SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ตอนที่ ๒
                         แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา

๑. การบริหารจัดการศึกษา
           โรงเรีย นราชประชานุเคราะห์ ๒๐ จังหวัด ชุมพร แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน
เป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคล
ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร / เทคนิคการบริหารแบ บ SBM คือ
การบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารองค์กร
หลักการบริหาร แบบ TQM คือ การบริหารจัดการองค์กรให้มีคุณภาพ                 และแบบ
Good Government คือ การบริหารโดยใช้หลักธรรมมาภิบาลในการจัดการองค์กร


            โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๐ จังหวัดชุมพร
                                     คณะกรรมการ
                                      สถานศึกษา
                                      ผู้อานวยการ

                                     รองผู้อานวยการ

                                     คณะครู/บุคลากร
     คณะกรรมการบริหาร                                              คณะกรรมการเครือข่าย
        หลักสูตรฯ                                                      ผู้ปกครอง

       มูลนิธิราชประชา                                                  สภานักเรียน
          นุเคราะห์


ด้านการบริหารวิชาการ      ด้านการบริหารงบประมาณ     ด้านการบริหารงานบุคคล     ด้านการบริหารทั่วไป




                          แผนภูมิ โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน
๖๔
๒. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
     ปรัชญา : นตถิ ปัญญา สมา อาภา (ปัญญาประดุจแสงสว่างส่องโลก)
     ปณิธาน : มุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสาหรับเด็กด้อยโอกาส ดังนี้
       ๑. ประกันสิทธิโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
       ๒. ส่งเสริมพัฒนา ทักษะการดารงชีวิต และการมีงานทาสามารถพึ่งตนเองโดยยึด
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
       ๓. พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่าเด็กด้อย
โอกาสมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด
       ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ โดยใช่โรงเรียนเป็นฐานตามหลักธรรมมาภิบาล
     วิสัยทัศน์
  เด็กด้อยโอกาสในขอบเขตพื้นที่บริการได้รับสิทธิโอกาสและความเสมอภาค
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างทั่วถึง มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะ
การดารงชีวิตและอาชีพ พึ่งตนเองได้ สามารถปรับตนอยู่ในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลง
อย่างเหมาะสม มีความสุข ภายในปีการศึกษา 2556
     พันธกิจ
         1. ประกันสิทธิโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
        2. ประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        3. ประกันประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา
        เป้าหมาย
            นักเรียนผู้ด้อยโอกาสได้รับการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง
เป็นคนดี มีปัญญา มีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพสุจริต และ
สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
 อัตลักษณ์ของโรงเรียน
            “ สร้างคุณค่า พึงพาตนเอง ”
ความหมายของคุณค่าในตนเอง
            คาว่า “คุณค่าในตนเอง” มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Self-esteem” หมายถึง ความรู้สึกของ
แต่ละบุคคลที่มีต่อตนเองว่ามีความสาคัญ มีความสามารถ มีความสาเร็จ               มีความนับถือตนเอง
เชื่อมั่นในตนเอง เคารพตนเอง และภาคภูมิใจในตนเอง
ความสาคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง
             การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์        เนื่องจากเป็นความต้องการ
ขั้นพื้นฐานของจิตใจ ทาให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพชีวิต
ของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไร            การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม
ที่มีประสิทธิภาพ บุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองที่แตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทาง น้าเสียง คาพูด และการกระทา บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเอง
๖๕
ในระดับสูงพอ จะสามารถสร้างสรรค์ความคิดหรือการกระทาที่จะเผชิญความเครียดต่าง ๆ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพนอกจากนี้การเห็นคุณค่าในตนเองยังเป็นปัจจัยสาคัญในการปรับตัวทางอารมณ์
ทางสังคม และการเรียนรู้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการรับรู้ชีวิตที่มีผลต่อความคิด        ความปรารถนา
ค่านิยม อารมณ์ และการตั้งเป้าหมายในชีวิตของแต่ละบุคคล อันมีผลต่อการแสดงพฤติกรรมของ
เขา จนกระทั่งกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพตามมา และการประสบความสาเร็จหรือความ
ล้มเหลวทั้งในชีวิตส่วนตัว การศึกษาเล่าเรียน หรือการทางานในชีวิตส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับการเห็น
คุณค่าในตนเองด้วยเช่นกัน ผู้ที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงจึงมีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความ
คาดหวังอย่างเป็นจริงและเป็นไปได้ในความสาเร็จที่จะได้รับ              ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเอง
จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ได้ในที่สุด "การพึ่งตนเองเป็นสภาวะ
อิสระ หมายถึงความสามารถของคนที่จะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด โดยไม่เป็นภาระคนอื่น
มากเกินไป มีความสมดุล ความพอดีในชีวิต             เป็นสภาวะทางกายที่สอดคล้องกับสภาวะทางจิต
ที่เป็นอิสระ มีความพอใจในชีวิตที่เป็นอยู่ มีสิ่งจาเป็นปัจจัยสี่พอเพียง เป็นความพร้อมของชีวิต
ทั้งทางร่างกายและจิตใจ "การพึ่งตนเอง ” หมายถึงการจัดชีวิตให้สัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ
อย่างเหมาะสมกับคน กับสังคม กับธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา การพึ่งตนเองหมายถึงการมีสวัสดิการ
และความมั่นคงในชีวิตในปัจจุบันถึงอนาคต สวัสดิการที่พร้อมตอบสนองเราทันที โดยที่เราไม่ต้อง
ไปเรียกให้ใครมาจัดสวัสดิการให้ หรือให้ใครมาช่วยเหลือ ซึ่งมีการอบรมปลูกฝัง และสอดแทรก
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการจัดโครงการ/กิจกรรม
ให้นักเรียนได้เรียนรู้

