคือผู้ฝักใฝ่ทุนนิยม
ภาวะกระแสทุนนิยมที่กาลังเชี่ยวกรากในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้
การปฏิรูปนี้เกิดขึ้นอย่างประจวบเหมาะและยากที่จะพิจารณาเป็นอย่างอื่นได้
นอกจากเป็นความบังเอิญอันเหมาะที่มีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์โลกพร้อมๆกับที่สหรัฐอเมริกา
อังกฤษได้หันมาใช้แนวทางเสรีนิยมใหม่ในการสร้างระบบเศรษฐกิจ
18
จีนกลายเป็นการสร้างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีชนิดพิเศษผสมผสานระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับระบอบ
เผด็จการควบคุมโดยรัฐจากส่วนกลาง
เป้าหมายระยะยาวในการสร้างสังคมที่เสมอภาคของจีนยังไม่ถูกยกเลิกไป
เติ้งเสี่ยวผิงให้เหตุผลว่าต้องปลดปล่อยให้ปัจเจกชนและท้องถิ่นแต่ละแห่งมีความคิดริเริ่มใหม่เพื่อเพิ่มผลิตภ
าพและกระตุ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
การแปลงโฉมภายในประเทศ
กลไกตลาดเสรีสามารถเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจได้น้อยมาก
หากขาดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางชนชั้นกรรมสิทธิ์เอกชนและกลไกจัดการต่างๆใสเชิงสภาบัน
เส้นทางเศรษฐกิจวิวัฒน์ของจีนมีทั้งการปรบตัวและวิกฤตในหลายๆครั้ง
การที่จีนไม่ใช้แนวทางเฉียบพลันในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเรื่องนี้ช่วยให้จีนไม่ต้องประสบหายนะทา
งเศรษฐกิจดังที่เกิดขึ้นในประเทศในยุโรปตะวันออก
พิจารณาเส้นทางโดยรวมของการเปลี่ยนแปลงนี้ก่อนเพื่อจะได้เข้าใจรายละเอียด
พรรคคอมนิวนิสต์จีนมุ่งมั่นที่จะรักษาอานาจเบ็ดเสร็จเอาไว้
แม้ว่าจะมีมติของพรรคออกมาแต่พรรคไม่ประสงค์ให้เกิดฐานันดรทุนนิยมขึ้นมาใหม่แน่นอน
จีนสามารถควบคุมทุนเหล่านี้ได้ง่าย
ข้อกาหนดที่กีดกันการลงทุนของต่างชาติในตลาดหลักทรัพย์จีนสามารถจากัดอิทธิพลของกลุ่มทุนการเงินต่า
งชาติได้ผล ไม่อนุญาตให้ก่อตั้งสถาบันการเงินรูปแบบอื่น
พรรคคอมนิวนิสต์จีนก็ต้องเผชิญปัญหาขัดแย้งหลายอย่างพร้อมๆกับการรับฮ่องกงคืนสู่ระบอบการเมืองของ
จีน ยังมีการเรียกร้องให้เปิดเสรีทางการเมืองตามาอีกด้วย กลุ่มคนงานเริ่มก่อการประท้วง
ผลจากความขัดแย้งลงเอยด้วยการสังหารหมู่ในจัตุรัสเทียนอันเหมิน
ค.ศ.1992
เติ้งเสี่ยวผิงได้เดินทางไปภูมิภาคทางใต้เพื่อดูผลลัพธ์ของการเปิดประเทศสู่โลกภายนอกด้วยตนเอง
เขาประกาศถึงผลสาเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจว่า ความร่ารวยช่างยิ่งใหญ่นัก และเสริมว่า
แมวขาวหรือแมวดาจะเป็นไรหรือตราบเท่าที่มันจับหนูได้
จากนั้นนจีนทั้งประเทศก็เปิดสู่ตลาดเสรีและทุนจากต่างชาติ ภายใต้การจับตาดูของพรรคคอมนิวนิสต์
ระบบรับผิดชอบส่วนบุคคล แบบปัจเจกชนนิยมเกิดวิสาหกิจระดับเมืองและระดับหมู่บ้าน
(Township and Vilange Enterprises- TVEs )ก่อตั้งจากสินทรัพย์ของแต่ละคอมมูน TVEs
เหล่านี้ได้เริ่มสร้างเถ้าแก่รายย่อยและระบบการจ้างงานขึ้นมาใหม่
19
ในช่วงแรกรัฐอนุญาตให้เอกชนรายย่อยสามารถทาการผลิต ค้าขาย ให้บริการได้อย่างมีขีดจากัด
ทุนจากต่างชาติก็ไหลทะลักเข้ามาในช่วงทศวรรษ 1990
ปัจจุบันจีนตกอยู่ท่ามกลางฝูงชนอพยพขนาดใหญ่ที่สุด
มีแรงงานอพยพทั้งชั่วคราวและภาวรทิ้งถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในเมืองต่างๆ
แรงงานอพยพเหล่านี้ถูกเอาเปรียบมากเป็นแรงกดไม่ให้ค่าจ้างแรงงานในเมืองเพิ่มขึ้น
ชาวชนบทอยู่รอดด้วยเงินที่แรงงานอพยพให้เมืองส่งไปให้
สภาพที่ย่าแย่และความไร้เสถียรภาพที่เกิดขึ้นในชนบทเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่รัฐบาลจีนเผชิญอยู่
เมื่อระบบคอมมูนสลายลง
ต่อมามีการออกกฎหมายอนุญาตให้ส่วนการปกครองท้องถิ่นเป็นเจ้าของสินทรัพย์และจัดโครงสร้างใหม่ที่เรี
ยกว่า TVEs
TVEs
สาคัญยิ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมีการจ้างงานและเป็นแกนนาในการทดลองระดับรากหญ้า
วิธีการที่ได้ผลส่วนใหญ่ก็คือการสร้างอุตสาหกรรมเบาที่ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อการส่งออก
รัฐบาลจีนได้กาหนดให้เมืองชายฝั่งเป็นเมืองเปิดและเป็นเขตเศรษฐกิจเปิด
เพื่อรองรับการลงทุนจากต่างชาติ
ภายหลังรัฐบาลจีนได้เปิดทั้งประเทศเพื่อรองรับการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติทุกรูปแบบ
ความสัมพันธ์กับภายนอก
ค.ศ. 1978 การค้าระหว่างประเทศของจีนคิดเป็นเพียง 7%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
แต่พอต้นทศวรรษ 1990 เพิ่มขึ้น 40 % สัดส่วนของจีนในตลาดโลกเพิ่มขึ้นถึงสี่เท่าตัว
เป็นที่ประจักษ์ว่าตลาดมหึมาภายในประเทศจีนเป็นความเย้ายวนอย่างยิ่งสาหรับทุนต่างชาติ
ทุนต่างชาติจึงแข่งกันขายรถยนต์ โทรศัพท์ ยอดการผลิตรถยนต์ค่อยๆเพิ่มขึ้นจาก 20,000 คันเป็น
50,000คัน
การค้าระหว่างปรเทศของจีนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาแต่มาก้าวกระโดดในช่วงสี่ปีล่าสุดนี้
สถานภาพของจีนในตลาดโลกอยู่ที่การผลิตสินค้ามูลค่าต่าๆ ขายสิ่งทอ
ของเล่นและพลาสติกราคาถูกในปริมาณมากๆ
จีนขยับขึ้นมาผลิตสินค้าที่มีมูลค่าสูงขึ้นและแข่งขันกับเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน
ในตลาดสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องจักรกล
การส่งออกของประเทศในเอเชียไปยังจีนก็เพิ่มขึ้นอย่างน่าตื่นเต้น
20
จีนก้าวมาเป็นมหาอานาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างแท้จริงหรือว่าฐานันด
รชนชั้นจะถูกฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้ง?
