SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ชื่อหนังสือ พัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยจากอดีตถึงอนาคต
กลุ่ม โอโล่
52211224 นายธนกร สิริวัฒนวรางกูร
54211289 นายธนกาญจน์ มีสง่า
54213954 นางสาวรีนา แสงเอี่ยม
54213962 นางสาวเมจิรา มิสยาม
54213642 นางสาววิศนีย์ ดังจะดี
51215430 นายเสกสรรค์ เพ็ชรเกลี้ยง
54210953 นายเปรม ชินวร
54211275 นายวิสุทธิ์พงศ์ แก้ววิทย์เทพสิทธิ์
บทที่ 1 รากฐาน พัฒนาการและสถานภาพของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย
หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเกี่ยวกับการพัฒนาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยจากอดีตจนถึงปั
จจุบันและอนาคต โดยบทแรกนี้จะกล่าวเน้นเกี่ยวกับรากฐานและสถานภาพของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กล่าวโดยสรุปคือ เดิมทีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นเป็นสิ่งที่อยู่ในวัฒนธรรมไทยมาช้านานแล้ว
ถึ ง แ ม้ ว่ า เ พิ่ ง จ ะ มี ค า นี้ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ไ ท ย ไ ม่ น า น นั ก
สามารถพบแนวคิดความเป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยได้จากภูมิปัญญาชาวบ้านต่างๆ
ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมบ้านเชียง ซึ่งมีความรุ่งเรืองในช่วงประมาณ เจ็ดพันปีมาแล้ว
มีเทคโนโลยีของการใช้โลหะและการทาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้งานได้ดี และมีศิลปะที่งดงาม เป็นต้น
จึงเป็นอันเข้าใจได้ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยไม่ได้รับอิทธิพลมาจากต่างชาติเสียหมด
แ ต่ ส่ ว น ใ ห ญ่ แ ล้ ว ล้ ว น ม า จ า ก แ น ว คิ ด เ ดิ ม ข อ ง ไ ท ย ที่ แ ฝ ง ม า ทั้ ง สิ น
อย่างไรก็ตามเมื่อโลกมีการพัฒนาเข้าสู่ยุคที่มีการติดต่อสื่อสารง่ายและสะดวกรวดเร็วจึงมีการแพร่กระจายวิ
ทยาการต่างๆ จากต่างประเทศเข้ามามากขึ้นผ่านทางช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อิทธิพลของศาสนา
อิทธิพลของตะวันตกและบทบาทของการค้าระหว่างประเทศ บทบาทของพระมหากษัตริย์
บทบาทของระบอบเมืองการปกครอง
สาหรับพัฒนาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาเป็นเรื่องของการรับเ
อาวิทยาการและผลผลิตมาใช้เพื่อกิจการต่างๆ รวมถึงการแพทย์ การเกษตร วิศวกรรม การค้าขาย
แ ล ะบ ริก าร ถึ งแ ม้ ว่ าจ ะเกิ ด ป ระโย ช น์ ต่ อ กิ จ ก ารต่ างๆ เห ล่ านั้น ม าก ม าย ก็ ต าม
ก า ร รั บ ดั ง ก ล่ า ว มี ร า ค า ที่ เ ป็ น ทั้ ง เ งิ น ต ร า ที่ ต้ อ ง จ่ า ย อ อ ก ไ ป
แ ล ะ เป็ น ทั้ ง ก า ร พึ่ ง พ า ต่ า ง ป ร ะ เท ศ จ า ก เดิ ม ที ที่ เค ย พึ่ ง ต น เอ ง เป็ น ห ลั ก
แ ล ะ มี ก า ร เ สื่ อ ม ถ อ ย ข อ ง ก า ร สั่ ง ส ม ภู มิ ปั ญ ญ า ดั้ ง เ ดิ ม
อ า จ ไม่ ส าม าร ถ ก่ อ ให้ เกิ ด ก า รส ร้างสังค ม ที่ ยั่งยืน แ ล ะย า ว น า น ได้ ใน ระย ะ ย า ว
ไทยจึงเริ่มมีแนวคิดที่จะไม่รับวิทยาการใหม่เข้ามาเท่านั้น แต่ต้องมีการสร้างวิทยาการใหม่ๆขึ้นมาเองด้วย
แ ล ะ ผ ส ม ผ ส า น กั บ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ที่ มี อ ยู่ ดั้ ง เ ดิ ม แ ล้ ว ใ น สั ง ค ม
และต้องก่อให้เกิดความรู้ความสามารถที่เรียกได้ว่าเป็นของตนเองได้ หรือสามารถกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือ
การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะยังไม่สมบูรณ์และไม่นาไปสู่ความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่
า ง ยั่ ง ยื น ไ ด้ ห า ก ป ร ะ เ ท ศ ยั ง ไ ม่ มี ร ะ บ บ ที่ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รู้ ใ ห ม่
เกิดนวัตกรรมและความสามารถในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ และการพัฒนาสังคมโดยทั่วไป
ต่อมาพบว่าสถานภาพปัจจุบันของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยได้ทาให้เห็นว่าในช่วงหลายสิบปี
ที่ผ่านมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยได้มีพัฒนาการในแนวทางที่สามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น
ในแง่ของการสั่งสมความรู้ การค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ด้วยตนเอง
ดังนั้น สังค ม ที่ จ ะพั ฒ น า ก้ าว ห น้ าไป ได้ ต้ อ งเป็ น สังค ม ที่ เรีย น รู้จ าก อ ดี ต
ส า ม า ร ถ ท ร า บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บั น ไ ด้ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
สาม ารถ ม อ งอ น าค ต แล ะค าด ก ารณ์ ได้เต็ม ค วาม ส าม ารถ แล ะข้อ มูล ที่ ต น มีอ ยู่แล้ว
แ ล ะ เ ต รี ย ม ก า ร เ พื่ อ อ น า ค ต ไ ด้ อ ย่ า ง ดี ที่ สุ ด
นั บ เป็ น แ น ว คิ ด ที่ จ ะ ก า ลั ง มี ก า ร พั ฒ น า ไ ป ใน รูป แ บ บ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ง ยื น
คือไม่มีการส่งผลกระทบที่เสียหายต่อคนในรุ่นต่อๆ ไป ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นสังคม สิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี และระบบเศรษฐกิจ
บทที่ 2 ฟิ สิกส์และคณิตศาสตร์
ก ล่ า ว ถึ ง ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ตั้ ง แ ต่ อ ดี ต ปั จ จุ บั น
รวม ถึงส ถ าน ภ าพ ทิศ ท างก ารพั ฒ น างาน วิจัย ฟิ สิก ส์แ ล ะค ณิ ต ศ าส ต ร์ไป สู่อ น าค ต
โ ด ย จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ เ ป็ น ผู้ คิ ด ค้ น ก ฎ แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ต่ า ง ๆ
ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ จาเป็นต้องอาศัยซึ่งกันและกัน เพราะบางครั้งสาขาฟิสิกส์
ก็ต้องการวิธีการคานวณของสาขาคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยแก้ปัญหาทางทฤษฎีที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้คาตอบเหล่
า นั้ น
และในทางกลับกันสาขาคณิตศาสตร์ก็ต้องพึ่งพาทฤษฎีทางฟิสิกส์เพื่อเข้าไปปรับปรุงเสริมแต่งทฤษฎีต่างๆเ
ช่นกัน
ปัจจุบัน สถานภาพของฟิ สิกส์และคณิ ตศาสตร์ในไทย นับว่าก้าวหน้าพอสมควร
แ ม้ ว่ า ม ห า วิท ย า ลัย ต่ า ง ๆ ได้ พั ฒ น า ก า ร เรีย น ก า ร ส อ น ใน ร ะ ดั บ สู ง แ ล้ ว ก็ ต า ม
แต่ในด้านการวิจัยทางฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ที่มีคุณภาพทัดเทียมกับต่างประเทศนั้นยังล้าหลังอยู่มาก
ทั้งนี้เพราะขาดผู้นาทางในฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ ที่รัฐบาลส่งนักเรียนไปศึกษาจนได้รับปริญญาเอก
แล้วกลับมาเข้ารับราชการทันทีนั้นทาให้ผู้ที่สาเร็จการศึกษาขาดประสบการณ์ในการเป็นผู้นาวิจัย
ซึ่งเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันมานาน
(มิติสังคม)
ก า ร เปิ ด ห ลั ก สู ต ร ป ริญ ญ า เอ ก ท า ง ส า ข า ฟิ สิ ก ส์ แ ล ะ ส า ข า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
เป็นอีกทางออกหนึ่งท่สามารถยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัย แต่เนื่องจากมีผู้สนใจน้อย
ก า ร ผ ลิ ต นิ สิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จึ ง ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ เ ท่ า ที่ ค ว ร
ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ข า ด ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก รั ฐ บ า ล
ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ก า ร รั บ นิ สิ ต เ ข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก นั้ น
จะต้องใช้อุปกรณ์และค่าใช้จ่ายสูงการขยายการศึกษาออกไปในระดับนี้ตามมหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่งจึงยัง
ไม่สามารถกระทาได้มากนักและไม่ได้รับความสนใจจากผู้ที่จะเข้าศึกษาเพราะขาดแคลนทุนทรัพย์และโอกา
สในการแสวงหางานทาภายหลังที่จบการศึกษาแล้วมีค่อนข้างจากัด (มิติเศรษฐกิจ)
ใน ศ ต ว ร รษ ที่ ผ่ า น ม า เริ่ม ตั้ง แ ต่ มี ก า ร ค้ น พ บ ข อ ง Einstein ใน ปี ค .ศ . 1905
แ ล ะ ต า ม ม า ด้ ว ย ก า ร ค้ น พ บ ท ฤ ษ ฎี ค ว อ น ตั ม ใ น ปี ค . ศ . 1925
ทาให้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ทุกสาขาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว โดยอาศัยทฤษฎีควอนตัม เช่น
การทาสารกึ่งตัวนามาใช้ประโยชน์ในการสร้างวงจรรวม หรือ IC ทาให้เกิดการพัฒนาวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก
นอกจากนี้ยังมีการสร้างเครื่องเร่งอนุภาคที่มีพลังงานสูงเพื่อที่จะสลายนิวเคลียสหรืออนุภาค
มี ก า ร ค้ น พ บ ส่ ว น ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ข อ ง อ นุ ภ า ค มู ล ฐ า น เ ช่ น Quark
แ ล ะใน ข ณ ะเดี ย ว กั น ก็ มี ค ว า ม พ ย าย า ม ที่ จ ะร ว บ รว ม ท ฤ ษ ฎี ต่ า งๆ เข้ า ด้ ว ย กั น
อีกทั้งความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ทาให้ปัญหาต่างๆ ที่ยุ่งยาก เช่นการคานวณอุตุนิยมวิทยา
การคานวณสมการ non-linear ทางคณิตศาสตร์ ก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณได้
ซึ่งเท ค โน โลยีต่ างๆ ที่วิจัยและพัฒ น าอย่างต่ อเนื่ องนี้ ช่วยแก้ปัญ ห าต่ างๆ ที่ ยุ่งยาก
ให้ง่ายสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน)
จ า ก อ ดี ต ที่ ผ่ า น ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
การเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการขยายตัวออกไปในวงกว้างและรวดเร็ว
มีการนาความรู้ทางด้านฟิสิกส์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาวิจัยในการสร้างสิ่งอานวยความสะดวก
เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ แ บ บ ยั่ ง ยื น
เ พื่ อ ใ ห้ ค น รุ่ น ใ ห ม่ ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์และเกิดคุณค่าสูงสุด (มิติสิ่งแวดล้อม)
บทที่ 3 เคมี
ม นุ ษ ย์ บ ริ โ ภ ค ส า ร เ ค มี กั น จ น ชิ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ
มากมายซึ่งเป็นผลมาจากอุตสาหกรรมทางเคมีได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน
จ น อ า จ เ ป็ น ดั ช นี วั ด ค ว า ม มั่ ง คั่ ง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้ เ ล ย ที เ ดี ย ว
ในขณะที่ปัจจัยสี่ของมนุษย์ล้วนแต่ประกอบด้วยสารเคมี จนอาจกล่าวได้ว่าทุกสิ่งประดิษฐ์ที่เราจับต้อง
มองเห็น หรือบริโภคแล้ว ล้วนแต่ต้องผ่านมือนักเคมีมาทั้งสิ้น เคมีกับชีวิตประจาวันจึงไม่อาจแยกจากกันได้
อย่างไรก็ดีเคมีเปรียบเสมือนดาบสองคม การใช้สารเคมีอย่างไม่ถูกวิธีหรือไม่ระมัดระวัง
ย่อมก่อให้เกิดโทษอย่างมหันต์ ดังที่ปรากฏให้เห็นโศกนาฏกรรมให้เห็นอยู่เนื่องๆ อาทิ
การป น เปื้ อน สารเค มีในอาห ารสัต ว์ ซึ่งส่งผ ลให้เนื้ อสัตว์และผลิตภัณ ฑ์ ที่เกี่ยวข้อง
มีสารพิษเจือปนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค กรณีการรั่วไหลของสารพาที่ถูกกาจัดโดยการฝังไว้อย่างไม่ถูกวิธี
กรณีที่สารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากรู้เท่าไม่ถึงการณ์
ข าด จิต ส านึ ก ค ว าม รับ ผ อ ด ช อ บ ห รือ เพี ย งเพื่ อ ต้ อ งก ารล ด ต้ น ทุ น ใน ก ารผ ลิต
เหล่านี้เป็นปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมเป็นพาอย่างร้ายแรงโดยตรงในประเทศและทั่วโลก
(มิติสังคมและสิ่งแวดล้อม)
ในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเติบโตอย่างรวดเร็วและหลายหน่วยงานโดยเฉพาะในภ
า ค รั ฐ เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า ม จ า เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ต้ อ ง ผ ลิ ต นั ก เ ค มี เ พิ่ ม
โดยได้ให้ทุนส่งนักเรียนไปศึกษาต่อระดับปริญ ญ าเอกในต่างประเทศเป็ นจานวนมาก
รวมทั้งได้จัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่เพิ่มขึ้นอีกหลายแห่ง ซึ่งผลที่เป็นไปได้นั้นก็มีทั้งทางบวกและทางลบ
ก ล่ าว คือ อ าจารย์ที่ มีอ ยู่ เดิม ต้ อ งใช้ เว ล าใน ก ารส อ น แ ล ะคุ ม ป ฏิ บัติ ก ารอ ย่ างม าก
จนไม่มีเวลาในการค้นคว้าวิจัยหาความรู้ใหม่ๆให้ทันความก้าวหน้าของศาสตร์ที่ตนรับผิดชอบอยู่เท่าที่ควร
(มิติเศรษฐกิจ)
การวิจัยเคมีในปัจจุบันถือว่าดีพอสมควร เมื่อพิจารณาถึงทรัพยากรต่างๆ ทั้งทางด้านบุคลากร
อุปกรณ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยงานและองค์กรที่มีอยู่ในประเทศ
แต่การพัฒนาประเทศให้รุดหน้าจาเป็นต้องอาศัยนักวิจัยจานวนมาก ซึ่งเป็นนิมิตหมายที่ดี
ที่นักเคมีในประเทศเริ่มรวมกลุ่มวิจัยกันมากขึ้นและมีการร่วมมือกับนักวิจัยต่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
มีอุตสาหกรรมเคมีที่ใช้แหล่งวัตถุดิบที่มีอยู่ในประเทศอย่างเต็มกาลังเพื่อเพิ่มมูลค่าทรัพยากรของประเทศ