เอกลักษณ์ของโรงเรียน
       “ กิจกรรมเด่น เน้นอาชีพ ”
       กิจกรรมเด่น กิจกรรมเด่น หมายถึง กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ
และกิจกรรมที่นักเรียนร่วมกันจัดขึ้น ตลอดจนการแสดงออกในด้านต่างๆ ของนักเรียนมีความ
โดดเด่น เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและเป็นที่ประทับใจต่อผู้พบเห็น
      เน้นอาชีพ หมายถึง โรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้หารายได้ระหว่างเรียน เช่น การปลูก
ผักสวนครัว การปลูกผักแบบไร้ดิน การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงปลา แล้วทาผล ผลิตที่ได้นามาจาหน่าย
ให้กับโรงเรียนเพื่ออาหารกลางวันหรือจาหน่ายให้กับผู้ปกครอง           ซึ่งมีการอบรมปลูกฝัง
และสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการจัด
โครงการ/กิจกรรม ให้นักเรียนได้เรียนรู้
๖๖

๓. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
     ๑. การปฏิรูปการศึกษาตามอัตลักษณ์และนโยบายพัฒนาครูพัฒนาผู้เรียนรู้ พัฒนาระบบบริหาร
พัฒนาโรงเรียน การปฏิบัติตามแนวพระบรมราโชบาย
     ๒. สืบสานงานโครงการตามแนวพระราชดาริโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
     ๓. ส่งเสริมหลักประชาธิปไตยในสถานศึกษา เสริมสร้างการมีวินัยในการอยู่ร่วมกัน
อย่าง สันติสุข
     ๔. ป้องการสิ่งเสพติดและพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ โดยหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
     ๕. ส่งเสริมการจัดกระบวนกาสรเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งภายในและภายนอกตาม
ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
     ๖. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยบูรณาการเข้ากับสาระการเรียนรู้
ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
     ๗. ส่งเสริมมาตรการป้องกันอุบัติภัยหรืออุบัติเหตุอย่างรอบด้านและทุกมิติ
     ๘. ส่งเสริมการฝึกทักษะวิชาชีพสู่การมีงานทาที่ยั่งยืน เหมาะสมตามศักยภาพ
๔. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
 กลยุทธ์ที่         ๑
         สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง
         กลยุทธ์ที่ ๒
         พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
         กลยุทธ์ที่ ๓
         พัฒนาครูและบุคลากรสู่มาตรฐานวิชาชีพ
         กลยุทธ์ที่ ๔
         พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
         กลยุทธ์ที่ ๕
         เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรท้องถิ่น
๖๗

         ๕. การดาเนินงานตามกลยุทธ์ของสถานศึกษา
         กลยุทธ์ที่ ๑
         สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง

                                                                                            สนอง
                                                             เป้าหมาย
                                                                                     มาตรฐานการศึกษาของ
 โครงการ/กิจกรรม             วัตถุประสงค์             (เชิงปริมาณและคุณภาพ)
                                                                                          สถานศึกษา
                                                       ของโครงการ/กิจกรรม               (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
๑.โครงการประกัน       ๑.เพื่อกาหนดมาตรฐาน          เป้าหมายเชิงคุณภาพ             มาตรฐานที่ ๙ , ๑๒
คุณภาพภายใน           การศึกษาของสถานศึกษาและ          - โรงเรียนได้รับการ        ตัวบ่งชี้ที่
                      ดาเนินการตามแผนพัฒนาการ              ประเมินมีคุณภาพตาม     ๙.๑ – ๙.๓
                      จัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่          มาตรฐานการศึกษาขั้น    ๑๒.๑ – ๑๒.๖
                      มุ่งพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน               พื้นฐาน
                      การศึกษาของสถานศึกษา
                      ๒. เพื่อจัดระบบข้อมูลสาระ
                      สนเทศและใช้สารสนเทศในการ
                      บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ
                      สถานศึกษา
                      ๓. เพื่อติดตามตรวจสอบ และ
                      ประเมินคุณภาพภายใน
                      มาตรฐานการศึกษาของ
                      สถานศึกษา
                      ๔. เพื่อนาผลการประเมิน
                      คุณภาพทั้งภายในและภายนอก
                      ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ
                      การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๖๘
       กลยุทธ์ที่ ๒
        พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

                                                                                                                  สนอง
                                                                           เป้าหมาย
                                                                                                          มาตรฐานการศึกษา
  โครงการ/กิจกรรม                 วัตถุประสงค์                    (เชิงปริมาณและคุณภาพ)                     ของสถานศึกษา
                                                                    ของโครงการ/กิจกรรม                    (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้


๑.โครงการพัฒนานักเรียน ๑.เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยใน      เชิงคุณภาพ                                       มาตรฐานที่ ๑
ให้มีสุขภาวะที่ดีและมี การดูแลสุขภาพ และออกกาลัง                นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและ ตัวบ่งชี้ที่
สุนทรียภาพ             กายสม่าเสมอ                         ออกกาลังกายสม่าเสมอ มีน้าหนักส่วนสูง             ๑.๔ , ๑.๖
                       ๒.เพื่อให้นักเรียนมีน้าหนัก         และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ป้องกัน
                       ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทาง             ตนเองจากสารเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง
                       กายตามเกณฑ์มาตรฐาน                  สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย
                       ๓.เพื่อให้นักเรียนป้องกันตนเอง      อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ มีความมั่นใจ
                       จากสิ่งเสพติดให้โทษ และ             และกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้
                       หลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่          เกียรติผู้อื่น มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู
                       เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย          และผู้อื่น
                       อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ           เชิงปริมาณ
                       ๔.เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าใน      ๑.เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแล
                       ตนเอง มีความมั่นใจ กล้า             สุขภาพ และออกกาลังกายสม่าเสมอ
                       แสดงออกอย่างเหมาะสม                 ร้อยละ ๘๐
                       ๕.เพื่อให้นักเรียนมีมนุษย           ๒.เพื่อให้นักเรียนมีน้าหนักส่วนสูงและมี
                       สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น   สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
                       ๖.เพื่อสร้างผลงานจากการเข้า         ร้อยละ ๘๐
                       ร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะดนตรี          ๓.เพื่อให้นักเรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพ
                       นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตาม          ติดให้โทษ และหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่
                       จินตนาการ                           เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และ
                                                           ปัญหาทางเพศ ร้อยละ ๘๐
                                                           ๔.เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มี
                                                           ความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
                                                           ๕.เพื่อให้นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้
                                                           เกียรติผู้อื่น ร้อยละ ๘๐
                                                           ๖.เพื่อสร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรม
                                                           ด้านศิลปะดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา
                                                           นันทนาการตามจินตนาการ ร้อยละ ๘๐
๖๙