แม้ว่าจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดประเทศหนึ่งในโลก
แต่ก็กลายเป็นสังคมที่มีความไม่เท่าเทียมที่สุดด้วยผลประโยชน์ของความเติบโตนี้
ส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้อาศัยในเมืองใหญ่
ช่องว่างระหว่างรายได้ของคนรวยในเมืองใหญ่กับคนจนในชนบทแตกต่างกันอย่างมาก
ในขณะที่คนรวยในเมืองใหญ่ขับรถBMW
ชาวนายากจนในชนบทหวังเพียงแค่มีเนื้อสัตว์เป็นอาหารสัปดาห์ละครั้งก็ถือว่าโชคดีแล้ว
บริษัทจีนหลายแห่งในปัจจุบันสามารถก้าวขึ้นไปแข่งขันกับริษัทต่างชาติได้ เช่น
บริษัทคอมพิวเตอร์อย่าง Lenovo
ต่อจากการบอกถึงสาเหตุ การประยุกต์ใช้ การเข้ามาของลัทธิแล้ว
ในบทต่อไปเราจะกล่าวถึงบทสรุป
หรือบทพิสูจน์หลังจากที่ประเทศต่างๆรับเสรีนิยมใหม่เข้ามาอย่างเต็มรูปแบบว่ามีผลดี ผลเสีย
หรือประสบความสาเร็จอย่างไร
บทที่6 บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่
หลัง ค.ศ. ๒๐๐๑
สหรัฐอเมริกากับจีนต่างประพฤติตัวเป็นรัฐตามลัทธิเคนเซียนในโลกที่ถูกยัดเยียดให้ปกครองด้วยกฎเกณฑ์ข
องลัทธิเสรีนิยมใหม่
สหรัฐอเมริกาอาศัยการทางบประมาณขาดดุลมหาศาลเพื่อส่งเสริมลัทธิทหารและลัทธิบริโภคนิยมส่วนประเท
ศจีนกู้เงินจากธนาคารเป็นหนีที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เพื่อสนับสนุนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานขนาดยักษ์
และการลงทุนในทุนถาวร สัญญาณบ่งบอกว่ามีการใช้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ไม่สมบูรณ์
หากเราอยู่ตรงจุดของความขัดแย้งระหว่างเป้าหมายของสองประการนี้ รัฐบาลบุชเอียงเข้าข้างฝ่ายไหน
ยิ่งกว่านั้น วิกฤตการณ์ทางการเงินระดับโลกที่มีสาเหตุส่วนนึงมาจากนโยบายเศรษฐกิจแบบไม่ยั้งคิดของ
สหรัฐฯโยนภาระในการดูแลความอยู่ดีกินดีของประชาชนทิ้งไปแต่กลับเพิ่มอานาจของกองทัพและตารวจ
คาเตือนจากคนอย่างพอล โวลเคอร์
บอกว่ามีความเป็นไปได้สูงจะเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินครั้งร้ายแรงในอีก 5 ปีข้างหน้า
แต่คาเตือนนี้อาจมีนัยยะที่หมายถึงลดทอนอภิสิทธิ์และอานาจที่ชนชั้นทุนนิยมระดับสูง
โดยคนที่ต้องทุกข์ยาก อดยาก กระทั้งสิ้นชีวิตก็คือ ประชาชนธรรมดา
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่

More Related Content

More from freelance

Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2freelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 

More from freelance (20)

Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 

กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่

  • 1. 1 รายงานวิชา GEN211 The Philosophy Of Sufficiency Economy (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากหนังสือ ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ (A Brief History of Neoliberalism) ผู้เขียน เดวิด ฮาร์วี เสนอ อ.ศิรินันต์ สุวรรณโมลี จัดทาโดย 1. นายชินดนัย ชาวไร่นาค รหัสนักศึกษา 54211257 2. นางสาวอรจิรา ชูผกา รหัสนักศึกษา 54216327 3. นายเลอชัย กิรสมุทรานนท์ รหัสนักศึกษา 54218696 4. นางสาวสุชาดา มากจิตร รหัสนักศึกษา 54214235 5. นางสาวสุภาภรณ์ อ่อนแก้ว รหัสนักศึกษา 54214237 6. นางสาวมณีรัตน์ คุรุธวงษ์ รหัสนักศึกษา 54214227 7. นางสาวอจรี คุรุกิจวาณิชย์ รหัสนักศึกษา 54214258 8. นางสาวกรกช พรหมกาเนิด รหัสนักศึกษา 56070501201 9. นางสาวชนากานต์ กีรติอิสริยะกุล รหัสนักศึกษา 56070501401 (กลุ่ม MIXER secวันจันทร์)
  • 2. 2 คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GEN211 The Philosophy Of Sufficiency Economy (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โดยรวบรวมเนื้อความย่อของหนังสือ ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ (A Brief History of Neoliberalism) ของผู้เขียน เดวิด ฮาร์วี นอกจากเนื้อความย่อแล้วยังรวมถึงบทความวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศร ษฐกิจพอเพียง 3ห่วง 2เงื่อนไข และวิเคราะห์ถึงสาเหตุของเหตุการณ์ต่างๆในกรณีศึกษาของแต่ละประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิเสรีนิยมใ หม่ ทั้งนี้เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ให้ง่ายต่อการศึกษา และเป็นตัวอย่างเชิงวิเคราะห์และเป็นตัวอย่างความคิดเห็นต่อบทความดังกล่าว หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า สรุปสาระสาคัญ บทที่1 เสรีภาพก็แค่คาคาหนึ่ง... 5 บทที่2 การสร้างฉันทานุมัติ 8 บทที่3 รัฐเสรีนิยมใหม่ 11 บทที่4 การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์ 13 บทที่5 เสรีนิยมใหม่ “แบบจีนๆ” 15 บทที่6 บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ 17 บทที่7 ความหวังของเสรีภาพ 20 ความสัมพันธ์ระหว่างเสรีนิยมใหม่กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 24
  • 5. 5 บทที่ 1 เสรีภาพก็แค่คาคาหนึ่ง... การที่ความคิดหนึ่งๆจะทรงอิทธิพลได้ต้องมีเสน่ห์ดึงดูดโดยยึดโยงเข้ากับความเป็นจริง ประทับลงในสานึกสามัญดังเช่นแนวคิดเสรีนิยมใหม่ที่ยกย่องศักดิ์ศรีของมนุษย์และเสรีภาพปัจเจกบุคคล และมีศัตรูคือการแทรกแซงของรัฐ อิทธิพลของแนวคิดนี้มีมากมายยกตัวอย่างประเทศสหรัฐอเมริกายังใช้คาว่าเสรีภาพเพื่อทาสงครามในอิรัก โดยให้เหตุผลเพื่อเสรีภาพของชาวอิรัก แต่ความจริงก็ถูกปิดเผยเมื่อมีประกาศระเบียบ 4ประการของเบรเมอร์ ประธานคณะบริหารประเทศชั่วคราวของกองกาลังพันธมิตร ดังนี้ 1. แปรรูปรัฐวิสาหกิจให้เป็นของเอกชนโดยสมบูรณ์ 2. บริษัทต่างชาติมีสิทธิถือครองทรัพย์สินและธุรกิจในอิรักและสามารถส่งกาไรกลับประเทศได้ทั้งหมด 3. เปิดให้ทุนต่างชาติสามารถควบคุมกิจการธนาคารของอิรักโดยสมบูรณ์ 4. ขจัดอุปสรรคที่กีดกันการค้าเกือบทั้งหมด นอกจากนี้ตลาดแรงงานยังถูกควบคุมอย่างเข้มงวด สั่งห้ามการนัดหยุดงาน กฎเหล่านี้กลายเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมายเพราะได้รับรองจากรัฐบาลอธิปไตยที่อเมริกาจัดตั้งขึ้นมาเองมีอานาจรั บรองกฎหมายที่ออกมาเท่านั้น สะท้อนให้เห็นถึงผลประโยชน์ของผู้ถือครองกรรมสิทธิ์เอกชน ภาคธุรกิจ ในครั้งแรกของการใช้ลัทธิเสรีนิยมใหม่เกิดขึ้นที่ประเทศชิลี โดยมีอิทธิพลจากสหรัฐอเมริการเช่นกัน จากการรัฐประหารที่ได้รับการสนับสนุนจากชนชั้นนานักธุกิจในประเทศและบริษัทสัญชาติอเมริกัน มีการเรียกตัวนักเศรษฐศาสตร์กลุ่ม”ชิคาโกบอยส์”มาช่วยฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจซึ่งกลุ่มชิคาโกบอย์นี้ได้รับเงิน สนับสนุนจากสหรัฐอเมริกานั่นเอง ผลงานชิ้นแรกของกลุ่มนี้คือการเจรจากู้เงินจากกองทุนไอเอมเอฟ และปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของชิลีให้เป็นไปตามหลักเสรีนิยมใหม่ ให้เอกชนเข้ามาซื้อกิจการของรัฐ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติไร้การควบคุม เน้นการส่งออกแทนการนาเข้า ทาให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว แต่ก็เป็นเพียงระยะสั้นเท่านั้น หลังละตินอมเริกาเผชิญวิกฤติหนี้สินการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจก็พังลง จะเห็นได้ว่าสหรัฐอเมริกาคือเบื้องหลังการกระจายตัวของรัฐเสรีนิยมใหม่ทั่วโลก แล้วทำไมต้องเป็นเสรีนิยมใหม่? โรเบิร์ต ดาห์ลและชาร์ลส์ ลินด์โบลม นักสังคมศาสตร์กล่าวว่า หนทางเดียวที่จะก้าวไปข้างหน้าคือการผสมผสานระหว่างรัฐ ตลาดและสถาบันประชาธิปไตย เพื่อเป็นหลักประกันว่าจะมีแต่สันติภาพ ไม่กีดกัน ความเป็นอยู่ดีและมีเสถียรภาพในระดับสากล