รวมทั้งให้การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่อาจนาเข้าวัตถุดิบแต่ใช้เทคโนโลยีที่ค้นพบและพัฒนาขึ้นในประเทศ
ตลอดจนอุตสาหกรรมที่มีความหวังที่จะสามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน)
บทที่ 4
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
เป็นวิชาที่ว่าด้วยวิทยาการขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล เซลล์ อวัยวะ
จนถึงระดับวิ่งมีชีวิตทั้งตัว ในสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพมีหลายสาขา ได้แก่ ชีววิทยา จุลชีวิทยา
ชีววิทยาของเซลล์ สรีรวิทยา พฤกษศาสตร์ ฯลฯ
จะเห็นได้ว่าวิชาทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพจะครอบคลุมถึงสภาวะต่างๆของสิ่งมีชีวิต
จึงเป็นรากฐานสาคัญของด้วนวิทยาศาสตร์การแพทย์
อดีต คนไทยมีวัฒนธรรมมาช้านาน มีภูมิปัญญาชาวบ้าน คนไทยรู้จักทาอาหารหมักดอง
การใช้ยาสมุนไพรในการรักษา การนวดแผนโบราณ การเก็บเกี่ยว รู้จักการใช้ประโยชน์จากพืช ผัก
ผลไม้ต่างๆ ร.4
ได้ทรงริเริ่มการพัฒนาด้านการแพทย์ให้ทัดเทียมอารยะประเทศได้มีการปรับโครงสร้างการบริหารและการบ
ริการต่างๆการแพทย์และสาธารณะสุขได้เปลี่ยนจากแพทย์แผนโบราณมาเป็นแพทย์สมัยใหม่
มีการจัดโรงเรียนแพทย์ ได้มีการจัดให้มีหลักสูตรการแพทย์ตามแบบประเทศตะวันตก
ต้องอาศัยความรู้ขั้นพื้นฐานทั้งวิทยาศาสตร์กายภาพ และ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
ปัจจุบัน วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้พัฒนาเปลี่ยนแปลง
ทาให้วิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยมีลักษณะโดดเด่นกว่าวิทยาศาสตร์กายภาพเป็นอย่างมาก
ทั้งด้านการเรียนการสอน และการวิจัย อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
และวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆมีปัญหามากเรื่องการทดลอง
เนื่องจากโรงเรียนมีขนาดและคุณภาพต่างกันมากทาให้โรงเรียนจานวนมากขาดอุปกรณ์และไม่ที่จะให้นักเรี
ยนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการทดลอง
เป็นเหตุให้นักเรียนไทยไม่สามารถคิดริเริ่มหรือแก้ไขปัญหาวิทยาศาสตร์โดยการทดลองอย่างเป็นระบบ และ
คิดอย่างนักวิทยาสาสตร์ได้
ในด้านการวิจัยและพัฒนามีการสนับสนุนการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาและการจัดระบบทุนอุดหนุนการวิจั
ย ได้ทาให้ประเทศไทนมีผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทั้งที่ปรากฏต่อวงการวิชาการโลก
และที่ได้นาไปใช้ประโยชน์ในประเทศ
และยังมีความก้าวหน้าด้านการศึกษาและวิจัยจึงมักจะนาความรู้และเทคนิคต่างๆของวิทยาศาสตร์ชีวภาพม
าตอบปัญหาและแก้ไขปัญหาทางการแพทย์จนกลายเป็นศาสตร์ใหม่ที่เรียกว่า เทคโนโลยีชีวภาพ
(Biotechnology) สาขานี้มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเทคนิคและอุปกรณ์
ที่จะนาไปใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีในสมัยก่อน เช่น การหมักสุรา
การผลิตวัคซีนและการตัดต่อยีน
และอีกมากมายมาประยุกต์ทาให้จุลชีววิทยาศาสตร์มีการเจริญก้าวหน้าไปคู่ขนานกับเทคโนโลยีชีวภาพ
อนาคต
ถึงแม้ว่าวงการวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยได้เจริญก้าวหน้าจนก่อให้เกิดการประยุกต์ใช้อย่างได้ผลอย่างชั
ดเจนหลายกรณีแต่อนาคตของวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยจะเป็นอย่างไรเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาหลายด้า
นที่สาคัญ ได้แก่ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ระดับโลก
และการต้องการใหม่ๆด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทย
ฉะนั้นจะเป็นประโยชน์ไม่น้อยหากวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยจะถูกพัฒนาให้มากยิ่งขึ้น
ให้มีศักยภาพมากๆ
บทที่ 5 เกษตรศาสตร์
ประเทศไทยนั้นได้ชื่อว่าเป็นประเทศกสิกรรมมาช้านาน
ด้วยความเหมาะสมของทรัพยากรและสภาพแวดล้อมที่มีอยู่
จากการสืบค้นหลักฐานที่มีอยู่สามารถแบ่งวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงทางกสิกรรมของประเทศไทยได้เป็น
6 ยุคสมัยด้วยกันคือ
การเกษตรในยุคก่อนประวัติศาสตร์
ซึ่งมีการขุดค้นทางโบราณคดีได้พบพืชที่เป็นอาหาร ยา และเครื่องเทศ เช่น แหล่งโบราณคดีถ้าผี
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งอยู่ในสมัยหินกลางประมาณ 9000 ปีมาแล้วได้พบ ถั่ว แตงร้าน น้าเต้า หมาก พลู
ดีปรี พริกไทย มะซาง สมอไทย สมอพิเภก มะกอกเกลื่อน มะเยา และท้อ
และในแหล่งโบราณคดีเขาสามเหลี่ยม จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อสมัย 4000 ปีมาแล้วได้พบ ข้าว ไม้ไผ่
แสดงให้เห็นว่าคนไทยโบราณรู้จักวิธีปลูกข้าวเพื่อใช้เป็นอาหารหลักมานานแล้ว
การเกษตรในยุคสุโขทัย ( พ.ศ. 1781 – 1893 )
จากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงในสมัยกรุงสุโขทัยซึ่งเริ่มประมาณ พ.ศ. 1800
ได้มีระบบการปลูกพืชเป็นแปลงขนาดใหญ่ มีระบบทดน้าและระบายน้าเป็นอย่างดี
และมีแหล่งน้าสะอาดอยู่ใจกลางเมือง แปลงปลูกพืชที่เป็นป่าก็มีทั้ง ป่าพลู ป่าผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม
มะพร้าว ตลอดไปจนถึงไร่และนาซึ่งมีอยู่มากมาย
และโดยนโยบายที่รับรองการเป็นเจ้าของใครทาแปลงปลูกอย่างไรไว้ก็ยกให้แก่ผู้ปลุกผู้สร้างนั้นและเมื่อเจ้าข
องตายไปก็ให้เป็นมรดกตกทอดแก่ลูกหลาน ทาให้เกิดประโยชน์ มีกาลังใจ
และทาให้การเกษตรได้พัฒนาไปได้มาก
การเกษตรสมัยกรุงศรีอยุธยา ( พ.ศ. 1893 - 2310 )
ในสมัยนี้การเกษตรถือว่ามีความสาคัญถึงกับมีตาแหน่งขุนเกษตราธิบดีปรากฏอยู่ในกฎหมาย
ลักษณะเบ็ดเสร็จดูแลกรมนา ซึ่งกรมนามีหน้าที่ว่าด้วยการไร่นาและสัตว์พาหนะ มีบทบัญญัติต่างๆ
ว่าด้วยลักษ ณ ะที่ราษฎรทากิจกรรมเกษ ตรพิพาทกัน ต่อมาสมัยพระเจ้าปรา สาททอง
ก็ ได้ ข ย าย ห น้ าที่ ก รม น า ม า ก ขึ้ น โด ย จัด ตั้งก รม น าอ อ ก ไป ป ระจ าต าม หั ว เมื อ ง
มีหน้าที่จัดการกับที่ดินรกร้างว่างเปล่าให้มีการใช้ประโยชน์ จัดการเกี่ยวกับชลประทาน
เ ก็ บ ภ า ษี เ ป็ น ห า ง ข้ า ว ขึ้ น ฉ า ง ห ล ว ง
กล่าวได้ว่าข้าวเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้กรุงศรีอยุธยามีความมั่งคั่งเพราะเป็นสินค้าส่งออกที่สาคัญ
เนื่องจากเป็นที่ต้องการของประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เขมร จีน อินเดีย เป็นต้น
การเกษตรสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
แบ่งออกเป็น ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือ ยุคปฏิวัติเขียว
และยุคโลกาภิวัตน์
1.การเกษตรยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ( พ.ศ. 2325 – 2484 )
ในสมัยนี้ประเทศแถบยุโรปมีการใช้เครื่องจักรกลแทนเรือใบ สามารถขนส่งสินค้าได้รวดเร็วขึ้น
โดยไม่ต้องรอเวลาเช่น ลมมรสุมในการแล่นเรือใบ และทาให้ยุโรปพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
ความต้องการวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ทาให้เกิดการล่าอาณานิคม
สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระหนักถึงภัยคุกคามของประเทศต่างๆในยุโรปที่อ
อกล่าอาณานิคม เมื่อทรงพระประชวรหนัก ได้ทรงสั่งเสียเอาไว้ว่า “
การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ระวังให้ดี
อย่าให้เสียทีแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่คิด ควรจะเรียนเอาไว้ก็ให้เอาอย่างเขา
แต่อย่านับถือเลื่อมใสไปทีเดียว ”
อาจเป็นเพราะเหตุนี้เอง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงคบหาสมาคมให้ชาวต่างประเทศมากขึ้น
โดยเฉพาะประเทศในยุโรปจนได้เป็นที่รู้จักของชาวต่างประเทศในนาม “ คิงมงกุฏ ”
ในเวลาเดียวกันได้ทรงอาศัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงช่วยเหลือในภารกิจการเจรจาและทาสัญญาทางพระราชไมตรีกับต่างประเทศ
เริ่มที่จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
และเริ่มมีการส่งนักเรียนไทยไปเรียนในต่างประเทศ
เมื่อมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( ปี 2411 – 2453 )
ทรงนาความทันสมัยวิวัฒนาการต่างๆที่ได้เสด็จไปประพาสประเทศต่างๆในยุโรปมาบูรณะกิจการบ้านเมือง
ทาให้เป็นที่เคารพรักใคร่ของประชาชนทั่วไป และได้ขนานพระนามว่า “ พระพุทธเจ้าหลวง ” หรือ “
สมเด็จพระปิยมหาราช ” ทาให้เกิดหน่วยงานต่างๆเพิ่มมากขึ้นเช่น กรมป่าไม้ การชลประทาน การประมง
การกสิกรรม การปศุสัตว์ การสัตวแพทย์ เป็นต้น
2.การเกษตรยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองหรือยุคปฏิวัติเขียว ( พ.ศ. 2489 – ปัจจุบัน )
การเกษตรได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
เพราะความขาดแคลนอาหารทั่วโลก ผลผลิตไม่เพียงพอ
ทาให้เกิดองค์การและองค์กรความร่วมมือระหว่างนานาชาติ เพื่อแก้ไขปัญหานี้
องค์กรต่างประเทศที่มีบทบาทสูงในความร่วมมือทางวิชาการซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาการเกษตรของประเทศไ
ทยมีดังนี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์กรวิจัยทางการเกษตรนานาชาติ ฯลฯ เป็นต้น
ทาให้ประเทศไทยมีการพัฒนาในด้านต่างๆเช่น การศึกษาทางด้านการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร การตอบสนองความต้องการของสังคมและเศรษฐกิจไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ เป็นต้น
ซึ่งในยุคนี้มุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิตโดยไม่ได้คานึงถึงสิ่งแวดล้อมเท่าไรนัก
3.การเกษตรยุคโลกาภิวัตน์
การเกษตรในยุคปฏิวัติเขียวได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันได้แก่
การตัดไม้ทาลายป่าเพื่อการเกษตร การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ฯลฯ เป็นต้น
ทาให้ทั่วโลกต้องหันมาใส่ใจสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น
โดยมีการคิดแนวคิดทางการพัฒนาการเกษตรในยุคโลกาภิวัตน์ขึ้น ซึ่งในปัจจุบันมีอยู่2แนวทางคือ
3.1 การเกษตรยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการจัดการและสงวนไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ
โดยปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสถาบันไปในทางที่มนุษย์จะรับได้ต่อไปตามความต้อง
การด้วยความพอใจทั้งในปัจจุบันและลุกหลานในอนาคต การพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านการเกษตร
ป่าไม้และประมง รักษาไว้ซึ่งที่ดิน น้า
และทรัพยากรพันธุกรรมของพืชและสัตว์เป็นการไม่ทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมทรามลง
มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม เศรษฐกิจอยู่ได้และเป็นที่ยอมรับของสังคม
3.2 ทฤษฎีใหม่ : เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
อันเป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้าเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะในที่ดินขนาดเล็
กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการบริหารและจัดการที่ดินต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี
และมีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1
แบ่งพื้นที่ให้เหมาะสมเป็นสัดส่วน มีพื้นที่เป็นสระเก็บกักน้า พื้นที่ปลูกข้าวเพื่อบริโภค
พื้นที่ปลูกพืชอื่นผสมผสาน และพื้นที่อยู่อาสัย ขั้นตอนที่ 2
เมื่อเกษตรกรเข้าใจหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนเองได้ผลแล้ว
จึงดาเนินการโดยรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้านการผลิต การตลาด
และความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา
โดยกิจกรรมดังกล่าวต้องร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ ส่วนเอกชน
ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้น ขั้นตอนที่ 3 คือติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร
หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
โดยทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัทจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
บทที่ 5 เรื่อง เกษตรศาสตร์
การเกษตรของไทยสามารถสืบค้นไปได้ถึงยุคก่อนประวัติศาสตร์ (มิติสังคม)
และได้เจริญก้าวหน้ามาตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือก่อนหน้านั้น
ได้มีการสะสมภูมิปัญญาแห่งท้องถิ่นถ่ายทอดกันมาในลักษณะของการเกษตรเพื่อยังชีพ
แต่เมื่อสถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการเกษตรและพาณิชย์ของประเทศให้
เจริญทัดเทียมอารยประเทศ ได้มีการนาความรู้และวิทยาการเข้ามาหลายรูปแบบ
ตั้งแต่การนาข่าวสารข้อมูลต่างประเทศเข้ามา จ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศให้มาปฏิบัติงาน
ส่งเจ้าหน้าที่ไทยไปร่วมกิจกรรมกับต่างประเทศไปดูงาน หรือไปศึกษาฝึกอบรมในต่างประเทศ
จนสามารถสร้างบุคลากรชั้นนาทางการเกษตรซึ่งมีบทบาทสาคัญ