                                                                                                                   สนอง
                                                                                                           มาตรฐานการศึกษา
                                                                            เป้าหมาย
                                                                                                            ของสถานศึกษา
  โครงการ/กิจกรรม                  วัตถุประสงค์                     (เชิงปริมาณและคุณภาพ)
                                                                                                          (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้
                                                                      ของโครงการ/กิจกรรม


๒.โครงการส่งเสริม         ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่    เชิงคุณภาพ                              มาตรฐานที่ ๒
คุณธรรม จริยธรรม          พึงประสงค์ตามหลักสูตร                  ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ตัวบ่งชี้ที่
                          ๒.เพื่อให้ผู้เรียนเอื้ออาทรต่อ      ที่พึงประสงค์                           ๒.๑ – ๒.๔
                          ผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี      เชิงปริมาณ
                          พระคุณ                              ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีคุณลักษณะที่พึง
                          ๓.เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความคิด     ประสงค์ตามหลักสูตร
                          และวัฒนธรรมที่แตกต่าง               ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีความเอื้ออาทรต่อ
                          ๔.เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักรู้        ผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
                          คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา         ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ยอมรับความคิดและ
                          สิ่งแวดล้อม                         วัฒนธรรมที่แตกต่าง
                                                              ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีความตระหนักรู้
                                                              คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

๓.โครงการใฝ่รู้ใฝ่เรียน   ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการ     เชิงคุณภาพ                                  มาตรฐานที่ ๓
                          อ่านและแสวงหาความรู้ด้วย              ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มี          ตัวบ่งชี้ที่
                          ตนเองจากห้องสมุด แหล่ง              ความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการ    ๓.๑ – ๓.๓
                          เรียนรู้และสิ่งต่าง ๆ รอบตัว        อ่าน รักการเขียน รักการค้นคว้า
                          ๒.เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการ      เชิงปริมาณ
                          อ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและตั้ง        ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีนิสัยรักการอ่าน
                          คาถาม เพื่อค้นคว้าหาความรู้         และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก
                          เพิ่มเติม                           ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสิ่งต่าง ๆ
                          ๓.เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกัน   รอบตัว
                          เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความ            ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะในการอ่าน
                          คิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่าง      ฟัง ดู พูด เขียนและตั้งคาถาม เพื่อค้นคว้า
                          กันและใช้เทคโนโลยีในการ             หาความรู้เพิ่มเติม
                          เรียนรู้และนาเสนอผลงาน              ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เรียนรู้ร่วมกันเป็น
                                                              กลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการ
                                                              เรียนรู้ระหว่างกันและใช้เทคโนโลยีใน
                                                              การเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
๗๐


                                                                                                            สนอง
                                                                                                           มาตรฐาน
                                                                       เป้าหมาย                          การศึกษาของ
โครงการ/กิจกรรม              วัตถุประสงค์                      (เชิงปริมาณและคุณภาพ)                      สถานศึกษา
                                                                 ของโครงการ/กิจกรรม                    (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้




๔.โครงการส่งเสริม   ๑.เพื่อให้ผู้เรียนสรุปความคิดจาก เชิงคุณภาพ                                        มาตรฐานที่ ๔
ทักษะกระบวน         เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร ผู้เรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมให้มี             ตัวบ่งชี้ที่
การคิด              โดยการพูดหรือเขียนตาม            ความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิด               ๔.๑ – ๔.๔
                    ความคิดของตนเอง มีความคิด        สร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
                    ริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วย    สมเหตุสมผล
                    ความภาคภูมิใจ                    เชิงปริมาณ
                    ๒.เพื่อให้ผู้เรียนนาเสนอวิธีคิด  ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน
                    วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการ  ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตาม
                    ของตนเอง                         ความคิดของตนเอง มีความคิดริเริ่มและ
                    ๓.เพื่อให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมาย  สร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
                    คาดการณ์ตัดสินใจแก้ปัญหา         ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหา
                    โดยมีเหตุผลประกอบ                ด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
                                                     ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์
                                                     ตัดสินใจแก้ปัญหา โดยมีเหตุผลประกอบ
๕.โครงการส่งเสริม   ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์   เชิงคุณภาพ                                        มาตรฐานที่ ๕
ความเป็นเลิศ        ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระ          ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และ      ตัวบ่งชี้ที่
ทางวิชาการ          เป็นไปตามเกณฑ์                   ทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร                         ๕.๑ – ๕.๔
                    ๒.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการประเมิน เชิงปริมาณ
                    สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร          ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่
                    และเป็นไปตามเกณฑ์                ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
                    ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการประเมิน ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการประเมินสมรรถนะ
                    การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สาคัญตามหลักสูตรและเป็นไปตามเกณฑ์
                    เป็นไปตามเกณฑ์                   ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการประเมินการอ่าน
                    ๔.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบ คิดวิเคราะห์และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
                    ระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์          ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีผลการทดสอบระดับชาติ
                                                     เป็นไปตามเกณฑ์
๗๑