  • 6. 6 หลังสงครามโลกครั้งที่สองเกิดรูปแบบของรัฐหลากหลายโดยมีเป้าหมายเพื่อควบคุมดูแลการฟื้นฟูพั ฒนาประเทศ มีนโยบายร่วมกันคือเน้นการจ้างงาน ให้สวัสดิการพลเมืองแต่รัฐควรมีอานาจแทรกแซงทาหน้าที่แทนระบบตลาด โดยมีนโยบายการคลังที่ใช้กันแพร่หลายคือแนวทางเคนเซียน มีการจ้างงานเต็มอัตรา ประนีประนอมทางชนชั้นระหว่างทุนกับกรรมกรเพื่อความสงบในประเทศ รูปแบบเศรษฐกิจนี้เรียกว่า ระบบเสรีนิยมที่มีการกากับดูแลซึ่งได้สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจในระดับสูงแก่ประเทศทุนนิยมที่พึ่งพิงส หรัฐอเมริกาที่ใช้นโยบายยอมขาดดุลการค้ากับส่วนอื่นของโลกแล้วดูดซับผลผลิตส่วนเกินมาไว้ในประเทศ แต่นโยบายนี้ไม่สร้างความเปลียนแปลงในประเทศยากจนแต่กลับกระจายความมั่งคั่งซ้าแก่ประเทศทุนนิยม ทาให้ในระยะหลังระบบเสรีนิยมที่มีการกากับดูแลเริ่มใช้งานไม่ได้บอกถึงวิกฤตการณ์ของการสะสมทุน การว่างงานและสภาวะเงินเฟ้อกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ จึงเกิดการมองหาทางเลือกอื่นๆในต้นทศวรรษษ1970ซึ่งได้คาตอบหนึ่งคือการเพิ่มบทบาทของรัฐในการคว บคุมและดูแลเศรษฐกิจแบบรัฐสหการนิยม รวมถึงการจากัดบทบาทขบวนการแรงงานและประชาชน จนถึงกลางทศวรรษ1970พบว่าหนทางนี้ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขของการสะสมทุน เกิดการแตกกลุ่มเป็นฝ่ายนิยมหลักสังคมนิยมประชาธิปไตยโดยวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลางและกลุ่มที่ต้ องการปลดปล่อยบริษัทและภาคธุรกิจให้มีอิสระ ซึ่งกลุ่มฝ่ายหลังได้ก้าวมามีอิทธิพลจากวิกฤตการณ์สะสมทุน เกิดการว่างงานและเงินเฟ้อก่อให้เกิดกระแสความไม่พอใจทั้งในขบวนการแรงงานและสังคมเมือง และเกิดการคุกคามทางการเมืองให้รัฐค่อยๆซื้อหุ้นของกิจการเอกชน จากัดอานาจชนชั้นบนและกรรมกรได้ส่วนแบ่งก้อนเค้กทางเศรษฐกิจมากขึ้น ทาให้ชนชั้นบนออกมาปกป้องผลประโยชน์ของตนเกิดเป็นกลุ่มคนฝ่ายหลัง จึงกล่าวได้ว่าการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่คือโครงการฟื้นฟูอานาจชนชั้นมาตั้งแต่แรก หรือตีความได้ 2ปรระการคือ 1. มันคือโครงการยูโทเปียที่พยายาเปลี่ยนระบบทุนนิยมระหว่างประเทศให้เป็นไปตามต้นแบบทางทฤษฎี 2. คือโครงการทางการเมืองมุ่งสถาปนาเงื่อนไขของการสะสมทุนและการฟื้นฟูอานาจของชนชั้นนาทางเศรษฐกิ จขึ้นมาใหม่ ดังนั้นมันเป็นแค่การอ้างเหตุผลเพื่อช่วยให้บรรลุเป้าหมาย และเมื่อไหร่ก็ตามที่หลักการเสรีนิยมใหม่ขัดกันกับเป้าหมายที่ต้องการแล้ว เมื่อนั้นหลักการดังกล่าวจะถูกเปลี่ยนหรือยกเลิกหรือบิดเบือนไป ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประสบควำมสำเร็จรุ่งเรืองมำกแค่ไหน? นับตั้งแต่ขบวนการนี้ก้าวเข้าสู่ศูนย์กลางในช่วงเวลาวิกฤตทศวรรษ1970 ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก็ได้รับการสนับสนุนทั้งเงินและสถาบันมันสมองต่างๆทาให้มีอิทธิพลมากขึ้นในแวดวงวิชา การ เผชิญหน้ากับสหภาพแรงงาน โจมตีความสมานฉันท์ทางสังคมที่จะไปกีดขวางการแข่งขัน
  • 7. 7 สร้างบรรยากาศทางธุรกิจที่ดีเพื่อดึงดูดการลงทุนต่างชาติ จนกระทั่งในปี1981 เกิดภาวะถดถอย โรงงานอุตสาหกรรมปิดตัวลง กลุ่มประเทศลูกหนี้ล้มละลาย จากการเน้นความสาคัญของความรับผิดชอบทางการคลังในการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ ทาให้ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่2 กองทุนการเงินระหว่างประเทศต้องควบคุมการคลังและเข้มงวดกับการใช้จ่ายในแต่ประเทศที่ขอความช่วยเ หลือ จุดนี้ทาให้การเปลี่ยนไปเป็นเสรีนิยมใหม่นั้นมีผลต่อนโยบายของรัฐด้วย ดังเช่นยุคเรแกน ที่ใช้นโยบายลดกฎระเบียบการค้าต่างๆ ลดภาษีการลงทุน เปิดพื้นที่ให้บริษัทเข้ามาหาผลประโยชน์ ลิดรอนอุตสาหกรรมในประเทศทาให้เอกชนและทุนการเงินย้ายฐานไปต่างประเทศ นาไปสู่การเหลื่อมล้าทางสังคมเพื่อกู้คืนอานาจทางเศรษฐกิจชนชั้นสูง จารีตจักรวรรดินิยมของอเมริกาจะใช้การยืมมือของตัวแทนในท้องถิ่นของประเทศต่างๆโดยให้การส นับสนุนเศรษฐกิจและการทหารเพื่อให้เปิดประเทศในการเข้ามาของทุนและการสนับสนุนของอเมริกา เป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการประชาชนและสังคมนิยมประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์แต่จับมือกับเผด็จการทหา ร ลักษณะนี้เกิดขึ้นในหลายประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่2 โดยการลงทุนข้ามชาติของสหรัฐฯแท้จริงแล้วเป็นการขูดรีดทรัพยากรดิบเช่น น้ามัน แร่ธาตุ วัตถุดิบ อีกทั้งกลุ่มธนาคารเพื่อการลงทุนในนิวยอร์กยังเข้ามามีบทบาทปล่อยเงินกู้แก่รัฐต่างประเทศด้วยอัตราดอกเ บี้ยที่ได้เปรียบจากสกุลเงินโดยไม่ได้คาดคิดถึงความเสี่ยง ทาให้เม็กซิโกต้องพักชาระหนี้ ขอต่ออายุเงินกู้ภายใต้เงื่อนไขว่าเมกซิโกต้องปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจตามเสรีนิยมใหม่ ปรากฎการณ์นี้จึงเป็นเหมือนโครงการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาสามารถขู ดรีดผลตอบแทนจากส่วนต่างๆของโลกได้อย่างมหาศาล มีหลำยครั้งที่บทควำมนี้กล่ำวว่ำ เสรีนิยมใหม่แท้จริงก็คือกำรฟื้ นฟูอำนำจทำงชนชั้น แล้วอำนำจทำงชนชั้นแท้จริงคืออะไร แล้วส่งผลอย่ำงไร? จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่าการแผ่ลัทธิเสรีนิยมใหม่มีอิทธิพลเหนือกลไกอานาจรัฐ เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้วอานาจสู่โลกของทุนการเงิน แกนกลางของอานาจก็คือกลุ่มผู้บริหารซีอีโอรวมถึงผู้นากลไกทางการเงิน กฎหมายและเทคนิคต่างๆ ใช้อานาจเศรษฐกิจสร้างอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจทางการเมือง และใช้สายสัมพันธ์ข้ามชาติในการขยายอานาจและลัทธิเสรีนิยมใหม่ เรำยังมีควำมหวังกับคำว่ำเสรีภำพที่ฉำบหน้ำควำมจริงของเสรีนิยมใหม่ได้มำกเพียงใด? โปลานยีเคยให้ความหมายของเสรีภาพว่ามีทั้งดีและเลว ประเภทเลวคือใช้เสรีภาพขูดรีดหาผลประโยชน์จากความล่มจมของส่วนรวม