ในการพัฒนาการเกษตรของประเทศหลายคนหลายวิชาสาขา (มิติเศรษฐกิจ)
แต่การพัฒนาวิทยาการด้านนี้ต้องหยุดชงักลงด้วยผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่สอง
ครั้งซึ่งยังผลให้เศรษฐกิจตกต่าไปทั่วโลก
วิทยาการทางการเกษตรของไทยมาขยายตัวอีกครั้งหนึ่งหลังสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเป็นยุคของกา
รปฏิวัติเขียว เมื่อเกิดการขาดแคลนอาหารไปทั่วโลก ประเทศไทยในฐานะเป็นแหล่งผลิตอาหารให้แก่โลก
กลายเป็นประเทศที่ได้รับการทุ่มเทจากต่างประเทศให้ความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ
ทาให้สถาบันทางการเกษตรของไทยมีความเข้มแข็งขึ้น ทั้งในด้านเครื่องมือ อุปกรณ์
กาลังคนที่มีความรู้ความสามารถซึ่งได้ขยายตัวออกไปรวดเร็ว เป็นผลให้ประเทศไทยผลิตพืชผลต่างๆ
ที่มีความหลากหลายจากเดิมซึ่งมีไม่กี่ชนิดเป็น 300 – 400 ชนิด
และผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ขยายพื้นที่เพาะปลูกออกไปถึง 108 ล้านไร่
แต่เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่แล้วนับว่าต่า แม้จะได้นาวิทยาการสมัยใหม่มาใช้ในด้านการปรับปรุงพันธุ์
การให้น้าให้อาหาร การอารักขาพืชและสัตว์ การเก็บเกี่ยวและอุตสาหกรรมแล้วก็ตาม
แต่การลงทุนในด้านการวิจัยและพัฒนาที่ขาดตกบกพร่อง การให้การศึกษาที่ไม่ตรงเป้า ฯลฯ
ทาให้ผลการพัฒนาไม่เจริญเท่าที่ควร พร้อมกับกาลังคนผู้มีความรู้ความสามารถลดลงอย่างรวดเร็ว
และในทางกลับกัน (มิติสิ่งแวดล้อม)การขยายพื้นที่เพาะปลูกส่งผลในทางลบให้เกิดขึ้น
ทั้งในด้านป่าไม้ถูกทาลาย สูญเสียทรัพยากรชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้า
ทาลายสมดุลธรรมชาติ ความสวยงามและความมั่นคงของประเทศ
ในยุคโลกาภิวัตน์
การเกษตรของไทยมีผลกระทบอย่างรุนแรงจากการจัดระเบียบเศรษฐกิจใหม่ของโลก
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ
การพัฒนาการเกษตรของประเทศเพื่อนบ้าน
การเกษตรของไทยจะต้องปรับเปลี่ยนไปสู่รูปแบบของการเกษตรยั่งยืน (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน)
และทฤษฎีใหม่หรือเกษตรพึ่งตนเอง ซึ่งต้องการกาลังคนผู้มีคุณภาพ
มีความรู้ความสามารถสูงทางด้านการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีความรู้
และเทคโนโลยีฟิสิกส์
มาผสมผสานเป็นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่จะนาการเกษตรอันเป็นแกนหลักของชาติไปสู่ความอยู่รอดภายใ
ต้การแข่งขันในระดับสากล ซึ่งนับวันจะมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้นทุกที
บทที่ 6
แพทยศาสตร์
มุมมองของการแพทย์ไทย การแพทย์คู่กับการดารงชีวิตและอยู่คู่กับประวัติศาสตร์ของประเทศ
แต่เนื่องจากขาดการบันทึกจึงไม่ปรากฏหลักฐานเด่นชัด
การแพทย์แผนตะวันตกเริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อมีการติดต่อกับประเทศตะวันตก หรือประมาณปี 2504
ปัจจุบันมีโรงพยาบาลในจังหวัดทุกจังหวัดและทุกอาเภอ
มีสถานีอนามัยทุกตาบลและมีบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขรวมทั้งการป้องกัน
ส่งเสริมไปจนถึงบริการรักษาพยาบาลขั้นตติยภูมิที่มีคุณภาพ
และเป็นโครงสร้างสาคัญหนึ่งในการประยุกต์ใช้วิทยาการทางด้านการแพทย์
เกิดประโยชน์ในการลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชนไทย
ควบคู่กับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ในกรุงเทพ
โดยอาศัยฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
1.ลักษณะของพัฒนาการทางการแพทย์ การแพทย์ของประเทศไทยได้พัฒนาไปในทาง 2 ลักษณะคือ
1.1พัฒนาการตามกาลเวลาพร้อมกับความเจริญของโลกและอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น
การใช้น้ายาไอโอดีน วินิจฉัยโรคตับเป็นต้น
1.2พัฒนาการโดยการคิดค้นขึ้นเองทาให้เกิดความรู้ใหม่หรือวิธีการใหม่
โดยมีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปจากการสอนที่มากด้วยรายละเอียดไปสู่การสอนให้ทราบแนวคิดเน้นถึงการรู้จัก
คิดและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบให้ความสาคัญต่อชนบท จริยธรรม เศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น
2.ผลงานที่น่าสนใจ เช่น โรคไข้เลือดออก ทาให้ช่วยลดอัตราการตายของผู้ป่วยลงได้มาก
และเป็นที่ยอมรับในสากล
3.ข้อเสนอแนะ
การแพทย์แผนไทยตั้งแต่โบราณกาลมาจนถึงปัจจุบันเป็นไปในลักษณะการตั้งรับได้แก่การศึกษาปัญหาและ
การแก้ปัญหา ในอนาคตแพทย์ไทยควรจะรุก โดยต้องมีความรู้มากทั้งกว้างและรุก คิดใคร่ครวญให้มาก
เพื่อจะสามารถแก้ไปปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ทันที
- มิติสังคม
การปฏิรูปสุขภาพ
- มิติสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาการตามกาลเวลาพร้อมกับความเจริญของโลกและอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม
- มิติเทคโนโลยี/พลังงาน
ปัญหาโภชนาการ
- มิติเศรษฐกิจ
การปรับปรุงการศึกษาทั้งด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
บทที่ 8 สิ่งแวดล้อมและพลังงาน(สรุปเนื้อหา)
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม โดยหลังจากสงครามโลกครั้งที่2
เป็นต้นมาทุ่มเททรัพยากรต่างๆเพื่อนพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเริ่มต้นจากสร้างปัจจัยพื้นฐานได้แก่
สาธารณูปโภคต่างๆ แหล่งพลังงาน
การพัฒนาเทคโนโลยี การเพิ่มประชากรและการใช้พลังงานเป็นการใช้พลังงานเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกัน
การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหินและปิโตรเลียม ทาให้เกิมลพิษทางอากาศทั้งในระดับท้องถิ่นเช่น
คาร์บอนมอนอกไชค์ ฝุ่นละออง จนถึงระดับระหว่างชาติ เช่น ในกรด และระดับโลกเช่น สภาวะเรือนกระจก
ในประเทศที่กาลังพัฒนามีส่วนทาให้เกิดการสูญเสียป่าและคุณภาพของดินเป็นอย่างมาก
ซึ่งผลกระทบและการงานวิจัยเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและธรรมชาติในประเทศไทยยังมีการเผื่อแพร่ข้อมูลข่า
วสารอยู่ในแวดวงที่จากัด
และการศึกษาในปัจจุบันมีการสอดแทรกผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและพลังงานยังไม่เพียงพอในอนาคตปัญ
หาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานได้รับการใส่ใจมากขึ้นอละตระหนักถึงปัญหาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติม
ากเกินไปในปัจจุบัน และมีการพัฒนาเทคโนโลยีพร้อมทั้งวิจัยพลังงานสะอาด
ทั้งนี้ประเทษไทยควรมีการพัฒนาวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและพลังงานควร
พัฒนาคนอละพัฒนาเชิงวิชาการควบคู่กันไป โดยตั้งอยู๋บนพื้นฐานความเข้าใจว่า
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมไม่ได้จากัดอยู่กับเฉพาะสาขาวิชาหรือภาควิชา
หรือในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและพลังงานเท่านั้น ซึ่งหัวใจการพัฒนาวิชาการแบ่งออกเป็น
4แนวทางคือ การบาบัดมลพิษ การพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด ความเข้าใจสิ่งแวดล้อม
และการจัดการสิ่งแวดล้อม
โดยที่รัฐควรควรสนับสนุนและออกมาตรการต่างๆเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและพลังงานควบคุมมลพิษ
และสนับสนุนดารวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
บทที่ 7
วิศวกรรมศาสตร์
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ล ะ ส ร้ า ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ข อ ง ม นุ ษ ย์
ทาให้มนุษย์โบราณสามารถสร้างเครื่องมือนานาชนิด นับตั้งแต่เครื่องมือพื้นฐาน เช่น ขวาน
ไป จ น ถึ งสิ่งป ระดิ ษ ฐ์ที่ มีค ว าม ซั บ ซ้ อ น แ ล ะน่ าทึ่ ง เช่ น ปี ระมิด แ ล ะป ราส าท หิ น
ส ม า ร ถ คิ ด ค้ น ล้ อ ที่ ช่ ว ย ให้ ส ร้า ง พ า ห น ะ เพื่ อ ข น สิ่ ง ข อ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก
สามารถสร้างสะพานเพื่อทอดข้ามสารธารแม่น้าและหุบเหวสามารถคิดค้นเครื่องมือสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์
นอกจากนั้นยังสามารถคิดค้นยารักษาโรคด้วยสมุนไพรที่พบในธรรมชาติได้
ใ น เ มื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม คื อ ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง
ดั ง นั้ น จึ ง อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม มี ม า แ ต่ โ บ ร า ณ ก า ล แ ล้ ว
ผ ล ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ที่ ต ก ท อ ด ม า น า น ห ล า ย พั น ปี มี ม า ก ม า ย อ า ทิ
ปิระมิดในอียิปต์ปราสาทหินที่น้อยแต่ก็น่าอัศจรรย์ใจในความสามารถของผู้สร้างที่มีเครื่องมือกลที่จากัดมาก
ก า ร ท า ง า น ต้ อ ง อ า ศั ย พ ลั ง แ ร ง ค น เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่
สาหรับผลงานก่อสร้างในยุคเมื่อร้อยกว่าปี เศษ มาจนถึงปัจจุบันมีมากมายนับไม่ถ้วน
ไม่ว่าจะเป็นอาคารระฟ้าที่โด่งดัง อย่างเช่น อาคารเอ็มไพร์สเตท จนถึงอาคารปิโตนัสในกรุงกัวลาลัมเปอร์
และอาคารใบหยกในกรุงเทพ
ในงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมของประเทศทั้งหลายนั้นโดยปกติ
มักจะเกี่ยวข้องกับสถาบันหลายแบบที่สองก็คือสถาบันวิชาชีพซึ่งเป็นที่รวมให้ผู้ประกอบวิชาชีพในด้านเดียว
กันได้มาพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเจรจาต่อรองกับผู้อื่นหรือกาหนดมาตรฐานเพื่อควบคุมการดาเนินง
าน ข อ งผู้ป ระก อ บ วิช าชีพ เดีย วกัน ไม่ ให้ เกิด ก ารทุ จริต ห รือ ท าผิด ต่ อ จรรย าบ รรณ
และแบบที่สามก็คือสถาบันมาตรฐานของรัฐซึ่งทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านต่างๆ
ให้เป็นแบบเดียวกันทั่วประเทศหรือให้เข้ากับมาตรฐานสากลได้
ในอดีตที่ผ่านมาวิศวกรไทยที่มีความสูงหลายท่านได้ฝากผลงานวิศวกรรมอันยิ่งใหญ่ไว้ให้เป็นมรดก
มาถึงทุกวันนี้ในอดีตเรามีคุณพระเจริญวิศวกรรมซึ่งเป็นคณบดีหลายยุคสมัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์
จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ คุ ณ ห ล ว ง ช ล า นุ ส ร ณ์ ซึ่ ง เป็ น ผู้ เชี ย ว ช า ญ ท า ง ด้ า น ช ล ศ า ส ต ร์
คุณพระประกอบยันตรกิจและคุณหลวงอนุศาสน์ตรกรรมซึ่งเชียวชาญทางด้านชลศาสตร์
คุณ พ ระประกอบ ป ระสิท ธิกลมัย ผู้เชี่ยวชาญ ท างด้าน การรถไฟ นายควง อถัยวงศ์
อดีตนายกรัฐมนตรีและผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์เองก็เป็นวิศวกรสื่อสารและมอบหน้าที่ในการตัดระบบสื่อส
ารระหว่างการปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 พลอากาศโทมุนี มุนีมหาสันทนะ เวชยันตรังต์สฤดิ์
ผู้รับตาแหน่งเป็นประธานกรรมการท่านแรกของวิศวกรรมสถานแห่งชาติในบรมราชูปถัม เมื่อปี 2486 พลโท
พ ร ะ ย า ศั ล วิ ธ า น นิ เ ท ศ
ผู้เชี่ยวชาญแผนที่และได้เป็นสมุหราชมณเฑียรด้วยความจงรักภัคดีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ต ร า บ จ น ตั ว ท่ า น ล่ ว ง ลั บ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ สุ กิ จ นิ ม ม า น เ ห มิ น ท์
ก็ ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ จ า ก ท า ง ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ
แต่เมื่อกลับมาแล้วได้แปรเปลี่ยนไปสอนวิชาคณิตศาสตร์ เป็นเลขาธิการจุฬาลงกรณ์หมาวิทยาลัย
จนกระทั่งได้เป็นรัฐมนตรีและเอกอัครราชทูต
หลักการวิศวกรรมพื้นฐานมาจากการนาแนวแก้ปัญหาและการออกแบบที่เห็นระบบมาใช้
เมื่อได้ผลแล้วจึงมีผู้นาหลักการวิศวกรรมไปใช้ในงานอื่นๆนั่นหมายความว่าในอนาคตเราจะได้เห็นการใช้คา
ว่ า วิ ศ ว ก ร ร ม ค ว า ม รู้ วิ ศ ว ก ร ร ม สั ง ค ม ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ห ม่ ๆ
เ ห ล่ า นี้ จ ะ เ กิ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ก้ า ว ห น้ า ม า ก ก ว่ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ส่วนนักวิชาการและวิศวกรไทยเองก็ประสบความยากลาบากในการเรียนรู้แนวคิดใหม่ๆ
เหล่านี้หากเตรียมตัวไม่พ ร้อม งานวิศวกรรมเป็ นพื้นฐานสาคัญ ของการพัฒ นาสังคม
เ ศ ษ ร ฐ กิ จ แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ห า ก อ ง ค์ ก ร วิ ศ ว ก ร ร ม ยั ง อ่ อ น ป ว ก เ ปี ย ก แ ล้ ว
ก็ อ ย า ก ที่ จ ะ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ที่ ห น า แ น่ น ใ ห้ กั บ สิ่ ง อื่ น ๆ ไ ด้ ดั ง นั้ น
จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิศวกรรมทั้งหลายจะต้องรีบเร่งพัฒนาสิ่งที่ยังเป็นจุดอ่อนขอ
งประเทศไทยให้เยอะมากที่สุด
โดยทั่วไปแล้ววิศวกรรมไทยมีประวัติมาอย่างยาวนานและได้รับความน่าเชื่อถือในประชาชนไทยอยู่
แล้ว จะมีกรณีเกิดอุบัติภัยบ้างเกิดจากการประมาณมากกว่าเกิดจากการความรู้ไม่เพียงพอ
ดังนั้นในเชิงพาณิชย์แล้ววิศวกรรมไม่น่ามีปัญหา จะยกเว้นบ้างในบางสาขาและในช่วงเศรษฐกิจถดถอย