                                                                                                                      สนอง
                                                                              เป้าหมาย
                                                                                                              มาตรฐานการศึกษา
โครงการ/กิจกรรม                  วัตถุประสงค์                         (เชิงปริมาณและคุณภาพ)
                                                                                                                ของสถานศึกษา
                                                                        ของโครงการ/กิจกรรม
                                                                                                              (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)

๖. โครงการส่งเสริม     ๑.เพื่อให้ผู้เรียนวางแผนการ           เชิงคุณภาพ                                    มาตรฐานที่ ๖
ประชาธิปไตย            ทางานและดาเนินการจนสาเร็จ             ๑.ผู้เรียนเข้าใจการปกครองระบอบ                ตัวบ่งชี้ที่
ในโรงเรียน             ๒.เพื่อให้ผู้เรียนทางานอย่างมี        ประชาธิปไตย                                   ๖.๑ – ๖.๔
                       ความสุข มุ่งมั่นพัฒนางานและ           ๒.ผู้เรียนรู้จักใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค
                       ภูมิใจในผลงานของตนเอง                 และหน้าที่ของตนเอง
                       ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดี       ๓.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดูแล ปกครองและ
                       เกี่ยวกับการปกครองระบอบ               ร่วมกิจกรรมต่างๆ
                       ประชาธิปไตย                           เชิงปริมาณ
                       ๔.เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึก   ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ วางแผนการทางานและ
                       ตนเองเกี่ยวกับการใช้สิทธิ             ดาเนินการจนสาเร็จ
                       เสรีภาพความเสมอภาคและ                 ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ทางานอย่างมีความสุข
                       หน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย            มุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิใจในผลงานของ
                                                             ตนเอง
                                                             ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการ
                                                             ปกครองระบอบประชาธิปไตย
                                                             ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง
                                                             เกี่ยวกับการใช้สิทธิเสรีภาพความเสมอภาคและ
                                                             หน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย

๗. โครงการส่งเสริม     ๑.เพื่อส่งเสริมอาชีพโดยใช้ภูมิ        เชิงคุณภาพ                                       มาตรฐานที่ ๖
อาชีพโดยใช้ภูมิปัญญา   ปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจ            ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมอาชีพโดยใช้ภูมิ       ตัวบ่งชี้ที่
ท้องถิ่นตามหลัก        พอเพียง                               ปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง              ๖.๑ – ๖.๔
เศรษฐกิจพอเพียง        ๒.เพื่อจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น          เชิงปริมาณ
                       ร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครู           ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการส่งเสริมอาชีพ
                       นักเรียนและวิทยากรภูมิปัญญา           โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจ
                       ชาวบ้าน                               พอเพียง
                       ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดี   ๒.สถานศึกษามีหลักสูตรท้องถิ่น
                       ต่ออาชีพสุจริต และหาความรู้           ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพ
                       เกี่ยวอาชีพที่ตนเองสนใจ               สุจริต และหาความรู้เกี่ยวอาชีพที่ตนเองสนใจ
๗๒
          กลยุทธ์ที่ ๓
          พัฒนาครูและบุคลากรสู่มาตรฐานวิชาชีพ

                                                                                                          สนอง
                                                                      เป้าหมาย
                                                                                                   มาตรฐานการศึกษาของ
    โครงการ/กิจกรรม             วัตถุประสงค์                 (เชิงปริมาณและคุณภาพ)
                                                                                                        สถานศึกษา
                                                               ของโครงการ/กิจกรรม                     (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
๑.โครงการพัฒนาครูให้มี      ๑. เพื่อให้ครูมีความรู้    เป้าหมายเชิงคุณภาพ                        มาตรฐานที่ ๗
ความสามารถในการ             ความเข้าใจกาหนด            ๑. ครูมีความรู้ความเข้าใจ กาหนดเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑ – ๗.๘
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่   เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน     คุณภาพผู้เรียน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ    ทั้งด้านความรู้ ทักษะ      กระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่
เกิดประสิทธิผล              กระบวนการ สมรรถนะ          พึงประสงค์คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                            และคุณลักษณะที่พึง         ๒. ครูมีความรู้ความเข้าใจ สามารถ
                            ประสงค์                    วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและใช้ข้อมูล
                            ๒. เพื่อให้ครูมีความรู้    ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
                            ความเข้าใจสามารถ           ศักยภาพของผู้เรียนคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                            วิเคราะห์ผู้เรียนเป็น      ๓. ครูมีความรู้ความเข้าใจสามารออกแบบ
                            รายบุคคลและใช้ข้อมูล       และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ
                            ในการวางแผนการ             แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
                            จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา   สติปัญญาคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                            ศักยภาพของผู้เรียน         ๔. ครูสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
                            ๓. เพื่อให้มีความรู้ความ   เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิ
                            เข้าใจสามารออกแบบ          ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ
                            และจัดการเรียนรู้ที่       จัดการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                            ตอบสนองความ                ๕. ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการ
                            แตกต่างระหว่างบุคคล        พัฒนาการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย
                            และและพัฒนาการทาง          วิธีการที่หลากหลายคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                            สติปัญญา                   ๖. ครูมีการให้คาแนะนาคาปรึกษาและ
                            ๔. เพื่อให้ครูสามารถใช้    แก้ไขปัญหาให้กับผู้เรียนทั้งด้านการเรียน
                            สื่อและเทคโนโลยีที่        และคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาคคิดเป็น
                            เหมาะสมผนวกกับการ          ร้อยละ ๑๐๐
                            นาบริบทและภูมิปัญญา        ๗. ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการ
                            ของท้องถิ่นมาบูรณาการ      เรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลใน
                            ในการจัดการเรียนรู้        การปรับการสอนคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
๗๓