  • 9. 9 บทที่ 2 การสร้างฉันทานุมัติ แม้ว่าการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ประสบความสาเร็จจากกองทัพรัฐประหารที่ได้รับการสนับสนุนจาก ชนชั้นสูงดั้งเดิม เพื่อทาลายความสมานฉันท์ขบวนการแรงงานและสังคม แต่ยังจาเป็นต้องสร้างฉันทานุมัติทางการเมือง หรือที่กรัมชีเรียกว่า ”สานึกสามัญ” หรือสานึกที่ถือร่วมกันจากชุดความเชื่อ ค่านิยม ที่ถูกบ่มเพาะและโฆษณาชวนเชื่อฝังหัวจากอานาจนา สานึกสามัญจึงมักคลุมเครืออาพรางปัญหาทางการเมือง และใช้คาว่า”เสรีภาพ”ปลุกระดมให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นความชอบธรรมที่ตนเองพึงได้รับ โดยเผยแพร่อุดมการณ์นี้ผ่านสื่อ และสถาบันต่างๆ รวมถึงเปลี่ยนความคิดปัญญาชน เพื่อให้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ได้รับการสนับสนุนจากการให้เสรีภาพเป็นหลักประกันนาไปสู่การครอบงาอานาจรัฐ เมื่อกลไกรัฐเปลี่ยนเป็นระบอบเสรีนิยมใหม่แล้ว รัฐก็สามารถใช้อานาจต่างๆในการรักษาฉันทานุมัติซึ่งจาเป็นต่อการดารงอานาจไว้ไม่ว่าจะเป็นกาลังกองทัพ และการเงินเพื่อไม่ให้ฉันทานุมัติล้มเหลวดังที่ปรากฏการต่อต้านในบางประเทศ ดังนั้นสิ่งที่สาคัญคือนาลัทธิเสรีนิยมใหม่แทรกซึมไปในความเข้าใจและสานึกสามัญของประชาชนว่า ลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็นวิถีทางที่จาเป็นและเป็นวิถีตามธรรมชาติในระเบียบสังคม อย่างไรก็ตามคุณค่าของเสรีภาพปัจเจกบุคคลกับความยุติธรรมทางสังคมไม่จาเป็นต้องสอดคล้องกัน โดยการแสวงหาความยุติธรรมทางสังคมต้องต่อสู้เพื่อส่วนรวมมากกว่าความต้องการของปัจเจกบุคคล ทาให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างลัทธิอิสรนิยมที่มุ่งสนใจแต่ตนเอง แยกขาดกับกลุ่มพลังทางสังคมที่แสวงหาความยุติธรรมทางสังคมด้วยการพยายามได้มาซึ่งอานาจรัฐ การแบ่งแยกนี้ยิ่งทาให้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ฉกฉวยใช้เป็นประโยชน์และซ้าเติมให้รุนแรงขึ้นในยุค68 แต่ในช่วงปี70 ทั้งสองฝ่ายสามารถสร้างเป้าหมายร่วมกันเพื่อเผชิญหน้าศัตรูร่วมคือรัฐจอมก้าวก่าย ส่วนบริษัทและธุรกิจในระบบทุนนิยมฉวยโอกาสนี้ฟื้นฟูสถานะตนเองขึ้นใหม่โดยใช้อุดมคติของเสรีภาพมาแ ทรกแซงรัฐ พร้อมกับเน้นอิสรภาพของผู้บริโภค และส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงวัฒนธรรมในวงกว้างด้วย จึงถือเป็นการใช้อุดมการณ์ของลัทธิเสรีนิยมใหม่บนทางวัฒนธรรม ลัทธิโพสต์โมเดิร์น ทาให้ทั้งบริษัทและชนชั้นนาสามารถบรรลุความสาเร็จได้อย่างแนบเนียนในปี 80 ยกตัวอย่างในกรณีของสหรัฐอเมริกา จากบันทึกลับของ ลูว์อิว เพาเวลล์ที่เขียนถึงหอการค้าสหรัฐฯในปี71 ใจความว่า ถึงเวลาแล้วที่ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์และทรัพยากรของภาคธุรกิจจะต้องรวมพลังโจมตีผู้คิดร้ายมุ่งทาลาย ทังนี้เพื่อเปลี่ยนความคิดของประชาชนทาให้ในปี72 หอการค้าสหรัฐฯได้ขยายฐานสมาชิกจากประมาณ60,000เป็น250,000 และอีกสิบปีถัดมาหอการค้าได้ร่วมมือกับสมาคมผู้ผลิตแห่งชาติเพื่อล้อบบี้สภาคองเกรสและทุ่มทุนให้องค์กร โต๊ะกลมนักธุรกิจที่จัดตั้งจากกลุ่มซีอีโอเพื่อแสวงหาอานาจทางการเมืองให้แก่บริษัท
  • 10. 10 และกลายเป็นแกนกลางในการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจ บริษัทต้องทุ่มเงินราวครึ่งหนึ่งของจีเอนพีสหรัฐฯในปี70 และอีก900ล้านดอลลาร์ต่อปีเพื่อเข้าสู่ภาคการเมือง และจัดตั้งมูลนิธิ ศูนย์การศึกษาและสถาบันต่างๆเพื่อช่วยโจมตีฝ่ายตรงข้ามเมื่อจาเป็นและเพื่อสนับสนุนนโยบายเสรีใหม่ โดยเพาเวลล์ให้ความสนใจมหาวิทยาลัยเป็นพิเศษเพราะที่นี่คือศูนย์กลางการต่อต้านบริษัทและรัฐเนื่องจาก นักศึกษามักมาจากครอบครัวร่ารวยหรือชนชั้นกลางที่ยกย่องเสรีภาพปัจเจกบุคคลมานาน ดังนั้นเพาเวลล์สามารถใช้ภาคธุรกิจและพลังนักศึกษากล่อมเกลารัฐอย่างรอบคอบ และเด็ดขาดในยามจาเป็น ตัวอย่างการที่สถาบันการเงินยึดอานาจจากรัฐบาล คือเมืองนิวยอร์กที่เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน จากการลดการผลิตของภาคอุตสาหกรรมนานหลายปี ทาให้ใจกลางเมืองเกิดความยากจน เกิดความไม่สงบหรือวิกฤตการณ์ของเมือง หนทางแก้ไขคือขยายการจ้างงานภาครัฐและใช้งบประมาณจากรัฐกลาง แต่เมื่อช่วงต้นปี1970เกิดช่องว่างระหว่างรายรับรายจ่ายมากขึ้นเกิดจากการกู้ยืมสุรุ่ยสุร่ายหลายปี รัฐบาลกลางจึงลดความช่วยเหลือ สถาบันการเงินต่างๆจึงแทรกเข้ามาช่วยเหลือถมช่องว่างให้ แต่ในปี1975กลุ่มนายธนาคารเพื่อการลงทุน ไม่ยอมยืดระยะเวลาชาระหนี้และกดดันจนนิวยอร์กล้มละลายเมื่อรัฐล้มจึงเกิดสถาบันการเงินใหม่มาบริหารง บประมาณของเมือง นารายได้จากภาษีไปจ่ายให้ผู้ถือพันธบัตรแลวนาเงินส่วนที่เหลือไปบริการสังคมเท่าที่สาคัญ แช่แข็งค่าจ้าง ลดบริการภาคสังคม เก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ และให้สหภาพแรงงานเทศบาลนากองบาเหน็จบานาญไปลงทุนพันธบัตรของเมือง ทั้งหมดนี้คือการชิงชัยชนะขั้นเด็ดขาดในการทาสงครามครั้งใหม่โดยมีวัตถุประสงค์คือแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เกิ ดขึ้นกับนิวยอร์กสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่ระหว่างวิกฤตการณ์นายธนาคารฉวยโอกาสปรับโครงสร้างของเมืองให้มีบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุร กิจจากทรัยากรของรัฐโดยเฉพาะระบบโทรคมนาคม พร้อมกับให้ทุนอุดหนุนและมาตรการจูงใจด้านภาษีสาหรับการลงทุน ขายภาพพจนน์เมืองว่าเป็นศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม ท่องเที่ยว เสรีภาพของศิลปะและอัตลักษณ์บุคคล นาไปสู่การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยใหม่ด้านวัฒนธรรม เทศบาลต้องแข่งขันเพื่อดึงดูดเงินลงทุนอาศัยความเป็นหุ้นส่วนของภาครัฐกับเอกชนโดยที่ความเป็นตัวแทน จากประชาธิปไตยนั้นลดน้อยลงไป ดังนั้นการบริหารจัดการวิกฤตการเงินของนิวยอร์กเป็นใบเบิกทางให้แนวทางเสรีนิยมใหม่ ทาให้เกิดหลักการว่าเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างความเข้มแข็งของสถาบันการเงินกับผลตอบแทนของผู้ถือ พันธบัตรฝ่ายหนึ่ง กับสวัสดิภาพของพลเมืองฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายแรกจะได้สิทธิมากกว่า และบทบาทของรัฐคือการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุรกิจไม่ใช่ตอบสนองความต้องการสวัสดิภาพของประ