อย่างไรก็ตามไทยต้องเปิดตลาดเสรีและจะมีวิศวกรมาจากต่างประเทศมาทางานมากขึ้น
ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งในการที่เราจะต้องยิ่งพัฒนาปรับปรุงวิศวกรรมของประเทศไทยให้มีคุณภาพเพิ่มมาก
ขึ้นไปกว่าที่เป็นอยู่
มิติสังคม
ก า ร เปิ ด ห ลั ก สู ต ร ป ริญ ญ า เอ ก ท า ง ส า ข า ฟิ สิ ก ส์ แ ล ะ ส า ข า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
เป็นอีกทางออกหนึ่งที่สามารถยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัย แต่เนื่องจากมีผู้สนใจน้อย
ก า ร ผ ลิ ต นิ สิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จึ ง ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ เ ท่ า ที่ ค ว ร
ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ข า ด ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก รั ฐ บ า ล
ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ก า ร รั บ นิ สิ ต เ ข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก นั้ น
จะต้องใช้อุปกรณ์และค่าใช้จ่ายสูงการขยายการศึกษาออกไปในระดับนี้ตามมหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่งจึงยัง
ไม่สามารถกระทาได้มากนักและไม่ได้รับความสนใจจากผู้ที่จะเข้าศึกษาเพราะขาดแคลนทุนทรัพย์และโอกา
สในการแสวงหางานทาภายหลังที่จบการศึกษาแล้วมีค่อนข้างจากัด สิ่งแวดล้อม
จ า ก อ ดี ต ที่ ผ่ า น ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
การเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการขยายตัวออกไปในวงกว้างและรวดเร็ว
มีการนาความรู้ทางด้านฟิสิกส์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาวิจัยในการสร้างสิ่งอานวยความสะดวก
เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ แ บ บ ยั่ ง ยื น
เ พื่ อ ใ ห้ ค น รุ่ น ใ ห ม่ ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์และเกิดคุณค่าสูงสุด มิติเทคโนโลยี/พลังงาน
ในอนาตตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยให้ประเทศพัฒนาต่อไป
เมื่ อ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ส ร้า ง มู ล ค่ า เพิ่ ม จ ะ ต้ อ ง น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ไ ป พั ฒ น า ให้ ดี ขึ้ น
ต ล อ ด จ น ช่ ว ย ใ ห้ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น ร ะ ดั บ นึ ง เ ช่ น
พึ่งพาตนเองทางด้านพลังงานของความต้องการทั้งหมดของประเทศเช่นการสร้างแหล่งพลังงานตนเอง หรือ
ใช้พลังงานสะอาดเป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาตร์
มิติเศรษฐกิจ
ในอนาคตคงปฎิเสธไม่ได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเ
ทศรวมทั้งเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการผลิตของประเทศ
เพื่อสร้างรายได้และยกระดับความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ของประเทศให้อยู่ในระดับที่ยังชีพได้
บทที่ 8 สิ่งแวดล้อมและพลังงาน
- มิติสังคม
ประเพณีและวัฒนธรรมตลอดจนความเชื่อที้ข้ามาสู่วิถึชีวิตในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพของค
นไทย การมห้ความสาคัญเกี่ยวกับทรัพยากรน้า กิน โดยถือว่าเป็นเทพเจ้า เช่น พระแม่คงคา พระแม่ธรณี
โดยสภาพทางภูมิศาสตร์และภูมิมิอากาศเป็นตัวช่วยส่งเสริมมิติทางสังคมอีกด้วย เช่น
ในภาคเหนือของประเทศไทยมมรภูมิศาสตร์จะมีฝนตกชุกตอนต้นฤดู โดยเหตุที่ภูมิประเทศเป็นพื่นที่ภูเขา
มีความลาดชัน จึงไม่สามารถเก็บกักน้าได้ไม่มากเท่าที่ควรเหมือนแถบภาคกลาง
ชาวเหนือจึงมีการรู้จักการทาฝายเพื่อเก็บน้าไว้ใช้ในการเพาะปลูก ซึ่งเมื่อถึงฤดูน้าหลาก
ฝายจะพังไปไม่กีดขวางทางเดินของน้าและไม่ก่อนให้เกิดปัญหาน้าท่วมรุนแรง
ซึ่งวิธีการต่างๆมีวิธีการสืบทอด บอกเล่าปละปฎิบัติกันมาตั้งแต่อดีต
โดยสมันกรุงรัตนโดสินทร์ก่อนและหลังรัชกาลที่5เริ่ม้ข้าสู่ระบบการจักการอย่างมีระบบโดยอาศัยหมอสอนศา
สนาเผื่อแพร่แต่ยังเผยแพร่ได้ในแวดวงที่จากัด ในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
มหาวิทยาลัยเริ่มมีบทบาทมากขึ้นเกี่ยวกับกับองค์ความรู้ต่างๆโดยที่มีมหาวิทยาลัยเป็นศุนย์กลางด้านความ
รู้
- มิติสิ่งแวดล้อม
ในปัจจุบันความพยายามในการพัฒนาประเทศตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่2
มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม และการเพิ่มขึ้นของประชากรในอัตราที่สูงมาก
ทาให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมองทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหามลพิษ
เนื่องจากมีความต้องการระบบสาธารณูปโภค วัสดุและพลังงาน โดยอุปสงค์ด้านพลังงาน ด้าน
คมนาคมและการขนส่งมีความต้องการพลังงานมากที่สุดถึงร้อยละ 41 ในปี 2541โยทาในมีการเกิดมลพิษ
เกิดแก้สเรือนกระจกที่จะทามห้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิกาศของโลกรุนแรงระยะยาว
และได้เกิดการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานสะอาดรวมถึงการควบคุมมลพิษที่มากยิ่งขึ้น
- มิติเทคโนโลยี/พลังงาน
หลังจากสงครามโลกครั้งที่2 มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม
มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหามลพิษเป็นอย่างมาก จึงทาให้เกิดมิติใหม่ของเทคโนโลยีคือ
ด้านเทคโนโลยีพลังงานสะอาด อธิเช่น ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานลม ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้า
ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นต้น เพื่อรองรับทรัพยากรจากธรรมชาติที่ใกล้จะหมดลง
และเกิดการรณรงค์ให้มีการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์ส่งสุด และร่วมกันลดการใช้พลังงาน เช่น โครงการ
ปิดไฟบ้านละดวง1ชม.
- มิติเศรษฐกิจ
จากการมีการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดการการวิจัย
และการประกอบธุรกิจจากพลังงงานสะอาดมากขึ้น รวมถึงกระบวนการบาบัดมลพิษ
ต่างๆทาให้เกิดอีกมิติทางด้านเศรษฐกิจและมีการจดสิทธิบัตรใช่ประโยชน์ในเชิงพานิชย์มากขึ้น
บทที่ 9 นโยบายและองค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
กล่าวถึงภาพในอดีตจนถึงสถานภาพปัจจุบัน
ได้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย
เริ่มมาจากในภาคการศึกษาที่เน้นวิชาการพื้นฐานทางวิทยาศาตร์
และการศึกษาวิจัยที่ได้ให้ความรู้ใหม่แล้วจึงขยายไปสู่การประยุกต์ใช้ที่คาดหวังว่าจะตอบสนองความต้องกา
รในภาคเศรษฐกิจและสังคม
เช่นเดียวกันกับนโยบายวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีของประเทศในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย
ที่ปรากฏเป็นลายลักอักษรในรัฐธรรมนูญและเอกสารนโยบายของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวของ
หรือนโยบายที่สะท้อนออกมาในรูปแบบจัดตั้งองค์กร
เป็นการมองวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่แยกออกมาจากส่วนอื่น ของระบบเศรษฐกิจและสังคม
การสนับสนุนสิ่งเหล่านี้เป็นหน้าที่ของรัฐ
เพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศ
บทบาทของภาครัฐนั้น องค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีขึ้นตั้งแต่ปี 2499
โดยมีหน้าที่และบทบาทที่แตกต่างกัน คล้ายคลึงกัน หรือส่งเสริมกัน
โดยมีการทางานที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบพอสมควร
จากนโยบายถึงการปฎิบัติและจากภาพรวมจนถึงระดับโครงการ ตลอดช่วงระยะเวลา 40 ที่ผ่านมา
องค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีวิวัฒนาการ
และมีความสมเหตุสมผลตามเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของไทยในช่วงต่างๆ
ซึ่งมีข้อสังเกตสาคัญคือ
องค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกิดขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีชั้นนา
และการจัดตั้งองค์กรอาจไม่ได้มีพื้นฐานมาจากนโยบายหรือแผนที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
เนื่องจากการกาหนดไว้ล่วงหน้านั้นเปิดกว้างจนเกินไป และมีสถาณการณ์และความจาเป็นในขณะนั้น
ทาให้เกิดเงื่อนไขในการแก้ปัญหาการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยการจัดตั้งองค์กรใหม่
ในอนาคต
การเสริมสร้างระดับความสามารถขององค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศควรได้รับควา
มสาคัญสูงในกระบวนการพัฒนา เพื่อหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือทั้งระบบมีความสามารถสูง
ในการนานโยบายและแผนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไปปฎิบัติจนเกิดความสาเร็จ
มิติสังคม
คนไทยได้มีการเรียนรู้และผูกพันกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาทุกยุคทุกสมัยไม่ว่าเป็นการเรียน
รู้ เ พื่ อ ท า ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ก า ร แ พ ท ย์ โ บ ร า ณ
การปรับตัวของไทยเริ่มเกิดในสมัยอยุธยาเมื่อมีการติดต่อกับประเทศตะวันตกก็เริ่มมีการนาความรู้แขนงต่าง
ๆมาใช้ เช่นคณิตศาสตร์ ในการค้าขาย จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์มีการปรับตัวอีกในปี 2398
เมื่อไทยทาสนธิสัญญาเบาวริ่ง ทาให้มีการค้าขายเข้ามาอย่างเสรี รวมไปถึงการแพทย์ การศึกษา การทหาร
เท ค โน โล ยี ท าให้ ส ภ าพ สังค ม แ ล ะค น ใน สังค ม ต้ อ งป รับ ตัวแ ล ะมีก ารพั ฒ น าขึ้น
เพื่อให้ทันกับยุคสมัยที่ปรับเปลี่ยนให้ทันกับเทคโนโลยี
มิติสิ่งแวดล้อม
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีพยายามในการพัฒนาประเทศ ส่งผลให้มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม
แ ล ะ ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ใ น อั ต ร า ที่ สู ง ม า ก
ท าให้ เกิด ปัญ ห าค วาม เสื่ อ ม โท รม ข อ งท รัพ ย าก รธ รรม ช าติ แ ล ะเกิด ปัญ ห าม ล พิ ษ
เนื่องจากมีความต้องการระบบสาธารณูปโภค วัสดุและพลังงาน ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2501
นักวิท ยาศ าสต ร์ก็พ ลิกบ ท บ าท จากอ าจารย์ม าเป็ น ผู้ให้ค าป รึกษ าแก่ อุต ส าห กรรม
งานวิจัยต่างๆ ซึ่งต้องต อบสนองความต้องการของภ าคการผ ลิต และบริการมากขึ้น
ซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด น วัฒ ก ร ร ม ใน ก า ร ผ ลิ ต ที่ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม น้ อ ย ล ง
อีกทั้งมีการรวมกระทรวงต่างๆเข้ามาด้วยกัน และเปลี่ยนชื่อเป็น “กระทรวงวิยทศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เพื่อเพิ่มและร่วมรับผิดชอบในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น
มิติเทคโนโลยี/พลังงาน
ในอนาตตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยให้ประเทศพัฒนาต่อไป
เมื่ อ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ส ร้า ง มู ล ค่ า เพิ่ ม จ ะ ต้ อ ง น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ไ ป พั ฒ น า ให้ ดี ขึ้ น
ต ล อ ด จ น ช่ ว ย ใ ห้ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น ร ะ ดั บ นึ ง เ ช่ น
พึ่งพาตนเองทางด้านพลังงานของความต้องการทั้งหมดของประเทศเช่นการสร้างแหล่งพลังงานตนเอง หรือ
ใช้พลังงานสะอาดเป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาตร์
มิติเศรษฐกิจ
ในอนาคตคงปฎิเสธไม่ได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเ
ทศรวมทั้งเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการผลิตของประเทศ
เพื่อสร้างรายได้และยกระดับความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ของประเทศให้อยู่ในระดับที่ยังชีพได้
และอีกทั้งสิ่งเหล่านี้ยังเป็นพื้นฐานของคนในการทางานเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้เข้มแข็งมากขึ้
น
บทที่ 10
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับสังคมไทยในอนาคต
แนวโน้มรวมของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับโลกใน 20 ปี ข้างหน้า
ความก้าวหน้าทางวิทยายาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลาส่งผลกระทบอย่างสูงต่อความมั่งคั่งของชาติแ
ละมาตรฐานการดารงชีวิตของเรา
มนุษย์จะสามารถสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตได้คล้ายพระเจ้ามากขึ้นจากความรู้เรื่องโคลนนิ่งและการตัดแต่ง
ยีนส์ในพืชหรือสัตว์เพื่อให้ได้สัตว์และพืชข้ามพันธุ์
ภาพฉายของสังคมไทยในอนาคต สังคมไทยในอนาคตก็จะมุ่งเข้าสู่ความพอเพียง
จะมีกระแสการมุ่งความพอเพียงและยั่งยืนในด้านต่างๆ
1.สังคมผสมผสาน สังคมจะต้องคานึงถึงปัญหานี้เป็นพิเศษเพราะมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลง
2.การผลิคการบริการและการค้าขายที่ไร้พรมแดง เช่นการผลิตวอฟแวร์ การบริการ
3.ลักษณะที่แปรเปลี่ยนของงาน จากแรงงานสู่ฝีมือและสมอง
ต่างไปจากเดิมที่พึ่งงานเกษตรเป็นหลักเท่านั้น