                                                                                                                    สนอง
                                                                                เป้าหมาย                           มาตรฐาน
                                    วัตถุประสงค์
   โครงการ/กิจกรรม                                                     (เชิงปริมาณและคุณภาพ)                     การศึกษาของ
                                                                                                                  สถานศึกษา
                                                                         ของโครงการ/กิจกรรม
                                                                                                                (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
๑.โครงการพัฒนาครูให้มี      ๕. เพื่อให้ครูมีการวัดและ          ๘. ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและ
ความสามารถในการ             ประเมินผลที่มุ่งเน้นการ            เป็นสมาชกที่ดีของสถานศึกษาคิดเป็นร้อยละ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่   พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย    ๑๐๐
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ    วิธีการที่หลากหลาย                 ๙. ครูมีการจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่
เกิดประสิทธิผล ( ต่อ )      ๖. เพื่อให้ครูมีการให้คาแนะนา      ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็มความสามารถคด
                            คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่        เป็นร้อยละ ๑๐๐
                            ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ        เป้าหมายเชิงปริมาณ
                            คุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค         คณะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๐
                            ๗. เพื่อให้ครูมีการศึกษาวิจัยและ   จังหวัดชุมพร จานวน ๔๐ คน
                            พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่    เป้าหมายเชิงคุณภาพ
                            ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการ           ๑.ให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเกี่ยวกับวิธีการจัด
                            ปรับการสอน                         กิจกรรมการเรียนการสอนตามแบบปฏิรูป
                            ๘. เพื่อให้ครูประพฤติปฏิบัติตน     กระบวนการเรียนรู้โดยดาเนินการดังนี้
                            เป็นแบบอย่างที่ดีและเป็น           - โดยศึกษาเอกสาร
                            สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา            - โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้
                            ๙. เพื่อให้ครูมีการจัดการเรียน     - โดยศึกษาดูงานภายในภาคเรียนที่ ๑
                            การสอนตามวิชาที่ได้รับ             ๒. ผู้บริหารโรงเรียนเยี่ยมชั้นเรียนอย่างน้อย ๒
                            มอบหมายเต็มเวลาเต็ม                ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละไม่เกิน ๑๕ นาทีและนา
                            ความสามารถ                         ผลการเยี่ยมชั้นเรียนแนะนาส่งเสริมครูตาม
                                                               ความเหมาะสม
                                                               ๓. ผู้บริหารกาหนดสาธิตในเมื่อมีเรื่องใหม่ๆ
                                                               หรือในเมื่อครูผู้สอนมีความต้องการ ๑ เดือนต่อ
                                                               ครั้ง ภายในภาคเรียนที่ ๑
๗๔


                                                                                                        สนอง
   โครงการ/กิจกรรม             วัตถุประสงค์                              เป้าหมาย                      มาตรฐาน
                                                                 (เชิงปริมาณและคุณภาพ)               การศึกษาของ
                                                                   ของโครงการ/กิจกรรม                 สถานศึกษา
                                                                                                    (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)

๒. โครงการนิเทศภายใน   ๑. เพื่อให้ผู้บริหารให้คาแนะนา     เป้าหมายเชิงปริมาณ                        มาตรฐาน ๗,๘
                       คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจ         ๑. ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ที่
                       ใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพ       และเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและ ๗.๑ – ๗.๙
                       และเต็มเวลา                        เต็มเวลา                                  ๘.๑ – ๘.๖
                       ๒. เพื่อให้ครูผู้สอนมีความรู้      ๒. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๕.๐๐ มีความรู้ความ
                       ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการจัดการ   เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอน
                       เรียนการสอนและนาไปใช้ใน            สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการ
                       การปรับปรุงกิจกรรมการเรียน         เรียนการสอนของครูได้
                       การสอนของตนได้                     ๓. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๕.๐๐ ออกแบบและ
                       ๓. เพื่อให้ครูออกแบบและ            จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง
                       จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ       ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
                       แตกต่างระหว่างบุคคลและ
                       พัฒนาการทางสติปัญญา
๗๕
          กลยุทธ์ที่ ๔
          พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

                                                                                                           สนอง
                                                                             เป้าหมาย                   มาตรฐาน
      โครงการ/กิจกรรม                   วัตถุประสงค์                 (เชิงปริมาณและคุณภาพ)            การศึกษาของ
                                                                                                       สถานศึกษา
                                                                      ของโครงการ/กิจกรรม
                                                                                                    (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)


๑. โครงการเสริมสร้าง           ๑.เพื่อให้ผู้บริหารใช้หลักการ        เป้าหมายเชิงคุณภาพ              มาตรฐานที่ ๔,๘,๙
ประสิทธิภาพการบริหาร           บริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูล       โรงเรียนมีการบริหารงานโดยใช้   ตัวบ่งชี้ที่
จัดการศึกษา                    ผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็น     โรงเรียนเป็นฐานได้ได้อย่างมี     ๔.๓ ,
                               ฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการ         ประสิทธิภาพ                      ๘.๑ – ๘.๖ ,
                               จัดการ                              เป้าหมายเชิงปริมาณ               ๙,๑ – ๙.๓
                               ๒.เพื่อให้ผู้บริหารสามารถบริหาร        คณะครู ผู้ปกครองและ
                               จัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย      คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
                               ตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ       พื้นฐานทุกคนมีส่วนร่วมในการ
                               ๓.เพื่อให้ผู้บริหารส่งเสริมและ      บริหารจัดการและพัฒนาโรงเรียน
                               พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับ
                               การกระจายอานาจ
                               ๔. เพื่อให้ผู้บริหารให้คาแนะนา
                               คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่
                               การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพ และ
                               เต็มเวลา
๒. โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้   ๑.เพื่อให้มีการสร้างและพัฒนา        เป้าหมายเชิงคุณภาพ                มาตรฐานที่ ๑๓
                               แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและ      -สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ภายใน ตัวบ่งชี้
                               ใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้ง    สถานศึกษาและใช้ประโยชน์จาก ๑๓.๑ – ๑๓.๒
                               ภายใน และภายนอกสถานศึกษา ใน         แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ
                               การเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากร    ภายนอกสถานศึกษาในการเรียนรู้
                               ของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่          ของผู้เรียนและบุคลากรของ
                               เกี่ยวข้อง                          -สถานศึกษารวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง
                               ๒.เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้   มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
                               ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา        บุคลากรภายในสถานศึกษา
                               ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว         ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว
                               ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง        ชุมชนและองค์กร ที่เกี่ยวข้อง
๗๖