  • 11. 11 ชาชน กล่าวได้ว่ากลุ่มธุรกิจหาทางยึดกุมพรรคการเมืองเพื่อให้ผลประโยชน์แก่ตนและเป็นการสร้างพันธมิตรที่วาง พื้นฐานบนชนชั้นโดยมากมักลงทุนกับรีพับลิกัน ซึ่งเป็นฐานเสียงชนชั้นการปกครองมากกว่าเดโมแครตที่มีอุดมการณ์ต้านทุนนิยมและผูกพันคนกลุ่มต่างๆใน สังคม ทั้งผิวดา แรงงาน ผู้หญิงฯลฯดังนั้นจึงต้องพึ่งเงินทุนบริจาคจากกลุ่มผลประโยชน์ทาให้ขัดแย้งในตัวเอง อย่างไรก็ตามรีพับลิกันที่มีเงินทุนมากยังต้องการฐานเสียงเพิ่มโดยเป็นพันธมิตรกับชาวคริสต์ฝ่ายขวาอาศัย วิธีการเชิงบวกของศาสนาและลัทธิชาตินิยมทางวัฒนธรรมนอกจากนี้เกิดกลุ่มชนชั้นนาเสรีนิยมหรือสายอนุรั กษ์นิยมใหม่ซึ่งสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่แต่ต่อต้านทุกสิ่งที่รัฐแทรกแซง เมื่อมารวมกันทาให้เบี่ยงเบนความสนใจไม่ให้มองว่าทุนนิยมและอานาจบริษัทคือต้นตอปัญหาแต่เป็นลัทธิพ าณิชย์นิยมที่ไม่ควบคุมและปัจเจกชนนิยมต่างหาก ท้ายสุดจึงกาจัดฝ่ายเสรินิยมจากรีพับลิกันในปี90 ทาให้ชักจูงคะแนนเสียงที่ยึดเหตุผลจากวัฒนธรรมชาตินิยมศาสนา แต่ทิศทางจริงคือทาร้ายผลประโยชน์ทางวัตถุเศรษฐกิจ ส่วนเดโมแครตที่ขัดแย้งทางนโยบายในตัวเอง ภายหลังต้องโอนอ่อนกระตุ้นนโยบายเสรีนิยมใหม่เพื่อประโยชน์ทางการเงิน ซึ่งในสมัยคลินตันเกิดปัญหาขาดดุลงบประมาณคล้ายนิวยอร์ก ทาให้รีพับลิกันปั่นฐานมวลชนให้เลือกสิ่งที่ขัดประโยชน์ของตัวเองเพื่อวัฒนธรรม ศาสนา ทาให้เรแกนชนะการเลือกตั้งปี80ด้วยนโยบายลดขอบเขตกฎหมายการกากับดูแลภาคอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม สถานประกอบการผ่อนคลายกฎและแต่งตั้งบุคลากรต่อต้านการกากับดูแลและเข้าข้างภาคอุตสาหกรรมเข้าไ ปมีตาแหน่งในรัฐเพื่อกระตุ้นลัทธิเสรีนิยมใหม่แต่ใช้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์โจมตีควบคุมสิทธิของแรง งาน และแก้ไขกฎหมายลดภาษีแก่การลงทุนให้หลายบริษัทหลบเลี่ยง รวมถึงฟื้นฟูชนชั้นด้วยลดอัตราภาษีบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สูงสุด ซ้าร้ายสมบัติสาธารณะถูกโอนถ่ายให้แก่ภาคเอกชนโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเช่นบริษัทยารับสิทธิบัตรฟรีจากงานวิ จัยร่วม โดยการควบคุมแรงงานใช้ทั้งไม้แข็งเช่นย้ายฐานการผลิตไปที่ไม่มีสหภาพหรือลดการผลิตภาคอุตสาหกรรม และไม้อ่อนจากการโฆษณาชวนเชื่อว่าเสรีภาพและอิสระเป็นประโยชน์ทั้งทุนและแรงงานเหมือนใส่เสรีนิยมใ หม่ลงในสานึกสามัญให้แรงงานมีราคาขั้นต่าสุด ไม่ทางานราคาน้อยกว่านี้ทาให้เกิดการว่างงาน ซึ่งคลินตันใช้เป็นเหตุผลในการปฏิรูปสวัสดิการที่รู้กันตามแนวเสรีนิยมใหม่เพื่อลดปัญหาการว่างงาน นอกจากการควบคุมแรงงานแล้วการสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่ยังทาได้โดยใช้แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ด้วย เหตุผลที่ว่าการแทรกแซงของรัฐบาลมักสร้างปัญหาและนโยบายการเงินที่มีเสถียรภาพคือลดหย่อนภาษีมาก ๆให้กลุ่มรายได้สูงเพื่อการลงทุน
  • 12. 12 โดยมีสื่อของภาคธุรกิจและสถาบันการศึกษาสนับสนุนแนวคิดว่าลัทธิเสรีนิยมมใหม่เป็นหนทางเดียวในการแ ก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ ตัวอย่างการสร้างฉันทามติในประเทศอังกฤษที่กลุ่มอานาจทางธุรกิจไม่ค่อยสนับสนุนการเมือง จึงใช้อิทธิพลเครือข่ายชนชั้นที่มีเส้นสายถึงรัฐบาล ศาล วงวิชาการ กลุ่มผู้นาอุตสาหกรรมและมีพรรคแรงงานที่เป็นมิตรกับสหภาพแรงงานทาให้อังกฤษพัฒนาไปในทางรัฐสวัส ดิการเนื่องจากภาคเศรษฐกิจที่เป็นหัวใจทั้งหลายเป็นกิจการของชาติ แต่ในยุค60ที่ซิตีออฟลอนดอนเป็นศูนย์กลางการเงินระหว่างประเทศได้สร้างความขัดแย้งกับความต้องการทุ นการผลิต ขัดการขยายตลาดภายในจากการคุมสินเชื่อ และตั้งใจที่จะแข็งค่าเงินปอนด์ส่งผลให้ทาลายสถานะการส่งออก เกิดวิกฤตของดุลการชาระเงินในปี70 ทาให้ตอกย้าในใจประชาชนว่ารัฐราชการเทอะทะ และมองรัฐสวัสดิการเป็นรัฐสหการนิยมที่เสื่อมทราม ส่งผลให้เกิดฝ่ายค้านที่ได้รับการสนับสนุนลัทธิเสรีนิยมใหม่จากมหาวิทยาลัย สถาบันกิจการเศรษฐกิจ สื่อมวลชน เกิดการเสียดสีสังคมโครงสร้างเครือข่ายชนชั้นดั้งเดิม ขบวนการนักศึกษาแสดงออกถึงประเด็นลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมและเสรีภาพ จะเห็นได้ว่าการสร้างฉันทานุมัติต่อการเปลี่ยนไปสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่สาเร็จจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน โดยลักษณะร่วมกันของสหรัฐฯและอังกฤษคือประเด็นแรงงานสัมพันธ์และการต่อสู้กับเงินเฟ้อ ซึ่งรัฐบาลแทตเชอร์ของอังกฤษแก้ปัญหานี้โดยทาลายอานาจแรงงานจากการรัดเข็มขัดและเอื้อประโยชน์แก่ นายทุนรวมถึงเปิดประเทศให้ทุนต่างชาติเข้ามาแข่งลงทุนในปี80 ทาลายทั้งอุตสาหกรรมดั้งเดิมและสหภาพแรงงาน จัดการปัญหาเงินเฟ้อได้ทั้งหมดและ ปลุกปั้นชนชั้นกลางให้มีฉันทานุมัติต่อนโยบายเสรีนิยมใหม่ที่ชอบการมีกรรมสิทธิ์ครอบครองบ้าน และการแปรรูปภาคเศรษฐกิจของรัฐแล้วขายแก่ทุนเอกชน จากกรณีศึกษาจะเห็นได้ว่าสภาพการณ์ภายในประเทศและผลพวงที่ตามมาจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่ ลัทธิเสรีนิยมใหม่มีความแตกต่างกันไป แต่สิ่งที่เหมือนคือลัทธินี้ได้หยั่งรากเป็นจารีตที่ต้องการแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ จึงเกิดคาถามว่าแล้วรัฐที่เป็นเสรีนิยมใหม่หลังฉันทานุมัติแล้ว จะเป็นอย่างไร? บทที่3 รัฐเสรีนิยมใหม่ รัฐเสรีนิยมใหม่ตามทฤษฎี ตามทฤษฎีแล้วรัฐเสรีนิยมควรเข้าข้างสิทธิในกรรมสิทธิ์เอกชนที่เข้มแข็ง หลักนิติธรรมและสถาบันต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการตลาดที่ทางานเป็นอิสระและการค้าเสรี นักเสรีนิยมใหม่มีความพยายามในการหาทางแปรรูปสินทรัพย์ต่างๆ
  • 13. 13 การที่ประเทศกาลังพัฒนาจานวนมากไม่มีกรรมสิทธิ์เอกชนที่ชัดเจน จึงถือเป็นอุปสรรคเชิงสถาบันที่สาคัญที่สุด ซึ่งขัดขวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการปรับปรุงคุณภาพชีวิต การสร้างกรรมสิทธิ์ในที่ดินและมอบโอนกรรมสิทธิ์แก่เอกชนถือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันไม่ให้เกิดปราก ฏการณ์ที่เรียกว่า "โศกนาฏกรรมของสมบัติส่วนรวม" ความตึงเครียดและความขัดแย้ง ประการแรก มีปัญหาในการตีความอานาจผูกขาด การแข่งขันมักจะลงเอยด้วยการผูกขาดโดยผู้เล่นรายเดียว เนื่องจากบริษัทที่เข้มแข็งกว่าย่อมเบียดบริษัทที่อ่อนแอกว่าออกไป นักทฤษฎีเสรีนิยมใหม่ส่วนใหญ่เห็นว่า เรื่องนี้ไม่ใช่ปัญหาโดยบอกว่าการผูกขาดน่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด ตราบใดที่ไม่มีอุปสรรคสาคัญมาขัดขวางการเข้ามาของผู่แข่งขันรายอื่นๆ(ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่เกิดขึ้นจริงได้ยาก ) ประการที่สองคือ ปัญหาความล้มเหลวของตลาด