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต

More Related Content

Similar to กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต

Similar to กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต (20)

บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต

  • 1. ชื่อหนังสือ พัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยจากอดีตถึงอนาคต กลุ่ม โอโล่ 52211224 นายธนกร สิริวัฒนวรางกูร 54211289 นายธนกาญจน์ มีสง่า 54213954 นางสาวรีนา แสงเอี่ยม 54213962 นางสาวเมจิรา มิสยาม 54213642 นางสาววิศนีย์ ดังจะดี 51215430 นายเสกสรรค์ เพ็ชรเกลี้ยง 54210953 นายเปรม ชินวร 54211275 นายวิสุทธิ์พงศ์ แก้ววิทย์เทพสิทธิ์
  • 2. บทที่ 1 รากฐาน พัฒนาการและสถานภาพของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเกี่ยวกับการพัฒนาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยจากอดีตจนถึงปั จจุบันและอนาคต โดยบทแรกนี้จะกล่าวเน้นเกี่ยวกับรากฐานและสถานภาพของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวโดยสรุปคือ เดิมทีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นเป็นสิ่งที่อยู่ในวัฒนธรรมไทยมาช้านานแล้ว ถึ ง แ ม้ ว่ า เ พิ่ ง จ ะ มี ค า นี้ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ไ ท ย ไ ม่ น า น นั ก สามารถพบแนวคิดความเป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยได้จากภูมิปัญญาชาวบ้านต่างๆ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมบ้านเชียง ซึ่งมีความรุ่งเรืองในช่วงประมาณ เจ็ดพันปีมาแล้ว มีเทคโนโลยีของการใช้โลหะและการทาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้งานได้ดี และมีศิลปะที่งดงาม เป็นต้น จึงเป็นอันเข้าใจได้ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยไม่ได้รับอิทธิพลมาจากต่างชาติเสียหมด แ ต่ ส่ ว น ใ ห ญ่ แ ล้ ว ล้ ว น ม า จ า ก แ น ว คิ ด เ ดิ ม ข อ ง ไ ท ย ที่ แ ฝ ง ม า ทั้ ง สิ น อย่างไรก็ตามเมื่อโลกมีการพัฒนาเข้าสู่ยุคที่มีการติดต่อสื่อสารง่ายและสะดวกรวดเร็วจึงมีการแพร่กระจายวิ ทยาการต่างๆ จากต่างประเทศเข้ามามากขึ้นผ่านทางช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อิทธิพลของศาสนา อิทธิพลของตะวันตกและบทบาทของการค้าระหว่างประเทศ บทบาทของพระมหากษัตริย์ บทบาทของระบอบเมืองการปกครอง สาหรับพัฒนาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาเป็นเรื่องของการรับเ อาวิทยาการและผลผลิตมาใช้เพื่อกิจการต่างๆ รวมถึงการแพทย์ การเกษตร วิศวกรรม การค้าขาย แ ล ะบ ริก าร ถึ งแ ม้ ว่ าจ ะเกิ ด ป ระโย ช น์ ต่ อ กิ จ ก ารต่ างๆ เห ล่ านั้น ม าก ม าย ก็ ต าม ก า ร รั บ ดั ง ก ล่ า ว มี ร า ค า ที่ เ ป็ น ทั้ ง เ งิ น ต ร า ที่ ต้ อ ง จ่ า ย อ อ ก ไ ป แ ล ะ เป็ น ทั้ ง ก า ร พึ่ ง พ า ต่ า ง ป ร ะ เท ศ จ า ก เดิ ม ที ที่ เค ย พึ่ ง ต น เอ ง เป็ น ห ลั ก แ ล ะ มี ก า ร เ สื่ อ ม ถ อ ย ข อ ง ก า ร สั่ ง ส ม ภู มิ ปั ญ ญ า ดั้ ง เ ดิ ม อ า จ ไม่ ส าม าร ถ ก่ อ ให้ เกิ ด ก า รส ร้างสังค ม ที่ ยั่งยืน แ ล ะย า ว น า น ได้ ใน ระย ะ ย า ว ไทยจึงเริ่มมีแนวคิดที่จะไม่รับวิทยาการใหม่เข้ามาเท่านั้น แต่ต้องมีการสร้างวิทยาการใหม่ๆขึ้นมาเองด้วย แ ล ะ ผ ส ม ผ ส า น กั บ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ที่ มี อ ยู่ ดั้ ง เ ดิ ม แ ล้ ว ใ น สั ง ค ม และต้องก่อให้เกิดความรู้ความสามารถที่เรียกได้ว่าเป็นของตนเองได้ หรือสามารถกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือ การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะยังไม่สมบูรณ์และไม่นาไปสู่ความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่ า ง ยั่ ง ยื น ไ ด้ ห า ก ป ร ะ เ ท ศ ยั ง ไ ม่ มี ร ะ บ บ ที่ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ เกิดนวัตกรรมและความสามารถในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ และการพัฒนาสังคมโดยทั่วไป ต่อมาพบว่าสถานภาพปัจจุบันของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยได้ทาให้เห็นว่าในช่วงหลายสิบปี
  • 3. ที่ผ่านมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยได้มีพัฒนาการในแนวทางที่สามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น ในแง่ของการสั่งสมความรู้ การค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ด้วยตนเอง ดังนั้น สังค ม ที่ จ ะพั ฒ น า ก้ าว ห น้ าไป ได้ ต้ อ งเป็ น สังค ม ที่ เรีย น รู้จ าก อ ดี ต ส า ม า ร ถ ท ร า บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บั น ไ ด้ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง สาม ารถ ม อ งอ น าค ต แล ะค าด ก ารณ์ ได้เต็ม ค วาม ส าม ารถ แล ะข้อ มูล ที่ ต น มีอ ยู่แล้ว แ ล ะ เ ต รี ย ม ก า ร เ พื่ อ อ น า ค ต ไ ด้ อ ย่ า ง ดี ที่ สุ ด นั บ เป็ น แ น ว คิ ด ที่ จ ะ ก า ลั ง มี ก า ร พั ฒ น า ไ ป ใน รูป แ บ บ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ง ยื น คือไม่มีการส่งผลกระทบที่เสียหายต่อคนในรุ่นต่อๆ ไป ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นสังคม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และระบบเศรษฐกิจ บทที่ 2 ฟิ สิกส์และคณิตศาสตร์ ก ล่ า ว ถึ ง ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ตั้ ง แ ต่ อ ดี ต ปั จ จุ บั น รวม ถึงส ถ าน ภ าพ ทิศ ท างก ารพั ฒ น างาน วิจัย ฟิ สิก ส์แ ล ะค ณิ ต ศ าส ต ร์ไป สู่อ น าค ต โ ด ย จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ เ ป็ น ผู้ คิ ด ค้ น ก ฎ แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ต่ า ง ๆ ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ จาเป็นต้องอาศัยซึ่งกันและกัน เพราะบางครั้งสาขาฟิสิกส์ ก็ต้องการวิธีการคานวณของสาขาคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยแก้ปัญหาทางทฤษฎีที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้คาตอบเหล่ า นั้ น และในทางกลับกันสาขาคณิตศาสตร์ก็ต้องพึ่งพาทฤษฎีทางฟิสิกส์เพื่อเข้าไปปรับปรุงเสริมแต่งทฤษฎีต่างๆเ ช่นกัน ปัจจุบัน สถานภาพของฟิ สิกส์และคณิ ตศาสตร์ในไทย นับว่าก้าวหน้าพอสมควร แ ม้ ว่ า ม ห า วิท ย า ลัย ต่ า ง ๆ ได้ พั ฒ น า ก า ร เรีย น ก า ร ส อ น ใน ร ะ ดั บ สู ง แ ล้ ว ก็ ต า ม แต่ในด้านการวิจัยทางฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ที่มีคุณภาพทัดเทียมกับต่างประเทศนั้นยังล้าหลังอยู่มาก ทั้งนี้เพราะขาดผู้นาทางในฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ ที่รัฐบาลส่งนักเรียนไปศึกษาจนได้รับปริญญาเอก แล้วกลับมาเข้ารับราชการทันทีนั้นทาให้ผู้ที่สาเร็จการศึกษาขาดประสบการณ์ในการเป็นผู้นาวิจัย ซึ่งเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันมานาน (มิติสังคม) ก า ร เปิ ด ห ลั ก สู ต ร ป ริญ ญ า เอ ก ท า ง ส า ข า ฟิ สิ ก ส์ แ ล ะ ส า ข า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เป็นอีกทางออกหนึ่งท่สามารถยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัย แต่เนื่องจากมีผู้สนใจน้อย ก า ร ผ ลิ ต นิ สิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จึ ง ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ เ ท่ า ที่ ค ว ร ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ข า ด ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก รั ฐ บ า ล ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ก า ร รั บ นิ สิ ต เ ข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก นั้ น จะต้องใช้อุปกรณ์และค่าใช้จ่ายสูงการขยายการศึกษาออกไปในระดับนี้ตามมหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่งจึงยัง
  • 4. ไม่สามารถกระทาได้มากนักและไม่ได้รับความสนใจจากผู้ที่จะเข้าศึกษาเพราะขาดแคลนทุนทรัพย์และโอกา สในการแสวงหางานทาภายหลังที่จบการศึกษาแล้วมีค่อนข้างจากัด (มิติเศรษฐกิจ) ใน ศ ต ว ร รษ ที่ ผ่ า น ม า เริ่ม ตั้ง แ ต่ มี ก า ร ค้ น พ บ ข อ ง Einstein ใน ปี ค .ศ . 1905 แ ล ะ ต า ม ม า ด้ ว ย ก า ร ค้ น พ บ ท ฤ ษ ฎี ค ว อ น ตั ม ใ น ปี ค . ศ . 1925 ทาให้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ทุกสาขาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว โดยอาศัยทฤษฎีควอนตัม เช่น การทาสารกึ่งตัวนามาใช้ประโยชน์ในการสร้างวงจรรวม หรือ IC ทาให้เกิดการพัฒนาวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังมีการสร้างเครื่องเร่งอนุภาคที่มีพลังงานสูงเพื่อที่จะสลายนิวเคลียสหรืออนุภาค มี ก า ร ค้ น พ บ ส่ ว น ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ข อ ง อ นุ ภ า ค มู ล ฐ า น เ ช่ น Quark แ ล ะใน ข ณ ะเดี ย ว กั น ก็ มี ค ว า ม พ ย าย า ม ที่ จ ะร ว บ รว ม ท ฤ ษ ฎี ต่ า งๆ เข้ า ด้ ว ย กั น อีกทั้งความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ทาให้ปัญหาต่างๆ ที่ยุ่งยาก เช่นการคานวณอุตุนิยมวิทยา การคานวณสมการ non-linear ทางคณิตศาสตร์ ก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณได้ ซึ่งเท ค โน โลยีต่ างๆ ที่วิจัยและพัฒ น าอย่างต่ อเนื่ องนี้ ช่วยแก้ปัญ ห าต่ างๆ ที่ ยุ่งยาก ให้ง่ายสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน) จ า ก อ ดี ต ที่ ผ่ า น ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า การเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการขยายตัวออกไปในวงกว้างและรวดเร็ว มีการนาความรู้ทางด้านฟิสิกส์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาวิจัยในการสร้างสิ่งอานวยความสะดวก เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ แ บ บ ยั่ ง ยื น เ พื่ อ ใ ห้ ค น รุ่ น ใ ห ม่ ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์และเกิดคุณค่าสูงสุด (มิติสิ่งแวดล้อม) บทที่ 3 เคมี ม นุ ษ ย์ บ ริ โ ภ ค ส า ร เ ค มี กั น จ น ชิ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ มากมายซึ่งเป็นผลมาจากอุตสาหกรรมทางเคมีได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน จ น อ า จ เ ป็ น ดั ช นี วั ด ค ว า ม มั่ ง คั่ ง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้ เ ล ย ที เ ดี ย ว ในขณะที่ปัจจัยสี่ของมนุษย์ล้วนแต่ประกอบด้วยสารเคมี จนอาจกล่าวได้ว่าทุกสิ่งประดิษฐ์ที่เราจับต้อง มองเห็น หรือบริโภคแล้ว ล้วนแต่ต้องผ่านมือนักเคมีมาทั้งสิ้น เคมีกับชีวิตประจาวันจึงไม่อาจแยกจากกันได้ อย่างไรก็ดีเคมีเปรียบเสมือนดาบสองคม การใช้สารเคมีอย่างไม่ถูกวิธีหรือไม่ระมัดระวัง ย่อมก่อให้เกิดโทษอย่างมหันต์ ดังที่ปรากฏให้เห็นโศกนาฏกรรมให้เห็นอยู่เนื่องๆ อาทิ การป น เปื้ อน สารเค มีในอาห ารสัต ว์ ซึ่งส่งผ ลให้เนื้ อสัตว์และผลิตภัณ ฑ์ ที่เกี่ยวข้อง มีสารพิษเจือปนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค กรณีการรั่วไหลของสารพาที่ถูกกาจัดโดยการฝังไว้อย่างไม่ถูกวิธี กรณีที่สารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ข าด จิต ส านึ ก ค ว าม รับ ผ อ ด ช อ บ ห รือ เพี ย งเพื่ อ ต้ อ งก ารล ด ต้ น ทุ น ใน ก ารผ ลิต
  • 5. เหล่านี้เป็นปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมเป็นพาอย่างร้ายแรงโดยตรงในประเทศและทั่วโลก (มิติสังคมและสิ่งแวดล้อม) ในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเติบโตอย่างรวดเร็วและหลายหน่วยงานโดยเฉพาะในภ า ค รั ฐ เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า ม จ า เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ต้ อ ง ผ ลิ ต นั ก เ ค มี เ พิ่ ม โดยได้ให้ทุนส่งนักเรียนไปศึกษาต่อระดับปริญ ญ าเอกในต่างประเทศเป็ นจานวนมาก รวมทั้งได้จัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่เพิ่มขึ้นอีกหลายแห่ง ซึ่งผลที่เป็นไปได้นั้นก็มีทั้งทางบวกและทางลบ ก ล่ าว คือ อ าจารย์ที่ มีอ ยู่ เดิม ต้ อ งใช้ เว ล าใน ก ารส อ น แ ล ะคุ ม ป ฏิ บัติ ก ารอ ย่ างม าก จนไม่มีเวลาในการค้นคว้าวิจัยหาความรู้ใหม่ๆให้ทันความก้าวหน้าของศาสตร์ที่ตนรับผิดชอบอยู่เท่าที่ควร (มิติเศรษฐกิจ) การวิจัยเคมีในปัจจุบันถือว่าดีพอสมควร เมื่อพิจารณาถึงทรัพยากรต่างๆ ทั้งทางด้านบุคลากร อุปกรณ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยงานและองค์กรที่มีอยู่ในประเทศ แต่การพัฒนาประเทศให้รุดหน้าจาเป็นต้องอาศัยนักวิจัยจานวนมาก ซึ่งเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่นักเคมีในประเทศเริ่มรวมกลุ่มวิจัยกันมากขึ้นและมีการร่วมมือกับนักวิจัยต่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน มีอุตสาหกรรมเคมีที่ใช้แหล่งวัตถุดิบที่มีอยู่ในประเทศอย่างเต็มกาลังเพื่อเพิ่มมูลค่าทรัพยากรของประเทศ รวมทั้งให้การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่อาจนาเข้าวัตถุดิบแต่ใช้เทคโนโลยีที่ค้นพบและพัฒนาขึ้นในประเทศ ตลอดจนอุตสาหกรรมที่มีความหวังที่จะสามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน) บทที่ 4 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เป็นวิชาที่ว่าด้วยวิทยาการขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล เซลล์ อวัยวะ จนถึงระดับวิ่งมีชีวิตทั้งตัว ในสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพมีหลายสาขา ได้แก่ ชีววิทยา จุลชีวิทยา ชีววิทยาของเซลล์ สรีรวิทยา พฤกษศาสตร์ ฯลฯ จะเห็นได้ว่าวิชาทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพจะครอบคลุมถึงสภาวะต่างๆของสิ่งมีชีวิต จึงเป็นรากฐานสาคัญของด้วนวิทยาศาสตร์การแพทย์ อดีต คนไทยมีวัฒนธรรมมาช้านาน มีภูมิปัญญาชาวบ้าน คนไทยรู้จักทาอาหารหมักดอง การใช้ยาสมุนไพรในการรักษา การนวดแผนโบราณ การเก็บเกี่ยว รู้จักการใช้ประโยชน์จากพืช ผัก ผลไม้ต่างๆ ร.4 ได้ทรงริเริ่มการพัฒนาด้านการแพทย์ให้ทัดเทียมอารยะประเทศได้มีการปรับโครงสร้างการบริหารและการบ