                                                                                                สนอง
                                                                           เป้าหมาย          มาตรฐาน
        โครงการ/กิจกรรม                วัตถุประสงค์                (เชิงปริมาณและคุณภาพ)   การศึกษาของ
                                                                                            สถานศึกษา
                                                                     ของโครงการ/กิจกรรม
                                                                                         (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)


                                                                  เป้าหมายเชิงปริมาณ
                                                                       - มีแหล่งเรียนรู้ใช้
                                                                           ประกอบการสอนใน
                                                                           กลุ่มสาระการเรียนรู้
                                                                           ต่าง ๆ



๓. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์   ๑. เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เป็น       เป้าหมายเชิงคุณภาพ                มาตรฐานที่ ๑๑
                              แหล่งเรียนรู้ให้กับผู้เรียน              - สถานศึกษามีแหล่ง           ตัวบ่งชี้ที่
                              ๒. เพื่อให้สภาพแวดล้อมภายใน                  เรียนรู้ที่ปลอดภัย น่า   ๑๑.๑ – ๑๑.๕
                              โรงเรียนปลอดภัย น่าอยู่และ                   น่าอยู่ น่าเรียน
                              สวยงาม                                       น่าชื่นชม
                              ๓. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมดูแล   เป้าหมายเชิงปริมาณ
                              รักษาแหล่งเรียนรู้ภูมิทัศน์ของ           - สภาพแวดล้อม
                              โรงเรียน                                     ภายในสถานศึกษา
                                                                           ร้อยละ ๘๕.๐๐ ถูก
                                                                           ปรับปรุงให้เป็น
                                                                           แหล่งเรียนรู้
๗๗

         กลยุทธ์ที่ ๕
          เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรท้องถิ่น



                                                                                                 สนอง
                                        วัตถุประสงค์
                                                                            เป้าหมาย          มาตรฐาน
       โครงการ/กิจกรรม                                              (เชิงปริมาณและคุณภาพ)   การศึกษาของ
                                                                                             สถานศึกษา
                                                                      ของโครงการ/กิจกรรม
                                                                                          (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)


๑.โครงการพัฒนาหลักสูตร         ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้          เป้าหมายเชิงคุณภาพ           มาตรฐานที่ ๑๐
สถานศึกษา                      ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจ มี          - ครูทุกคนมีความรู้      ตัวบ่งชี้ที่
                               ความสามารถในการพัฒนา                         ความเข้าใจ มี        ๑๐.๑ , ๑๐.๒
                               หลักสูตรและสามารถนาไปใช้                     ความสามารถในการ
                               นาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ                 พัฒนาหลักสูตรและ
                               ๒. เพื่อให้สถานศึกษามีหลักสูตรที่            มีความสามารถ
                               เหมาะสมสอดคล้องกับเป้าหมาย               - สถานศึกษามี
                               ของสถานศึกษาและสภาพของ                       หลักสูตรสถานศึกษา
                               ชุมชน                                        และมีคู่มือการจัดการ
                                                                            เรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ
                                                                            การเรียนรู้
                                                                   เป้าหมายเชิงปริมาณ
                                                                        - ครูผู้สอนทุกคนและ
                                                                            เอกสารประกอบ
                                                                            หลักสูตรสถานศึกษา
                                                                            ครบทุกกลุ่มสาระ
                                                                            การเรียนรู้

More Related Content

What's hot

หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมการกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมwarijung2012
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553Kasem S. Mcu
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอลิศลา กันทาเดช
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa educationpratanago
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูPop Punkum
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556Thanaporn Sangthong
 

What's hot (19)

ตอนที่3 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่3  sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่3  sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่3 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
C
CC
C
 
2222222
22222222222222
2222222
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมการกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa education
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

Similar to ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานAon Narinchoti
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศจุลี สร้อยญานะ
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 

Similar to ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20 (20)

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 

More from ราชประชานุเคราะห์ จังหวัดชุมพร

More from ราชประชานุเคราะห์ จังหวัดชุมพร (14)

รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
Asean curriculum sourcebook
Asean curriculum sourcebookAsean curriculum sourcebook
Asean curriculum sourcebook
 
แบบฟอร์มโครงการ
แบบฟอร์มโครงการแบบฟอร์มโครงการ
แบบฟอร์มโครงการ
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
ปกSar2554
ปกSar2554ปกSar2554
ปกSar2554
 
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
แปลงไฟล์ง่ายๆ
แปลงไฟล์ง่ายๆแปลงไฟล์ง่ายๆ
แปลงไฟล์ง่ายๆ
 
โหลดไฟล์ Youtube ง่ายๆ
โหลดไฟล์ Youtube ง่ายๆโหลดไฟล์ Youtube ง่ายๆ
โหลดไฟล์ Youtube ง่ายๆ
 