ปัญหานี้เกิดขึ้นเมื่อปัจเจกบุคคลและบริษัทหลีกเลี่ยงการจ่ายต้นทุนทั้งที่ควรจ่าย โดยโยนความรับผิดชอบของตนออกไปนอกตลาด ตัวอย่างเช่นปัญหามลพิษ ทั้งที่ปัจเจกบุคคลและบริษัทต่างก็หลีกเลี่ยงต้นทุนด้วยการทิ้งขยะพิษลงไปในสิ่งแวดล้อมโดยไม่ต้องเสียค่าใ ช้จ่าย ผลที่ตามมาก็คือ ระบบนิเวศถูกทาลาย ถึงแม้นักเสรีนิยมใหม่ยอมรับปัญหาเหล่านี้ บ้างก็ยอมรัยว่ารัฐควรเข้ามาแทรกแซงบางกรณีอย่างมีขีดจากัด บ้างก็อ้างว่ารัฐไม่ควรทาอะไรเลย เพราะการเยียวยาน่าจะเลวร้ายยิ่งกว่าโรค กระนั้นก็ตามนักเสรีนิยมใหม่เกือบทั้งหมดเห็นว่า หากต้องมีการแทรกแซง ก็ควรทาผ่านกลไกลตลาด โดยอาศัยการเก็บภาษีหรือแรงจูงใจด้วยภาษี ประการสุดท้าย ปัญหาทางการเมืองพื้นฐานบางอย่างภายใต้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ มีความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างลัทธิปัจเจกบุคคลนิยมที่มุ่งการครอบครองทางวัตถุที่เต็มไปด้วยความแปลกแย กกับความปรารถนาที่จะมีชีวิตส่วนรวมที่มีความหมาย ในขณะที่ยืนยันว่าปัจเจกบุคคลมีเสรีภาพในการเลือก แต่ปัจเจกบุคคลไม่สามารถเลือกที่จะสร้างสถาบันส่วนรวมที่เข้มแข็ง ปัจเจกบุคคลไม่สามารถที่จะรวมตัวกันสร้างพรรคการเมืองที่มีเป้าหมายบังคับรัฐให้แทรกเเซงหรือล้มเลิกตล าด เพื่อหาทางป้องกันไม่ให้เกิดสิ่งที่นักเสรีนิยมใหม่หวาดกลัวที่สุด คือ ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ สังคมนิยม ประชานิยมรวมศูนย์อานาจ นักเสรีนิยมใหม่จึงต้องควบคุมการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยให้อยู่มนขอบจากัด โดยหันไปพึ่งสถาบันที่ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยแทนและขาดความโปร่งใสให้ตัดสินใจเชิงนโยบายที่สาคั ญแทน
  • 14. 14 รัฐเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติ ความพยายามที่จะฟื้นฟูอานาจของชนชั้นมักสร้างความบิดเบือนขึ้นมา บางกรณีถึงขั้นพลิกกลับทฤษฎีเสรีนิยมใหม่ในภาคปฏิบัติเลย ความบิดเบียนนี้เกิดขึ้นสองส่วน คือ เกิดจากความจาเป็นในการสร้าง "ภาคธุรกิจที่ดีหรือบรรยากาศในการลงทุน" ส่วนที่สองคือ รัฐเสรีนิยมใหม่มักเข้าข้างความมั่นคงของระบบการเงินและสภาพคล่องของสถาบันทางการเงินมกกว่าความ อยู่ดีกินดีของประชากรหรือคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ลัทธิเสรีนิยมใหม่ ไม่ได้ทาให้รัฐหรือสถาบันใดสถาบันหนึ่งของรัฐหมดความหมาย อย่างไรก็ตามมีการปรับโฉมหน้าสถาบันและวิธีปฏิบัติของรัฐอย่างลึกซึ้ง โดยเฉพาะส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับความสมดุลระหว่างการข่มขู่บังคับการยินยอมพร้อมใจ ระหว่างอานาจของทุนกับขบวนการประชาชน ระหว่างอานาจบริหารและอานาจตุลาการฝ่ายหนึ่งกับอานาจของระบอบประชาธิปไตยตัวแทนอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ไม่มีอะไรดาเนินไปได้ด้วยดีในรัฐเสรีนิยมใหม่ด้วยเหตุนี้ รัฐเสรีนิยมใหม่จึงดูเหมือนรูปแบบทางการเมืองที่ไม่มั่นคง หัวใจของปัญหาอยู่ที่ช่องว่างที่กว้างขึ้นเรื่อยๆ ระหว่างเป้าหมายที่ลัทธิเสรีนิยมใหม่ประกาศต่อสาธารณะ คือ ความอยู่ดีกินดีของทุกคนกับผลลัพธ์จริงๆที่เกิดขึ้น นั่นก็คือ การฟื้นฟูอานาจของชนชั้น แต่นอกเหนือจากนี้ยังมีความขัดแย้งที่จาเพาะเจาะจงอีกชุดหนึ่ง ได้แก่ 1. รัฐเสรีนิยมใหม่ควรอยู่เฉยๆ และทาหน้าที่เพียงจัดเวทีให้กลไกลการตลาด แต่ในอีกด้านหนึ่งรัฐกลับถูกคาดหวังให้มีบทบาทในการสร้างบรรยากาศทางธุรกิจที่ดีและประพฤติตัวเป็นอง ค์การเมืองที่แข่งขันได้ในระดับโลก รัฐต้องทางานในฐานะบรรษัทรวมหมู่ 2.ลักษณะแบบอานาจนิยมของกลไกตลาดเข้ากันไม่ค่อยได้ง่ายนักกับอุดมคติเสนีภาพของปัจเจกบุคคล ยิ่งรัฐเสนีนิยมใหม่หันเข้าหาอานาจนิยมของตลาดมากเท่าไรก็ยิ่งยากที่จะรักษาความชอบธรรมและยิ่งเปิดเผ ยให้เห็นธาตุแท้ที่ต่อต้านประชาธิปไตยออกมา ความขัดแย้งนี้คู่ขนานมากับความไม่สมมาตรที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างบรรษัทกับ ปัจเจกบุคคล 3. การรักษาความมั่นคงของระบบการเงินเป็นเรื่องที่สาคัญมาก แต่ลัทธิปัจเจกบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานทางด้านการเงิน ก่อให้เกิดการเก็งกาไรที่คาดเดาไม่ได้ 4. การแข่งขันกลายเป็นคุณธรรมที่ได้รับการยกย่องเป็นอันดับแรก แต่ความจริงกลับตรงกันข้าม อานาจผูกขาดโดยผู้ผลิตหรือผู้ขาย
  • 15. 15 อานาจผูกขาดตลาดและอานาจข้ามชาติของบรรษัทข้ามชาติเพียงไม่กี่บรรษัท กลับมีความเข้มแข็งและรวมศูนย์มากขึ้นเรื่อยๆ 5. ในระดับประชาชน แรงขับขันสู่ตลาดเสรีและการทาให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า อาจสร้างความเสียหาและก่อให้เกิดการแตกสลายของสังคม การทาลายความสมานฉันท์ทางสังคมทุกรูปแบบ ในความเป็นจริง เสรีนิยมใหม่ไม่ได้ถูกนาไปใช้ตรงๆตามทฤษฎีหรือหลักปฏิบัติ เนื่องจากในแต่ประเทศก็มีความต่างกันจากพื้นฐานเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่เหลื่อมล้า ซึ่งจะกล่าวในบทถัดไป บทที่4 การพัฒนาเหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์ การขยายตัวของลัทธิเสรีนิยมใหม่ถูกผลักดันด้วยกลไกของการพัฒนาที่เหลื่อมล้าในเชิงภูมิศาสตร์ มากขึ้นเรื่อยๆ มีประสบความสาเร็จจึงทาให้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดดแต่ในระบบทุนนิยมโลกยังมีความแปรปรวนอยู่เนื่ องจากศูนย์กลางหรือผู้นาขบวนที่ขับเคลื่อนหลักๆมีอยู่ไม่กี่ประเทศ เช่น สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการประสบความสาเร็จในการแปรรูปและสาธารณูปโภค แต่งานด้านดูแลสุขภาพและการศึกษาที่เป็นแก่นกลางสาคัญกลับยังไม่มีการพัฒนา ลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่ก้าวเข้ามาในแต่ละประเทศมีการเยียวยาระบบเศรษฐกิจมากมายแต่ก็ยังพบภาวะ เงินเฟ้อและอัตราการว่างงานสูงซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนจานวนมากแต่ก็ต้องแลกมากับการที่ ภาครัฐลดสวัสดิการและค่าใช้จ่ายโครงสร้างพื้นฐาน จึงทาให้ในอังกฤษและอเมริกาเกิดภาวะเศรษฐกิจชะงักงันและปั่นป่วน แต่ในทางตรงข้ามกลับเป็นยุครุ่งเรืองของประเทศญี่ปุ่นที่ทาตามนโยบายของสานักการเงินนิยมที่อาศัยการส่ งออกเป็นตัวขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้าในฐานะผู้นาเศรษฐกิจโลก ด้วยเหตุนี้หลายประเทศจึงอ้าแขนรับโมเดลแบบเยอรมันตะวันตก และญี่ปุ่นแทน ปัจจัยที่เอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นลัทธิเสรีนิยมใหม่นี้เกิดขึ้นตั้งแต่มีการเปิดเสรีภาพทางการเงิ นโดยการลงทุนจากต่างประเทศ การลดกฎระเบียบระหว่างประเทศ เกิดการเคลื่อนย้ายทุนในเชิงภูมิศาสตร์เพิ่มมากขึ้น จึงทาให้ต้นทุนการขนส่งและการสื่อสารลดลงอย่างรวดเร็ว แรงผลักดันโดยรวมจึงเกิดการสร้างมาตรฐานในระบบการค้าให้หันมาสู่เส้นทางเสรีนิยมใหม่ ประธานาธิบดีคลินตันและนายกรัฐมนตรีแบลร์จากฝ่ายซ้ายได้ก่อตั้งองค์การการค้าโลก WTO สาหรับการทาธุรกรรมการเงิน โดยมีเป้าหมายสาคัญคือ การเปิดพื้นที่โลกให้มากที่สุดเพื่อให้เงินทุนไหลเข้าออกโดยไม่มีอะไรขัดขวาง