  • 6. ริการต่างๆการแพทย์และสาธารณะสุขได้เปลี่ยนจากแพทย์แผนโบราณมาเป็นแพทย์สมัยใหม่ มีการจัดโรงเรียนแพทย์ ได้มีการจัดให้มีหลักสูตรการแพทย์ตามแบบประเทศตะวันตก ต้องอาศัยความรู้ขั้นพื้นฐานทั้งวิทยาศาสตร์กายภาพ และ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ปัจจุบัน วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้พัฒนาเปลี่ยนแปลง ทาให้วิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยมีลักษณะโดดเด่นกว่าวิทยาศาสตร์กายภาพเป็นอย่างมาก ทั้งด้านการเรียนการสอน และการวิจัย อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆมีปัญหามากเรื่องการทดลอง เนื่องจากโรงเรียนมีขนาดและคุณภาพต่างกันมากทาให้โรงเรียนจานวนมากขาดอุปกรณ์และไม่ที่จะให้นักเรี ยนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการทดลอง เป็นเหตุให้นักเรียนไทยไม่สามารถคิดริเริ่มหรือแก้ไขปัญหาวิทยาศาสตร์โดยการทดลองอย่างเป็นระบบ และ คิดอย่างนักวิทยาสาสตร์ได้ ในด้านการวิจัยและพัฒนามีการสนับสนุนการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาและการจัดระบบทุนอุดหนุนการวิจั ย ได้ทาให้ประเทศไทนมีผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทั้งที่ปรากฏต่อวงการวิชาการโลก และที่ได้นาไปใช้ประโยชน์ในประเทศ และยังมีความก้าวหน้าด้านการศึกษาและวิจัยจึงมักจะนาความรู้และเทคนิคต่างๆของวิทยาศาสตร์ชีวภาพม าตอบปัญหาและแก้ไขปัญหาทางการแพทย์จนกลายเป็นศาสตร์ใหม่ที่เรียกว่า เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) สาขานี้มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเทคนิคและอุปกรณ์ ที่จะนาไปใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีในสมัยก่อน เช่น การหมักสุรา การผลิตวัคซีนและการตัดต่อยีน และอีกมากมายมาประยุกต์ทาให้จุลชีววิทยาศาสตร์มีการเจริญก้าวหน้าไปคู่ขนานกับเทคโนโลยีชีวภาพ อนาคต ถึงแม้ว่าวงการวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยได้เจริญก้าวหน้าจนก่อให้เกิดการประยุกต์ใช้อย่างได้ผลอย่างชั ดเจนหลายกรณีแต่อนาคตของวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยจะเป็นอย่างไรเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาหลายด้า นที่สาคัญ ได้แก่ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ระดับโลก และการต้องการใหม่ๆด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทย ฉะนั้นจะเป็นประโยชน์ไม่น้อยหากวิทยาศาสตร์ชีวภาพของไทยจะถูกพัฒนาให้มากยิ่งขึ้น ให้มีศักยภาพมากๆ บทที่ 5 เกษตรศาสตร์
  • 7. ประเทศไทยนั้นได้ชื่อว่าเป็นประเทศกสิกรรมมาช้านาน ด้วยความเหมาะสมของทรัพยากรและสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ จากการสืบค้นหลักฐานที่มีอยู่สามารถแบ่งวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงทางกสิกรรมของประเทศไทยได้เป็น 6 ยุคสมัยด้วยกันคือ การเกษตรในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งมีการขุดค้นทางโบราณคดีได้พบพืชที่เป็นอาหาร ยา และเครื่องเทศ เช่น แหล่งโบราณคดีถ้าผี จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งอยู่ในสมัยหินกลางประมาณ 9000 ปีมาแล้วได้พบ ถั่ว แตงร้าน น้าเต้า หมาก พลู ดีปรี พริกไทย มะซาง สมอไทย สมอพิเภก มะกอกเกลื่อน มะเยา และท้อ และในแหล่งโบราณคดีเขาสามเหลี่ยม จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อสมัย 4000 ปีมาแล้วได้พบ ข้าว ไม้ไผ่ แสดงให้เห็นว่าคนไทยโบราณรู้จักวิธีปลูกข้าวเพื่อใช้เป็นอาหารหลักมานานแล้ว การเกษตรในยุคสุโขทัย ( พ.ศ. 1781 – 1893 ) จากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงในสมัยกรุงสุโขทัยซึ่งเริ่มประมาณ พ.ศ. 1800 ได้มีระบบการปลูกพืชเป็นแปลงขนาดใหญ่ มีระบบทดน้าและระบายน้าเป็นอย่างดี และมีแหล่งน้าสะอาดอยู่ใจกลางเมือง แปลงปลูกพืชที่เป็นป่าก็มีทั้ง ป่าพลู ป่าผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม มะพร้าว ตลอดไปจนถึงไร่และนาซึ่งมีอยู่มากมาย และโดยนโยบายที่รับรองการเป็นเจ้าของใครทาแปลงปลูกอย่างไรไว้ก็ยกให้แก่ผู้ปลุกผู้สร้างนั้นและเมื่อเจ้าข องตายไปก็ให้เป็นมรดกตกทอดแก่ลูกหลาน ทาให้เกิดประโยชน์ มีกาลังใจ และทาให้การเกษตรได้พัฒนาไปได้มาก การเกษตรสมัยกรุงศรีอยุธยา ( พ.ศ. 1893 - 2310 ) ในสมัยนี้การเกษตรถือว่ามีความสาคัญถึงกับมีตาแหน่งขุนเกษตราธิบดีปรากฏอยู่ในกฎหมาย ลักษณะเบ็ดเสร็จดูแลกรมนา ซึ่งกรมนามีหน้าที่ว่าด้วยการไร่นาและสัตว์พาหนะ มีบทบัญญัติต่างๆ ว่าด้วยลักษ ณ ะที่ราษฎรทากิจกรรมเกษ ตรพิพาทกัน ต่อมาสมัยพระเจ้าปรา สาททอง ก็ ได้ ข ย าย ห น้ าที่ ก รม น า ม า ก ขึ้ น โด ย จัด ตั้งก รม น าอ อ ก ไป ป ระจ าต าม หั ว เมื อ ง มีหน้าที่จัดการกับที่ดินรกร้างว่างเปล่าให้มีการใช้ประโยชน์ จัดการเกี่ยวกับชลประทาน เ ก็ บ ภ า ษี เ ป็ น ห า ง ข้ า ว ขึ้ น ฉ า ง ห ล ว ง กล่าวได้ว่าข้าวเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้กรุงศรีอยุธยามีความมั่งคั่งเพราะเป็นสินค้าส่งออกที่สาคัญ เนื่องจากเป็นที่ต้องการของประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เขมร จีน อินเดีย เป็นต้น
  • 8. การเกษตรสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือ ยุคปฏิวัติเขียว และยุคโลกาภิวัตน์ 1.การเกษตรยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ( พ.ศ. 2325 – 2484 ) ในสมัยนี้ประเทศแถบยุโรปมีการใช้เครื่องจักรกลแทนเรือใบ สามารถขนส่งสินค้าได้รวดเร็วขึ้น โดยไม่ต้องรอเวลาเช่น ลมมรสุมในการแล่นเรือใบ และทาให้ยุโรปพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ความต้องการวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ทาให้เกิดการล่าอาณานิคม สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระหนักถึงภัยคุกคามของประเทศต่างๆในยุโรปที่อ อกล่าอาณานิคม เมื่อทรงพระประชวรหนัก ได้ทรงสั่งเสียเอาไว้ว่า “ การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่คิด ควรจะเรียนเอาไว้ก็ให้เอาอย่างเขา แต่อย่านับถือเลื่อมใสไปทีเดียว ” อาจเป็นเพราะเหตุนี้เอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงคบหาสมาคมให้ชาวต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศในยุโรปจนได้เป็นที่รู้จักของชาวต่างประเทศในนาม “ คิงมงกุฏ ” ในเวลาเดียวกันได้ทรงอาศัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือในภารกิจการเจรจาและทาสัญญาทางพระราชไมตรีกับต่างประเทศ เริ่มที่จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน และเริ่มมีการส่งนักเรียนไทยไปเรียนในต่างประเทศ เมื่อมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( ปี 2411 – 2453 ) ทรงนาความทันสมัยวิวัฒนาการต่างๆที่ได้เสด็จไปประพาสประเทศต่างๆในยุโรปมาบูรณะกิจการบ้านเมือง ทาให้เป็นที่เคารพรักใคร่ของประชาชนทั่วไป และได้ขนานพระนามว่า “ พระพุทธเจ้าหลวง ” หรือ “ สมเด็จพระปิยมหาราช ” ทาให้เกิดหน่วยงานต่างๆเพิ่มมากขึ้นเช่น กรมป่าไม้ การชลประทาน การประมง การกสิกรรม การปศุสัตว์ การสัตวแพทย์ เป็นต้น 2.การเกษตรยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองหรือยุคปฏิวัติเขียว ( พ.ศ. 2489 – ปัจจุบัน ) การเกษตรได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะความขาดแคลนอาหารทั่วโลก ผลผลิตไม่เพียงพอ ทาให้เกิดองค์การและองค์กรความร่วมมือระหว่างนานาชาติ เพื่อแก้ไขปัญหานี้ องค์กรต่างประเทศที่มีบทบาทสูงในความร่วมมือทางวิชาการซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาการเกษตรของประเทศไ ทยมีดังนี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์กรวิจัยทางการเกษตรนานาชาติ ฯลฯ เป็นต้น ทาให้ประเทศไทยมีการพัฒนาในด้านต่างๆเช่น การศึกษาทางด้านการเกษตร การวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร การตอบสนองความต้องการของสังคมและเศรษฐกิจไทย
  • 9. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งในยุคนี้มุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิตโดยไม่ได้คานึงถึงสิ่งแวดล้อมเท่าไรนัก 3.การเกษตรยุคโลกาภิวัตน์ การเกษตรในยุคปฏิวัติเขียวได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ การตัดไม้ทาลายป่าเพื่อการเกษตร การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ฯลฯ เป็นต้น ทาให้ทั่วโลกต้องหันมาใส่ใจสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น โดยมีการคิดแนวคิดทางการพัฒนาการเกษตรในยุคโลกาภิวัตน์ขึ้น ซึ่งในปัจจุบันมีอยู่2แนวทางคือ 3.1 การเกษตรยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการจัดการและสงวนไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ โดยปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสถาบันไปในทางที่มนุษย์จะรับได้ต่อไปตามความต้อง การด้วยความพอใจทั้งในปัจจุบันและลุกหลานในอนาคต การพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านการเกษตร ป่าไม้และประมง รักษาไว้ซึ่งที่ดิน น้า และทรัพยากรพันธุกรรมของพืชและสัตว์เป็นการไม่ทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมทรามลง มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม เศรษฐกิจอยู่ได้และเป็นที่ยอมรับของสังคม 3.2 ทฤษฎีใหม่ : เศรษฐกิจพอเพียง เป็นพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อันเป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้าเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะในที่ดินขนาดเล็ กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการบริหารและจัดการที่ดินต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี และมีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 แบ่งพื้นที่ให้เหมาะสมเป็นสัดส่วน มีพื้นที่เป็นสระเก็บกักน้า พื้นที่ปลูกข้าวเพื่อบริโภค พื้นที่ปลูกพืชอื่นผสมผสาน และพื้นที่อยู่อาสัย ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเกษตรกรเข้าใจหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนเองได้ผลแล้ว จึงดาเนินการโดยรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้านการผลิต การตลาด และความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา โดยกิจกรรมดังกล่าวต้องร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ ส่วนเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้น ขั้นตอนที่ 3 คือติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัทจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