นโยบายหลักด้านการศึกษา 2555
นโยบายหลักด้านการศึกษา 2555นโยบายหลักด้านการศึกษา 2555
นโยบายหลักด้านการศึกษา 2555
 
วิธีติดตั้งจาน PSI Ok
วิธีติดตั้งจาน PSI Okวิธีติดตั้งจาน PSI Ok
วิธีติดตั้งจาน PSI Ok
 
รายการสำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รายการสำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษารายการสำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รายการสำรวจอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
 
wordpress
wordpresswordpress
wordpress
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 

ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20

  • 1. ตอนที่ ๒ แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ๑. การบริหารจัดการศึกษา โรงเรีย นราชประชานุเคราะห์ ๒๐ จังหวัด ชุมพร แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน เป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคล ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร / เทคนิคการบริหารแบ บ SBM คือ การบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารองค์กร หลักการบริหาร แบบ TQM คือ การบริหารจัดการองค์กรให้มีคุณภาพ และแบบ Good Government คือ การบริหารโดยใช้หลักธรรมมาภิบาลในการจัดการองค์กร โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๐ จังหวัดชุมพร คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ คณะครู/บุคลากร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการเครือข่าย หลักสูตรฯ ผู้ปกครอง มูลนิธิราชประชา สภานักเรียน นุเคราะห์ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป แผนภูมิ โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน
  • 2. ๖๔ ๒. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ปรัชญา : นตถิ ปัญญา สมา อาภา (ปัญญาประดุจแสงสว่างส่องโลก) ปณิธาน : มุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสาหรับเด็กด้อยโอกาส ดังนี้ ๑. ประกันสิทธิโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. ส่งเสริมพัฒนา ทักษะการดารงชีวิต และการมีงานทาสามารถพึ่งตนเองโดยยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่าเด็กด้อย โอกาสมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ โดยใช่โรงเรียนเป็นฐานตามหลักธรรมมาภิบาล วิสัยทัศน์ เด็กด้อยโอกาสในขอบเขตพื้นที่บริการได้รับสิทธิโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างทั่วถึง มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะ การดารงชีวิตและอาชีพ พึ่งตนเองได้ สามารถปรับตนอยู่ในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลง อย่างเหมาะสม มีความสุข ภายในปีการศึกษา 2556 พันธกิจ 1. ประกันสิทธิโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 2. ประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ประกันประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา เป้าหมาย นักเรียนผู้ด้อยโอกาสได้รับการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง เป็นคนดี มีปัญญา มีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพสุจริต และ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อัตลักษณ์ของโรงเรียน “ สร้างคุณค่า พึงพาตนเอง ” ความหมายของคุณค่าในตนเอง คาว่า “คุณค่าในตนเอง” มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Self-esteem” หมายถึง ความรู้สึกของ แต่ละบุคคลที่มีต่อตนเองว่ามีความสาคัญ มีความสามารถ มีความสาเร็จ มีความนับถือตนเอง เชื่อมั่นในตนเอง เคารพตนเอง และภาคภูมิใจในตนเอง ความสาคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ เนื่องจากเป็นความต้องการ ขั้นพื้นฐานของจิตใจ ทาให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพชีวิต ของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไร การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม ที่มีประสิทธิภาพ บุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองที่แตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทาง น้าเสียง คาพูด และการกระทา บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเอง
  • 3. ๖๕ ในระดับสูงพอ จะสามารถสร้างสรรค์ความคิดหรือการกระทาที่จะเผชิญความเครียดต่าง ๆ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพนอกจากนี้การเห็นคุณค่าในตนเองยังเป็นปัจจัยสาคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ ทางสังคม และการเรียนรู้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการรับรู้ชีวิตที่มีผลต่อความคิด ความปรารถนา ค่านิยม อารมณ์ และการตั้งเป้าหมายในชีวิตของแต่ละบุคคล อันมีผลต่อการแสดงพฤติกรรมของ เขา จนกระทั่งกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพตามมา และการประสบความสาเร็จหรือความ ล้มเหลวทั้งในชีวิตส่วนตัว การศึกษาเล่าเรียน หรือการทางานในชีวิตส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับการเห็น คุณค่าในตนเองด้วยเช่นกัน ผู้ที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงจึงมีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความ คาดหวังอย่างเป็นจริงและเป็นไปได้ในความสาเร็จที่จะได้รับ ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเอง จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ได้ในที่สุด "การพึ่งตนเองเป็นสภาวะ อิสระ หมายถึงความสามารถของคนที่จะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด โดยไม่เป็นภาระคนอื่น มากเกินไป มีความสมดุล ความพอดีในชีวิต เป็นสภาวะทางกายที่สอดคล้องกับสภาวะทางจิต ที่เป็นอิสระ มีความพอใจในชีวิตที่เป็นอยู่ มีสิ่งจาเป็นปัจจัยสี่พอเพียง เป็นความพร้อมของชีวิต ทั้งทางร่างกายและจิตใจ "การพึ่งตนเอง ” หมายถึงการจัดชีวิตให้สัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ อย่างเหมาะสมกับคน กับสังคม กับธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา การพึ่งตนเองหมายถึงการมีสวัสดิการ และความมั่นคงในชีวิตในปัจจุบันถึงอนาคต สวัสดิการที่พร้อมตอบสนองเราทันที โดยที่เราไม่ต้อง ไปเรียกให้ใครมาจัดสวัสดิการให้ หรือให้ใครมาช่วยเหลือ ซึ่งมีการอบรมปลูกฝัง และสอดแทรก ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการจัดโครงการ/กิจกรรม ให้นักเรียนได้เรียนรู้ เอกลักษณ์ของโรงเรียน “ กิจกรรมเด่น เน้นอาชีพ ” กิจกรรมเด่น กิจกรรมเด่น หมายถึง กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ และกิจกรรมที่นักเรียนร่วมกันจัดขึ้น ตลอดจนการแสดงออกในด้านต่างๆ ของนักเรียนมีความ โดดเด่น เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและเป็นที่ประทับใจต่อผู้พบเห็น เน้นอาชีพ หมายถึง โรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้หารายได้ระหว่างเรียน เช่น การปลูก ผักสวนครัว การปลูกผักแบบไร้ดิน การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงปลา แล้วทาผล ผลิตที่ได้นามาจาหน่าย ให้กับโรงเรียนเพื่ออาหารกลางวันหรือจาหน่ายให้กับผู้ปกครอง ซึ่งมีการอบรมปลูกฝัง และสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการจัด โครงการ/กิจกรรม ให้นักเรียนได้เรียนรู้