  • 16. 16 การพัฒนาที่เหลื่อมล้าเป็นผลพวงที่เกิดจากการกระจายการลงทุน นวัตกรรม การแข่งขัน หรือการยัดเยียดอานาจจากภายนอกที่ครองความเป็นใหญ่ มีตัวแปรมากมายที่ส่งผลกระทบต่อการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ เช่น แรงผลักดันที่ผสมผสานกันระหว่างพลังของแนวคิดแบบเสรีนิยมใหม่ ในประเทศอังกฤษและชิลี ความจาเป็นที่ต้องปรับตัวเนื่องจากสถานการณ์ทางการเงินในเม็กซิโกและเกาหลีใต้ และแนวคิดในการปฏิรูปกลไกรัฐในฝรั่งเศสและจีน โดยในแต่ละสถานการณ์มักจะมีกลุ่มผู้นาภาคธุรกิจหรือกลุ่มที่มีผลประโยชน์ทางการเงินเข้ามามีบทบาทแทร กแซงทางแนวคิดและอุดมการณ์ หลังจากหลุดพ้นจากสงครามเกาหลีจนเป็นประเทศที่มีแต่ความง่อนแง่นทั้งด้านเศรษฐกิจและสถาน ะทางภูมิศาสตร์การเมืองแต่ก็ยังมีความได้เปรียบเนื่องจากสหรัฐอเมริกาพร้อมที่จะสนับสนุนทั้งด้านทหารแล ะด้านเศรษฐกิจให้ และยังมีญี่ปุ่นที่เคยมีความสัมพันธ์ในอดีตอีกด้วยซึ่งญี่ปุ่นถือว่ามีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือในด้านต่า งๆ ทั้งประสบการณ์ในการเจาะตลาดต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี โดยจะเน้นไปที่การส่งออกเป็นหลัก หลังจากการส่งออกเฟื่องฟู อุตสาหกรรมเกาหลีก็พ่ายแพ้ต่อการแข่งขัน เกิดภาวะขาดทุนในตลาดส่งออก กาไรลดน้อย กลุ่มแชโบลเริ่มหันมากู้ยืมเงินและติดหนี้สินอย่างหนักจนในที่สุดต้องประกาศล้มละลาย ธนาคารต่างชาติถอนการสนับสนุนจากเกาหลี เกาหลีจึงหันไปขอความช่วยเหลือจาก IMF และ อเมริกา เกาหลีใต้ต้องยอมเปิดการบริการการเงินให้ต่างชาติเข้ามาถือครองและอนุญาตให้บริษัทต่างชาติดาเนินการโ ดยเสรีนี่คือเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากการขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่ความจาเป็นจะต้องปรับตัวเนื่องจาก สถานการณ์ทางการเงิน สาเหตุของวิกฤตการณ์ทางการเงินนั้นในแต่ละประเทศก็ประสบปัญหาแตกต่างกันออกไป มีทั้งจากการโจมตีจากกลุ่มนายทุน การไหลออกของเงินทุน การเกร็งกาไร หรือการที่วิกฤตการณ์ทางการเงินเกิดจากการมีคนจงใจวางแผนเพื่อเปิดช่องชิงเงินทุน อย่างเช่นการเกิดวิกฤตการณ์เตกีล่าในเม็กซิโกที่เกิดจากธนาคารสหรัฐขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนนาไปสู่การเกร็ง กาไรค่าเงินเปโซที่ออกมาเพื่อกระตุ้นการลงทุนจากต่างประเทศ แต่ค่าเงินที่คาดว่าจะสูงขึ้นกลับลดต่าลงจนไม่สามารถระดมเงินสาหรับจ่ายคืนสภาคองเกรสได้ อีกทั้งสหรัฐอเมริกาก็ปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ แต่เม็กซิโกก็ผ่านพ้นมาได้ด้วยความสามารถของประธานาธิบดีคลินตัน ในประเทศไทยเราก็มีวิกฤตการณ์ที่เกิดจากการเกร็งกาไรในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยพอเกิดวิกฤตการณ์นี้ได้มีการลดค่าเงินบาทจึงทาให้วิกฤตการณ์เริ่มแพร่กระจายเป็นวงกว้างไปทั่วเอเชี ยทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์เกาหลีใต้ เท่านี้ยังไม่พอยังส่งผลกระทบรุนแรงไปยังรัฐเซีย บราซิล อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และตรุกีก็โดนหางเลขไปด้วย เหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อประเทศต่างๆทั่วโลก
  • 17. 17 การเปลี่ยนเป็นลัทธิเสรีนิยมใหม่ของแต่ละประเทศมีความยากง่ายที่แต่ต่างกันเพราะในแต่ละประเท ศมีการจัดวางโครงสร้างสถาบันและปัจจัยต่างๆภายในประเทศไม่เหมือนกัน การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่ต้องอาศัยอานาจ ความอิสระ และการผนึกกาลังของภาคธุรกิจและบริษัทต่างๆ โดยวิธีในแต่ละประเทศก็แตกต่างกันไป เช่น การสร้างแรงกดดันต่ออานาจรัฐในสหรัฐฯและสวีเดน โดยการยืมมือของสถาบันการเงิน พฤติกรรมในตลาด โจมตีทุนหรือการไหลออกของเงินทุน การคอร์รัปชั่น การแผ่ขยายลัทธิเสรีนิยมใหม่สามารถแบ่งจากสาเหตุได้สองสาเหตุหลักๆ คือ จากพลวัตภายในและแรงผลักดันจากภายนอก อัตราความสาเร็จของแรงผลักดันจากภายนอกนั้นมีความสาเร็จในระดับต่า ถ้ามีรัฐ ตลาดและกฎหมายที่เข้มแข็ง ภาครัฐจึงจาเป็นจาต้องสร้างบรรยากาศที่ดีต่อภาคธุรกิจเพื่อดึงดูดและรักษาทุนในเชิงภูมิศาสตร์เอาไว้ เงื่อนไขทางภูมิศาสตร์การเมืองก็มีบทบาทสาหรับบางประเทศ อย่างเช่นในเกาหลีที่เป็นรัฐด่านหน้าในสงครามเย็นทาให้สหรัฐฯคอยปกป้องคุ้มครองลัทธิพัฒนานิยมของปร ะเทศนี้เอาไว้ แต่ข้อเท็จจริงที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงภายในประวัติศาสตร์ของการพัฒนาลัทธิเสรีนิยมใหม่อย่างเหลื่อมล้าคือลั ทธิเสรีนิยมใหม่จะก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมทางสังคมเพิ่มมากขึ้นและทอดทิ้งกลุ่มคนที่ด้อยโอกาส แม้ว่าที่ผ่านมาในหลายบท เรามีหลายกรณีศึกษาที่แสดงให้เห็นถึงแก่นแท้ของเสรีนิยมใหม่ว่าต้องการอะไรอย่างแท้จริง และเกิดการครอบงารัฐบาล เปลี่ยนถ่ายอานาจ แต่ก็ยังมีประเทศที่ประยุกต์หลักการนี้มาใช้ให้เหมาะสมกับระบบเดิมของประเทศ เช่นประเทศจีนที่นาหลักเสรีนิยมใหม่มาประยุกต์ใช้กับระบอบเผด็จการ บทที่ 5 เสรีนิยมใหม่ “แบบจีนๆ” ภายหลังอสัญกรรมของเหมาจีนประสบปัญหาสองอย่างพร้อมๆกันคือ -ความไม่แน่นอนทางการเมือง -ภาวะเศรษฐกิจชะงักงัน คณะผู้นาภายใต้การนาของเติ้งเสี่ยวผิงประกาศนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจจีน เบื้องลึกแล้วเติ้งเสี่ยวผิงคือผู้ฝักใฝ่ทุนนิยม ภาวะกระแสทุนนิยมที่กาลังเชี่ยวกรากในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ การปฏิรูปนี้เกิดขึ้นอย่างประจวบเหมาะและยากที่จะพิจารณาเป็นอย่างอื่นได้ นอกจากเป็นความบังเอิญอันเหมาะที่มีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์โลกพร้อมๆกับที่สหรัฐอเมริกา อังกฤษได้หันมาใช้แนวทางเสรีนิยมใหม่ในการสร้างระบบเศรษฐกิจ