  • 10. บทที่ 5 เรื่อง เกษตรศาสตร์ การเกษตรของไทยสามารถสืบค้นไปได้ถึงยุคก่อนประวัติศาสตร์ (มิติสังคม) และได้เจริญก้าวหน้ามาตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือก่อนหน้านั้น ได้มีการสะสมภูมิปัญญาแห่งท้องถิ่นถ่ายทอดกันมาในลักษณะของการเกษตรเพื่อยังชีพ แต่เมื่อสถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการเกษตรและพาณิชย์ของประเทศให้ เจริญทัดเทียมอารยประเทศ ได้มีการนาความรู้และวิทยาการเข้ามาหลายรูปแบบ ตั้งแต่การนาข่าวสารข้อมูลต่างประเทศเข้ามา จ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศให้มาปฏิบัติงาน ส่งเจ้าหน้าที่ไทยไปร่วมกิจกรรมกับต่างประเทศไปดูงาน หรือไปศึกษาฝึกอบรมในต่างประเทศ จนสามารถสร้างบุคลากรชั้นนาทางการเกษตรซึ่งมีบทบาทสาคัญ ในการพัฒนาการเกษตรของประเทศหลายคนหลายวิชาสาขา (มิติเศรษฐกิจ) แต่การพัฒนาวิทยาการด้านนี้ต้องหยุดชงักลงด้วยผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่สอง ครั้งซึ่งยังผลให้เศรษฐกิจตกต่าไปทั่วโลก วิทยาการทางการเกษตรของไทยมาขยายตัวอีกครั้งหนึ่งหลังสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเป็นยุคของกา รปฏิวัติเขียว เมื่อเกิดการขาดแคลนอาหารไปทั่วโลก ประเทศไทยในฐานะเป็นแหล่งผลิตอาหารให้แก่โลก กลายเป็นประเทศที่ได้รับการทุ่มเทจากต่างประเทศให้ความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ ทาให้สถาบันทางการเกษตรของไทยมีความเข้มแข็งขึ้น ทั้งในด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ กาลังคนที่มีความรู้ความสามารถซึ่งได้ขยายตัวออกไปรวดเร็ว เป็นผลให้ประเทศไทยผลิตพืชผลต่างๆ ที่มีความหลากหลายจากเดิมซึ่งมีไม่กี่ชนิดเป็น 300 – 400 ชนิด และผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ขยายพื้นที่เพาะปลูกออกไปถึง 108 ล้านไร่ แต่เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่แล้วนับว่าต่า แม้จะได้นาวิทยาการสมัยใหม่มาใช้ในด้านการปรับปรุงพันธุ์ การให้น้าให้อาหาร การอารักขาพืชและสัตว์ การเก็บเกี่ยวและอุตสาหกรรมแล้วก็ตาม
  • 11. แต่การลงทุนในด้านการวิจัยและพัฒนาที่ขาดตกบกพร่อง การให้การศึกษาที่ไม่ตรงเป้า ฯลฯ ทาให้ผลการพัฒนาไม่เจริญเท่าที่ควร พร้อมกับกาลังคนผู้มีความรู้ความสามารถลดลงอย่างรวดเร็ว และในทางกลับกัน (มิติสิ่งแวดล้อม)การขยายพื้นที่เพาะปลูกส่งผลในทางลบให้เกิดขึ้น ทั้งในด้านป่าไม้ถูกทาลาย สูญเสียทรัพยากรชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้า ทาลายสมดุลธรรมชาติ ความสวยงามและความมั่นคงของประเทศ ในยุคโลกาภิวัตน์ การเกษตรของไทยมีผลกระทบอย่างรุนแรงจากการจัดระเบียบเศรษฐกิจใหม่ของโลก ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาการเกษตรของประเทศเพื่อนบ้าน การเกษตรของไทยจะต้องปรับเปลี่ยนไปสู่รูปแบบของการเกษตรยั่งยืน (มิติเทคโนโลยี/พลังงาน) และทฤษฎีใหม่หรือเกษตรพึ่งตนเอง ซึ่งต้องการกาลังคนผู้มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถสูงทางด้านการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีความรู้ และเทคโนโลยีฟิสิกส์ มาผสมผสานเป็นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่จะนาการเกษตรอันเป็นแกนหลักของชาติไปสู่ความอยู่รอดภายใ ต้การแข่งขันในระดับสากล ซึ่งนับวันจะมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้นทุกที บทที่ 6 แพทยศาสตร์ มุมมองของการแพทย์ไทย การแพทย์คู่กับการดารงชีวิตและอยู่คู่กับประวัติศาสตร์ของประเทศ แต่เนื่องจากขาดการบันทึกจึงไม่ปรากฏหลักฐานเด่นชัด การแพทย์แผนตะวันตกเริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อมีการติดต่อกับประเทศตะวันตก หรือประมาณปี 2504 ปัจจุบันมีโรงพยาบาลในจังหวัดทุกจังหวัดและทุกอาเภอ มีสถานีอนามัยทุกตาบลและมีบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขรวมทั้งการป้องกัน ส่งเสริมไปจนถึงบริการรักษาพยาบาลขั้นตติยภูมิที่มีคุณภาพ และเป็นโครงสร้างสาคัญหนึ่งในการประยุกต์ใช้วิทยาการทางด้านการแพทย์ เกิดประโยชน์ในการลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชนไทย ควบคู่กับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ในกรุงเทพ โดยอาศัยฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน 1.ลักษณะของพัฒนาการทางการแพทย์ การแพทย์ของประเทศไทยได้พัฒนาไปในทาง 2 ลักษณะคือ 1.1พัฒนาการตามกาลเวลาพร้อมกับความเจริญของโลกและอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้น้ายาไอโอดีน วินิจฉัยโรคตับเป็นต้น
  • 12. 1.2พัฒนาการโดยการคิดค้นขึ้นเองทาให้เกิดความรู้ใหม่หรือวิธีการใหม่ โดยมีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปจากการสอนที่มากด้วยรายละเอียดไปสู่การสอนให้ทราบแนวคิดเน้นถึงการรู้จัก คิดและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบให้ความสาคัญต่อชนบท จริยธรรม เศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น 2.ผลงานที่น่าสนใจ เช่น โรคไข้เลือดออก ทาให้ช่วยลดอัตราการตายของผู้ป่วยลงได้มาก และเป็นที่ยอมรับในสากล 3.ข้อเสนอแนะ การแพทย์แผนไทยตั้งแต่โบราณกาลมาจนถึงปัจจุบันเป็นไปในลักษณะการตั้งรับได้แก่การศึกษาปัญหาและ การแก้ปัญหา ในอนาคตแพทย์ไทยควรจะรุก โดยต้องมีความรู้มากทั้งกว้างและรุก คิดใคร่ครวญให้มาก เพื่อจะสามารถแก้ไปปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ทันที - มิติสังคม การปฏิรูปสุขภาพ - มิติสิ่งแวดล้อม การพัฒนาการตามกาลเวลาพร้อมกับความเจริญของโลกและอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม - มิติเทคโนโลยี/พลังงาน ปัญหาโภชนาการ - มิติเศรษฐกิจ การปรับปรุงการศึกษาทั้งด้านการแพทย์และการสาธารณสุข บทที่ 8 สิ่งแวดล้อมและพลังงาน(สรุปเนื้อหา) ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม โดยหลังจากสงครามโลกครั้งที่2 เป็นต้นมาทุ่มเททรัพยากรต่างๆเพื่อนพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเริ่มต้นจากสร้างปัจจัยพื้นฐานได้แก่ สาธารณูปโภคต่างๆ แหล่งพลังงาน การพัฒนาเทคโนโลยี การเพิ่มประชากรและการใช้พลังงานเป็นการใช้พลังงานเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกัน การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหินและปิโตรเลียม ทาให้เกิมลพิษทางอากาศทั้งในระดับท้องถิ่นเช่น คาร์บอนมอนอกไชค์ ฝุ่นละออง จนถึงระดับระหว่างชาติ เช่น ในกรด และระดับโลกเช่น สภาวะเรือนกระจก ในประเทศที่กาลังพัฒนามีส่วนทาให้เกิดการสูญเสียป่าและคุณภาพของดินเป็นอย่างมาก ซึ่งผลกระทบและการงานวิจัยเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและธรรมชาติในประเทศไทยยังมีการเผื่อแพร่ข้อมูลข่า วสารอยู่ในแวดวงที่จากัด และการศึกษาในปัจจุบันมีการสอดแทรกผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและพลังงานยังไม่เพียงพอในอนาคตปัญ
  • 13. หาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานได้รับการใส่ใจมากขึ้นอละตระหนักถึงปัญหาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติม ากเกินไปในปัจจุบัน และมีการพัฒนาเทคโนโลยีพร้อมทั้งวิจัยพลังงานสะอาด ทั้งนี้ประเทษไทยควรมีการพัฒนาวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและพลังงานควร พัฒนาคนอละพัฒนาเชิงวิชาการควบคู่กันไป โดยตั้งอยู๋บนพื้นฐานความเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมไม่ได้จากัดอยู่กับเฉพาะสาขาวิชาหรือภาควิชา หรือในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและพลังงานเท่านั้น ซึ่งหัวใจการพัฒนาวิชาการแบ่งออกเป็น 4แนวทางคือ การบาบัดมลพิษ การพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด ความเข้าใจสิ่งแวดล้อม และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยที่รัฐควรควรสนับสนุนและออกมาตรการต่างๆเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและพลังงานควบคุมมลพิษ และสนับสนุนดารวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ บทที่ 7 วิศวกรรมศาสตร์ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ล ะ ส ร้ า ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ทาให้มนุษย์โบราณสามารถสร้างเครื่องมือนานาชนิด นับตั้งแต่เครื่องมือพื้นฐาน เช่น ขวาน ไป จ น ถึ งสิ่งป ระดิ ษ ฐ์ที่ มีค ว าม ซั บ ซ้ อ น แ ล ะน่ าทึ่ ง เช่ น ปี ระมิด แ ล ะป ราส าท หิ น ส ม า ร ถ คิ ด ค้ น ล้ อ ที่ ช่ ว ย ให้ ส ร้า ง พ า ห น ะ เพื่ อ ข น สิ่ ง ข อ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก สามารถสร้างสะพานเพื่อทอดข้ามสารธารแม่น้าและหุบเหวสามารถคิดค้นเครื่องมือสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์ นอกจากนั้นยังสามารถคิดค้นยารักษาโรคด้วยสมุนไพรที่พบในธรรมชาติได้ ใ น เ มื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม คื อ ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ดั ง นั้ น จึ ง อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม มี ม า แ ต่ โ บ ร า ณ ก า ล แ ล้ ว ผ ล ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ที่ ต ก ท อ ด ม า น า น ห ล า ย พั น ปี มี ม า ก ม า ย อ า ทิ ปิระมิดในอียิปต์ปราสาทหินที่น้อยแต่ก็น่าอัศจรรย์ใจในความสามารถของผู้สร้างที่มีเครื่องมือกลที่จากัดมาก ก า ร ท า ง า น ต้ อ ง อ า ศั ย พ ลั ง แ ร ง ค น เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่ สาหรับผลงานก่อสร้างในยุคเมื่อร้อยกว่าปี เศษ มาจนถึงปัจจุบันมีมากมายนับไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเป็นอาคารระฟ้าที่โด่งดัง อย่างเช่น อาคารเอ็มไพร์สเตท จนถึงอาคารปิโตนัสในกรุงกัวลาลัมเปอร์ และอาคารใบหยกในกรุงเทพ ในงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมของประเทศทั้งหลายนั้นโดยปกติ มักจะเกี่ยวข้องกับสถาบันหลายแบบที่สองก็คือสถาบันวิชาชีพซึ่งเป็นที่รวมให้ผู้ประกอบวิชาชีพในด้านเดียว กันได้มาพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเจรจาต่อรองกับผู้อื่นหรือกาหนดมาตรฐานเพื่อควบคุมการดาเนินง าน ข อ งผู้ป ระก อ บ วิช าชีพ เดีย วกัน ไม่ ให้ เกิด ก ารทุ จริต ห รือ ท าผิด ต่ อ จรรย าบ รรณ และแบบที่สามก็คือสถาบันมาตรฐานของรัฐซึ่งทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ให้เป็นแบบเดียวกันทั่วประเทศหรือให้เข้ากับมาตรฐานสากลได้
  • 14. ในอดีตที่ผ่านมาวิศวกรไทยที่มีความสูงหลายท่านได้ฝากผลงานวิศวกรรมอันยิ่งใหญ่ไว้ให้เป็นมรดก มาถึงทุกวันนี้ในอดีตเรามีคุณพระเจริญวิศวกรรมซึ่งเป็นคณบดีหลายยุคสมัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ คุ ณ ห ล ว ง ช ล า นุ ส ร ณ์ ซึ่ ง เป็ น ผู้ เชี ย ว ช า ญ ท า ง ด้ า น ช ล ศ า ส ต ร์ คุณพระประกอบยันตรกิจและคุณหลวงอนุศาสน์ตรกรรมซึ่งเชียวชาญทางด้านชลศาสตร์ คุณ พ ระประกอบ ป ระสิท ธิกลมัย ผู้เชี่ยวชาญ ท างด้าน การรถไฟ นายควง อถัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีและผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์เองก็เป็นวิศวกรสื่อสารและมอบหน้าที่ในการตัดระบบสื่อส ารระหว่างการปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 พลอากาศโทมุนี มุนีมหาสันทนะ เวชยันตรังต์สฤดิ์ ผู้รับตาแหน่งเป็นประธานกรรมการท่านแรกของวิศวกรรมสถานแห่งชาติในบรมราชูปถัม เมื่อปี 2486 พลโท พ ร ะ ย า ศั ล วิ ธ า น นิ เ ท ศ ผู้เชี่ยวชาญแผนที่และได้เป็นสมุหราชมณเฑียรด้วยความจงรักภัคดีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต ร า บ จ น ตั ว ท่ า น ล่ ว ง ลั บ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ สุ กิ จ นิ ม ม า น เ ห มิ น ท์ ก็ ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ จ า ก ท า ง ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ แต่เมื่อกลับมาแล้วได้แปรเปลี่ยนไปสอนวิชาคณิตศาสตร์ เป็นเลขาธิการจุฬาลงกรณ์หมาวิทยาลัย จนกระทั่งได้เป็นรัฐมนตรีและเอกอัครราชทูต หลักการวิศวกรรมพื้นฐานมาจากการนาแนวแก้ปัญหาและการออกแบบที่เห็นระบบมาใช้ เมื่อได้ผลแล้วจึงมีผู้นาหลักการวิศวกรรมไปใช้ในงานอื่นๆนั่นหมายความว่าในอนาคตเราจะได้เห็นการใช้คา ว่ า วิ ศ ว ก ร ร ม ค ว า ม รู้ วิ ศ ว ก ร ร ม สั ง ค ม ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ห ม่ ๆ เ ห ล่ า นี้ จ ะ เ กิ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ก้ า ว ห น้ า ม า ก ก ว่ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส่วนนักวิชาการและวิศวกรไทยเองก็ประสบความยากลาบากในการเรียนรู้แนวคิดใหม่ๆ เหล่านี้หากเตรียมตัวไม่พ ร้อม งานวิศวกรรมเป็ นพื้นฐานสาคัญ ของการพัฒ นาสังคม เ ศ ษ ร ฐ กิ จ แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ห า ก อ ง ค์ ก ร วิ ศ ว ก ร ร ม ยั ง อ่ อ น ป ว ก เ ปี ย ก แ ล้ ว ก็ อ ย า ก ที่ จ ะ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ที่ ห น า แ น่ น ใ ห้ กั บ สิ่ ง อื่ น ๆ ไ ด้ ดั ง นั้ น จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิศวกรรมทั้งหลายจะต้องรีบเร่งพัฒนาสิ่งที่ยังเป็นจุดอ่อนขอ งประเทศไทยให้เยอะมากที่สุด โดยทั่วไปแล้ววิศวกรรมไทยมีประวัติมาอย่างยาวนานและได้รับความน่าเชื่อถือในประชาชนไทยอยู่ แล้ว จะมีกรณีเกิดอุบัติภัยบ้างเกิดจากการประมาณมากกว่าเกิดจากการความรู้ไม่เพียงพอ ดังนั้นในเชิงพาณิชย์แล้ววิศวกรรมไม่น่ามีปัญหา จะยกเว้นบ้างในบางสาขาและในช่วงเศรษฐกิจถดถอย อย่างไรก็ตามไทยต้องเปิดตลาดเสรีและจะมีวิศวกรมาจากต่างประเทศมาทางานมากขึ้น ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งในการที่เราจะต้องยิ่งพัฒนาปรับปรุงวิศวกรรมของประเทศไทยให้มีคุณภาพเพิ่มมาก ขึ้นไปกว่าที่เป็นอยู่