  • 18. 18 จีนกลายเป็นการสร้างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีชนิดพิเศษผสมผสานระหว่างลัทธิเสรีนิยมใหม่กับระบอบ เผด็จการควบคุมโดยรัฐจากส่วนกลาง เป้าหมายระยะยาวในการสร้างสังคมที่เสมอภาคของจีนยังไม่ถูกยกเลิกไป เติ้งเสี่ยวผิงให้เหตุผลว่าต้องปลดปล่อยให้ปัจเจกชนและท้องถิ่นแต่ละแห่งมีความคิดริเริ่มใหม่เพื่อเพิ่มผลิตภ าพและกระตุ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การแปลงโฉมภายในประเทศ กลไกตลาดเสรีสามารถเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจได้น้อยมาก หากขาดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางชนชั้นกรรมสิทธิ์เอกชนและกลไกจัดการต่างๆใสเชิงสภาบัน เส้นทางเศรษฐกิจวิวัฒน์ของจีนมีทั้งการปรบตัวและวิกฤตในหลายๆครั้ง การที่จีนไม่ใช้แนวทางเฉียบพลันในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเรื่องนี้ช่วยให้จีนไม่ต้องประสบหายนะทา งเศรษฐกิจดังที่เกิดขึ้นในประเทศในยุโรปตะวันออก พิจารณาเส้นทางโดยรวมของการเปลี่ยนแปลงนี้ก่อนเพื่อจะได้เข้าใจรายละเอียด พรรคคอมนิวนิสต์จีนมุ่งมั่นที่จะรักษาอานาจเบ็ดเสร็จเอาไว้ แม้ว่าจะมีมติของพรรคออกมาแต่พรรคไม่ประสงค์ให้เกิดฐานันดรทุนนิยมขึ้นมาใหม่แน่นอน จีนสามารถควบคุมทุนเหล่านี้ได้ง่าย ข้อกาหนดที่กีดกันการลงทุนของต่างชาติในตลาดหลักทรัพย์จีนสามารถจากัดอิทธิพลของกลุ่มทุนการเงินต่า งชาติได้ผล ไม่อนุญาตให้ก่อตั้งสถาบันการเงินรูปแบบอื่น พรรคคอมนิวนิสต์จีนก็ต้องเผชิญปัญหาขัดแย้งหลายอย่างพร้อมๆกับการรับฮ่องกงคืนสู่ระบอบการเมืองของ จีน ยังมีการเรียกร้องให้เปิดเสรีทางการเมืองตามาอีกด้วย กลุ่มคนงานเริ่มก่อการประท้วง ผลจากความขัดแย้งลงเอยด้วยการสังหารหมู่ในจัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ.1992 เติ้งเสี่ยวผิงได้เดินทางไปภูมิภาคทางใต้เพื่อดูผลลัพธ์ของการเปิดประเทศสู่โลกภายนอกด้วยตนเอง เขาประกาศถึงผลสาเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจว่า ความร่ารวยช่างยิ่งใหญ่นัก และเสริมว่า แมวขาวหรือแมวดาจะเป็นไรหรือตราบเท่าที่มันจับหนูได้ จากนั้นนจีนทั้งประเทศก็เปิดสู่ตลาดเสรีและทุนจากต่างชาติ ภายใต้การจับตาดูของพรรคคอมนิวนิสต์ ระบบรับผิดชอบส่วนบุคคล แบบปัจเจกชนนิยมเกิดวิสาหกิจระดับเมืองและระดับหมู่บ้าน (Township and Vilange Enterprises- TVEs )ก่อตั้งจากสินทรัพย์ของแต่ละคอมมูน TVEs เหล่านี้ได้เริ่มสร้างเถ้าแก่รายย่อยและระบบการจ้างงานขึ้นมาใหม่
  • 19. 19 ในช่วงแรกรัฐอนุญาตให้เอกชนรายย่อยสามารถทาการผลิต ค้าขาย ให้บริการได้อย่างมีขีดจากัด ทุนจากต่างชาติก็ไหลทะลักเข้ามาในช่วงทศวรรษ 1990 ปัจจุบันจีนตกอยู่ท่ามกลางฝูงชนอพยพขนาดใหญ่ที่สุด มีแรงงานอพยพทั้งชั่วคราวและภาวรทิ้งถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในเมืองต่างๆ แรงงานอพยพเหล่านี้ถูกเอาเปรียบมากเป็นแรงกดไม่ให้ค่าจ้างแรงงานในเมืองเพิ่มขึ้น ชาวชนบทอยู่รอดด้วยเงินที่แรงงานอพยพให้เมืองส่งไปให้ สภาพที่ย่าแย่และความไร้เสถียรภาพที่เกิดขึ้นในชนบทเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่รัฐบาลจีนเผชิญอยู่ เมื่อระบบคอมมูนสลายลง ต่อมามีการออกกฎหมายอนุญาตให้ส่วนการปกครองท้องถิ่นเป็นเจ้าของสินทรัพย์และจัดโครงสร้างใหม่ที่เรี ยกว่า TVEs TVEs สาคัญยิ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมีการจ้างงานและเป็นแกนนาในการทดลองระดับรากหญ้า วิธีการที่ได้ผลส่วนใหญ่ก็คือการสร้างอุตสาหกรรมเบาที่ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อการส่งออก รัฐบาลจีนได้กาหนดให้เมืองชายฝั่งเป็นเมืองเปิดและเป็นเขตเศรษฐกิจเปิด เพื่อรองรับการลงทุนจากต่างชาติ ภายหลังรัฐบาลจีนได้เปิดทั้งประเทศเพื่อรองรับการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติทุกรูปแบบ ความสัมพันธ์กับภายนอก ค.ศ. 1978 การค้าระหว่างประเทศของจีนคิดเป็นเพียง 7%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ แต่พอต้นทศวรรษ 1990 เพิ่มขึ้น 40 % สัดส่วนของจีนในตลาดโลกเพิ่มขึ้นถึงสี่เท่าตัว เป็นที่ประจักษ์ว่าตลาดมหึมาภายในประเทศจีนเป็นความเย้ายวนอย่างยิ่งสาหรับทุนต่างชาติ ทุนต่างชาติจึงแข่งกันขายรถยนต์ โทรศัพท์ ยอดการผลิตรถยนต์ค่อยๆเพิ่มขึ้นจาก 20,000 คันเป็น 50,000คัน การค้าระหว่างปรเทศของจีนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาแต่มาก้าวกระโดดในช่วงสี่ปีล่าสุดนี้ สถานภาพของจีนในตลาดโลกอยู่ที่การผลิตสินค้ามูลค่าต่าๆ ขายสิ่งทอ ของเล่นและพลาสติกราคาถูกในปริมาณมากๆ จีนขยับขึ้นมาผลิตสินค้าที่มีมูลค่าสูงขึ้นและแข่งขันกับเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ในตลาดสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องจักรกล การส่งออกของประเทศในเอเชียไปยังจีนก็เพิ่มขึ้นอย่างน่าตื่นเต้น
  • 20. 20 จีนก้าวมาเป็นมหาอานาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างแท้จริงหรือว่าฐานันด รชนชั้นจะถูกฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้ง? แม้ว่าจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดประเทศหนึ่งในโลก แต่ก็กลายเป็นสังคมที่มีความไม่เท่าเทียมที่สุดด้วยผลประโยชน์ของความเติบโตนี้ ส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้อาศัยในเมืองใหญ่ ช่องว่างระหว่างรายได้ของคนรวยในเมืองใหญ่กับคนจนในชนบทแตกต่างกันอย่างมาก ในขณะที่คนรวยในเมืองใหญ่ขับรถBMW ชาวนายากจนในชนบทหวังเพียงแค่มีเนื้อสัตว์เป็นอาหารสัปดาห์ละครั้งก็ถือว่าโชคดีแล้ว บริษัทจีนหลายแห่งในปัจจุบันสามารถก้าวขึ้นไปแข่งขันกับริษัทต่างชาติได้ เช่น บริษัทคอมพิวเตอร์อย่าง Lenovo ต่อจากการบอกถึงสาเหตุ การประยุกต์ใช้ การเข้ามาของลัทธิแล้ว ในบทต่อไปเราจะกล่าวถึงบทสรุป หรือบทพิสูจน์หลังจากที่ประเทศต่างๆรับเสรีนิยมใหม่เข้ามาอย่างเต็มรูปแบบว่ามีผลดี ผลเสีย หรือประสบความสาเร็จอย่างไร บทที่6 บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ หลัง ค.ศ. ๒๐๐๑ สหรัฐอเมริกากับจีนต่างประพฤติตัวเป็นรัฐตามลัทธิเคนเซียนในโลกที่ถูกยัดเยียดให้ปกครองด้วยกฎเกณฑ์ข องลัทธิเสรีนิยมใหม่ สหรัฐอเมริกาอาศัยการทางบประมาณขาดดุลมหาศาลเพื่อส่งเสริมลัทธิทหารและลัทธิบริโภคนิยมส่วนประเท ศจีนกู้เงินจากธนาคารเป็นหนีที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เพื่อสนับสนุนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานขนาดยักษ์ และการลงทุนในทุนถาวร สัญญาณบ่งบอกว่ามีการใช้ลัทธิเสรีนิยมใหม่ไม่สมบูรณ์ หากเราอยู่ตรงจุดของความขัดแย้งระหว่างเป้าหมายของสองประการนี้ รัฐบาลบุชเอียงเข้าข้างฝ่ายไหน ยิ่งกว่านั้น วิกฤตการณ์ทางการเงินระดับโลกที่มีสาเหตุส่วนนึงมาจากนโยบายเศรษฐกิจแบบไม่ยั้งคิดของ สหรัฐฯโยนภาระในการดูแลความอยู่ดีกินดีของประชาชนทิ้งไปแต่กลับเพิ่มอานาจของกองทัพและตารวจ คาเตือนจากคนอย่างพอล โวลเคอร์ บอกว่ามีความเป็นไปได้สูงจะเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินครั้งร้ายแรงในอีก 5 ปีข้างหน้า แต่คาเตือนนี้อาจมีนัยยะที่หมายถึงลดทอนอภิสิทธิ์และอานาจที่ชนชั้นทุนนิยมระดับสูง โดยคนที่ต้องทุกข์ยาก อดยาก กระทั้งสิ้นชีวิตก็คือ ประชาชนธรรมดา