  • 15. มิติสังคม ก า ร เปิ ด ห ลั ก สู ต ร ป ริญ ญ า เอ ก ท า ง ส า ข า ฟิ สิ ก ส์ แ ล ะ ส า ข า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เป็นอีกทางออกหนึ่งที่สามารถยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัย แต่เนื่องจากมีผู้สนใจน้อย ก า ร ผ ลิ ต นิ สิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จึ ง ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ เ ท่ า ที่ ค ว ร ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ข า ด ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก รั ฐ บ า ล ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ ก า ร รั บ นิ สิ ต เ ข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก นั้ น จะต้องใช้อุปกรณ์และค่าใช้จ่ายสูงการขยายการศึกษาออกไปในระดับนี้ตามมหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่งจึงยัง ไม่สามารถกระทาได้มากนักและไม่ได้รับความสนใจจากผู้ที่จะเข้าศึกษาเพราะขาดแคลนทุนทรัพย์และโอกา สในการแสวงหางานทาภายหลังที่จบการศึกษาแล้วมีค่อนข้างจากัด สิ่งแวดล้อม จ า ก อ ดี ต ที่ ผ่ า น ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า การเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการขยายตัวออกไปในวงกว้างและรวดเร็ว มีการนาความรู้ทางด้านฟิสิกส์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาวิจัยในการสร้างสิ่งอานวยความสะดวก เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ แ บ บ ยั่ ง ยื น เ พื่ อ ใ ห้ ค น รุ่ น ใ ห ม่ ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์และเกิดคุณค่าสูงสุด มิติเทคโนโลยี/พลังงาน ในอนาตตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยให้ประเทศพัฒนาต่อไป เมื่ อ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ส ร้า ง มู ล ค่ า เพิ่ ม จ ะ ต้ อ ง น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ไ ป พั ฒ น า ให้ ดี ขึ้ น ต ล อ ด จ น ช่ ว ย ใ ห้ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น ร ะ ดั บ นึ ง เ ช่ น พึ่งพาตนเองทางด้านพลังงานของความต้องการทั้งหมดของประเทศเช่นการสร้างแหล่งพลังงานตนเอง หรือ ใช้พลังงานสะอาดเป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาตร์ มิติเศรษฐกิจ ในอนาคตคงปฎิเสธไม่ได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเ ทศรวมทั้งเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการผลิตของประเทศ เพื่อสร้างรายได้และยกระดับความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ของประเทศให้อยู่ในระดับที่ยังชีพได้
  • 16. บทที่ 8 สิ่งแวดล้อมและพลังงาน - มิติสังคม ประเพณีและวัฒนธรรมตลอดจนความเชื่อที้ข้ามาสู่วิถึชีวิตในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพของค นไทย การมห้ความสาคัญเกี่ยวกับทรัพยากรน้า กิน โดยถือว่าเป็นเทพเจ้า เช่น พระแม่คงคา พระแม่ธรณี โดยสภาพทางภูมิศาสตร์และภูมิมิอากาศเป็นตัวช่วยส่งเสริมมิติทางสังคมอีกด้วย เช่น ในภาคเหนือของประเทศไทยมมรภูมิศาสตร์จะมีฝนตกชุกตอนต้นฤดู โดยเหตุที่ภูมิประเทศเป็นพื่นที่ภูเขา มีความลาดชัน จึงไม่สามารถเก็บกักน้าได้ไม่มากเท่าที่ควรเหมือนแถบภาคกลาง ชาวเหนือจึงมีการรู้จักการทาฝายเพื่อเก็บน้าไว้ใช้ในการเพาะปลูก ซึ่งเมื่อถึงฤดูน้าหลาก ฝายจะพังไปไม่กีดขวางทางเดินของน้าและไม่ก่อนให้เกิดปัญหาน้าท่วมรุนแรง ซึ่งวิธีการต่างๆมีวิธีการสืบทอด บอกเล่าปละปฎิบัติกันมาตั้งแต่อดีต โดยสมันกรุงรัตนโดสินทร์ก่อนและหลังรัชกาลที่5เริ่ม้ข้าสู่ระบบการจักการอย่างมีระบบโดยอาศัยหมอสอนศา สนาเผื่อแพร่แต่ยังเผยแพร่ได้ในแวดวงที่จากัด ในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยเริ่มมีบทบาทมากขึ้นเกี่ยวกับกับองค์ความรู้ต่างๆโดยที่มีมหาวิทยาลัยเป็นศุนย์กลางด้านความ รู้ - มิติสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันความพยายามในการพัฒนาประเทศตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่2 มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม และการเพิ่มขึ้นของประชากรในอัตราที่สูงมาก ทาให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมองทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหามลพิษ เนื่องจากมีความต้องการระบบสาธารณูปโภค วัสดุและพลังงาน โดยอุปสงค์ด้านพลังงาน ด้าน คมนาคมและการขนส่งมีความต้องการพลังงานมากที่สุดถึงร้อยละ 41 ในปี 2541โยทาในมีการเกิดมลพิษ เกิดแก้สเรือนกระจกที่จะทามห้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิกาศของโลกรุนแรงระยะยาว และได้เกิดการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานสะอาดรวมถึงการควบคุมมลพิษที่มากยิ่งขึ้น - มิติเทคโนโลยี/พลังงาน หลังจากสงครามโลกครั้งที่2 มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหามลพิษเป็นอย่างมาก จึงทาให้เกิดมิติใหม่ของเทคโนโลยีคือ ด้านเทคโนโลยีพลังงานสะอาด อธิเช่น ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานลม ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้า ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นต้น เพื่อรองรับทรัพยากรจากธรรมชาติที่ใกล้จะหมดลง และเกิดการรณรงค์ให้มีการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์ส่งสุด และร่วมกันลดการใช้พลังงาน เช่น โครงการ ปิดไฟบ้านละดวง1ชม.
  • 17. - มิติเศรษฐกิจ จากการมีการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดการการวิจัย และการประกอบธุรกิจจากพลังงงานสะอาดมากขึ้น รวมถึงกระบวนการบาบัดมลพิษ ต่างๆทาให้เกิดอีกมิติทางด้านเศรษฐกิจและมีการจดสิทธิบัตรใช่ประโยชน์ในเชิงพานิชย์มากขึ้น บทที่ 9 นโยบายและองค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย กล่าวถึงภาพในอดีตจนถึงสถานภาพปัจจุบัน ได้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย เริ่มมาจากในภาคการศึกษาที่เน้นวิชาการพื้นฐานทางวิทยาศาตร์ และการศึกษาวิจัยที่ได้ให้ความรู้ใหม่แล้วจึงขยายไปสู่การประยุกต์ใช้ที่คาดหวังว่าจะตอบสนองความต้องกา รในภาคเศรษฐกิจและสังคม เช่นเดียวกันกับนโยบายวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีของประเทศในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย ที่ปรากฏเป็นลายลักอักษรในรัฐธรรมนูญและเอกสารนโยบายของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวของ หรือนโยบายที่สะท้อนออกมาในรูปแบบจัดตั้งองค์กร เป็นการมองวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่แยกออกมาจากส่วนอื่น ของระบบเศรษฐกิจและสังคม การสนับสนุนสิ่งเหล่านี้เป็นหน้าที่ของรัฐ เพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศ บทบาทของภาครัฐนั้น องค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีขึ้นตั้งแต่ปี 2499 โดยมีหน้าที่และบทบาทที่แตกต่างกัน คล้ายคลึงกัน หรือส่งเสริมกัน โดยมีการทางานที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบพอสมควร จากนโยบายถึงการปฎิบัติและจากภาพรวมจนถึงระดับโครงการ ตลอดช่วงระยะเวลา 40 ที่ผ่านมา องค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีวิวัฒนาการ และมีความสมเหตุสมผลตามเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของไทยในช่วงต่างๆ ซึ่งมีข้อสังเกตสาคัญคือ องค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกิดขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีชั้นนา และการจัดตั้งองค์กรอาจไม่ได้มีพื้นฐานมาจากนโยบายหรือแผนที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เนื่องจากการกาหนดไว้ล่วงหน้านั้นเปิดกว้างจนเกินไป และมีสถาณการณ์และความจาเป็นในขณะนั้น ทาให้เกิดเงื่อนไขในการแก้ปัญหาการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยการจัดตั้งองค์กรใหม่ ในอนาคต การเสริมสร้างระดับความสามารถขององค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศควรได้รับควา
  • 18. มสาคัญสูงในกระบวนการพัฒนา เพื่อหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือทั้งระบบมีความสามารถสูง ในการนานโยบายและแผนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไปปฎิบัติจนเกิดความสาเร็จ มิติสังคม คนไทยได้มีการเรียนรู้และผูกพันกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาทุกยุคทุกสมัยไม่ว่าเป็นการเรียน รู้ เ พื่ อ ท า ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ก า ร แ พ ท ย์ โ บ ร า ณ การปรับตัวของไทยเริ่มเกิดในสมัยอยุธยาเมื่อมีการติดต่อกับประเทศตะวันตกก็เริ่มมีการนาความรู้แขนงต่าง ๆมาใช้ เช่นคณิตศาสตร์ ในการค้าขาย จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์มีการปรับตัวอีกในปี 2398 เมื่อไทยทาสนธิสัญญาเบาวริ่ง ทาให้มีการค้าขายเข้ามาอย่างเสรี รวมไปถึงการแพทย์ การศึกษา การทหาร เท ค โน โล ยี ท าให้ ส ภ าพ สังค ม แ ล ะค น ใน สังค ม ต้ อ งป รับ ตัวแ ล ะมีก ารพั ฒ น าขึ้น เพื่อให้ทันกับยุคสมัยที่ปรับเปลี่ยนให้ทันกับเทคโนโลยี มิติสิ่งแวดล้อม หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีพยายามในการพัฒนาประเทศ ส่งผลให้มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม แ ล ะ ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ใ น อั ต ร า ที่ สู ง ม า ก ท าให้ เกิด ปัญ ห าค วาม เสื่ อ ม โท รม ข อ งท รัพ ย าก รธ รรม ช าติ แ ล ะเกิด ปัญ ห าม ล พิ ษ เนื่องจากมีความต้องการระบบสาธารณูปโภค วัสดุและพลังงาน ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2501 นักวิท ยาศ าสต ร์ก็พ ลิกบ ท บ าท จากอ าจารย์ม าเป็ น ผู้ให้ค าป รึกษ าแก่ อุต ส าห กรรม งานวิจัยต่างๆ ซึ่งต้องต อบสนองความต้องการของภ าคการผ ลิต และบริการมากขึ้น ซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด น วัฒ ก ร ร ม ใน ก า ร ผ ลิ ต ที่ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม น้ อ ย ล ง อีกทั้งมีการรวมกระทรวงต่างๆเข้ามาด้วยกัน และเปลี่ยนชื่อเป็น “กระทรวงวิยทศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เพื่อเพิ่มและร่วมรับผิดชอบในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น มิติเทคโนโลยี/พลังงาน ในอนาตตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยให้ประเทศพัฒนาต่อไป เมื่ อ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ส ร้า ง มู ล ค่ า เพิ่ ม จ ะ ต้ อ ง น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ไ ป พั ฒ น า ให้ ดี ขึ้ น ต ล อ ด จ น ช่ ว ย ใ ห้ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น ร ะ ดั บ นึ ง เ ช่ น พึ่งพาตนเองทางด้านพลังงานของความต้องการทั้งหมดของประเทศเช่นการสร้างแหล่งพลังงานตนเอง หรือ ใช้พลังงานสะอาดเป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาตร์ มิติเศรษฐกิจ ในอนาคตคงปฎิเสธไม่ได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเ ทศรวมทั้งเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการผลิตของประเทศ เพื่อสร้างรายได้และยกระดับความเป็นอยู่ของคนส่วนใหญ่ของประเทศให้อยู่ในระดับที่ยังชีพได้
  • 19. และอีกทั้งสิ่งเหล่านี้ยังเป็นพื้นฐานของคนในการทางานเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้เข้มแข็งมากขึ้ น บทที่ 10 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับสังคมไทยในอนาคต แนวโน้มรวมของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับโลกใน 20 ปี ข้างหน้า ความก้าวหน้าทางวิทยายาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลาส่งผลกระทบอย่างสูงต่อความมั่งคั่งของชาติแ ละมาตรฐานการดารงชีวิตของเรา มนุษย์จะสามารถสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตได้คล้ายพระเจ้ามากขึ้นจากความรู้เรื่องโคลนนิ่งและการตัดแต่ง ยีนส์ในพืชหรือสัตว์เพื่อให้ได้สัตว์และพืชข้ามพันธุ์ ภาพฉายของสังคมไทยในอนาคต สังคมไทยในอนาคตก็จะมุ่งเข้าสู่ความพอเพียง จะมีกระแสการมุ่งความพอเพียงและยั่งยืนในด้านต่างๆ 1.สังคมผสมผสาน สังคมจะต้องคานึงถึงปัญหานี้เป็นพิเศษเพราะมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลง 2.การผลิคการบริการและการค้าขายที่ไร้พรมแดง เช่นการผลิตวอฟแวร์ การบริการ 3.ลักษณะที่แปรเปลี่ยนของงาน จากแรงงานสู่ฝีมือและสมอง ต่างไปจากเดิมที่พึ่งงานเกษตรเป็นหลักเท่านั้น