  • 4. ๖๖ ๓. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๑. การปฏิรูปการศึกษาตามอัตลักษณ์และนโยบายพัฒนาครูพัฒนาผู้เรียนรู้ พัฒนาระบบบริหาร พัฒนาโรงเรียน การปฏิบัติตามแนวพระบรมราโชบาย ๒. สืบสานงานโครงการตามแนวพระราชดาริโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ส่งเสริมหลักประชาธิปไตยในสถานศึกษา เสริมสร้างการมีวินัยในการอยู่ร่วมกัน อย่าง สันติสุข ๔. ป้องการสิ่งเสพติดและพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ โดยหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ๕. ส่งเสริมการจัดกระบวนกาสรเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งภายในและภายนอกตาม ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ๖. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยบูรณาการเข้ากับสาระการเรียนรู้ ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๗. ส่งเสริมมาตรการป้องกันอุบัติภัยหรืออุบัติเหตุอย่างรอบด้านและทุกมิติ ๘. ส่งเสริมการฝึกทักษะวิชาชีพสู่การมีงานทาที่ยั่งยืน เหมาะสมตามศักยภาพ ๔. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ ๑ สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรสู่มาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน กลยุทธ์ที่ ๕ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรท้องถิ่น
  • 5. ๖๗ ๕. การดาเนินงานตามกลยุทธ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ ๑ สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑.โครงการประกัน ๑.เพื่อกาหนดมาตรฐาน เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๙ , ๑๒ คุณภาพภายใน การศึกษาของสถานศึกษาและ - โรงเรียนได้รับการ ตัวบ่งชี้ที่ ดาเนินการตามแผนพัฒนาการ ประเมินมีคุณภาพตาม ๙.๑ – ๙.๓ จัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่ มาตรฐานการศึกษาขั้น ๑๒.๑ – ๑๒.๖ มุ่งพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน พื้นฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๒. เพื่อจัดระบบข้อมูลสาระ สนเทศและใช้สารสนเทศในการ บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา ๓. เพื่อติดตามตรวจสอบ และ ประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ๔. เพื่อนาผลการประเมิน คุณภาพทั้งภายในและภายนอก ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  • 6. ๖๘ กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษา โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) ของสถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้ ๑.โครงการพัฒนานักเรียน ๑.เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยใน เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ ให้มีสุขภาวะที่ดีและมี การดูแลสุขภาพ และออกกาลัง นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและ ตัวบ่งชี้ที่ สุนทรียภาพ กายสม่าเสมอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ มีน้าหนักส่วนสูง ๑.๔ , ๑.๖ ๒.เพื่อให้นักเรียนมีน้าหนัก และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ป้องกัน ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทาง ตนเองจากสารเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง กายตามเกณฑ์มาตรฐาน สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย ๓.เพื่อให้นักเรียนป้องกันตนเอง อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ มีความมั่นใจ จากสิ่งเสพติดให้โทษ และ และกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้ หลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่ เกียรติผู้อื่น มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย และผู้อื่น อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ เชิงปริมาณ ๔.เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าใน ๑.เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแล ตนเอง มีความมั่นใจ กล้า สุขภาพ และออกกาลังกายสม่าเสมอ แสดงออกอย่างเหมาะสม ร้อยละ ๘๐ ๕.เพื่อให้นักเรียนมีมนุษย ๒.เพื่อให้นักเรียนมีน้าหนักส่วนสูงและมี สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๖.เพื่อสร้างผลงานจากการเข้า ร้อยละ ๘๐ ร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะดนตรี ๓.เพื่อให้นักเรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพ นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตาม ติดให้โทษ และหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่ จินตนาการ เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และ ปัญหาทางเพศ ร้อยละ ๘๐ ๔.เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มี ความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๕.เพื่อให้นักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้ เกียรติผู้อื่น ร้อยละ ๘๐ ๖.เพื่อสร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตามจินตนาการ ร้อยละ ๘๐
  • 7. ๖๙ สนอง มาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย ของสถานศึกษา โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้ ของโครงการ/กิจกรรม ๒.โครงการส่งเสริม ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๒ คุณธรรม จริยธรรม พึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ตัวบ่งชี้ที่ ๒.เพื่อให้ผู้เรียนเอื้ออาทรต่อ ที่พึงประสงค์ ๒.๑ – ๒.๔ ผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี เชิงปริมาณ พระคุณ ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีคุณลักษณะที่พึง ๓.เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความคิด ประสงค์ตามหลักสูตร และวัฒนธรรมที่แตกต่าง ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีความเอื้ออาทรต่อ ๔.เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักรู้ ผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ยอมรับความคิดและ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมที่แตกต่าง ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีความตระหนักรู้ คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๓.โครงการใฝ่รู้ใฝ่เรียน ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๓ อ่านและแสวงหาความรู้ด้วย ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มี ตัวบ่งชี้ที่ ตนเองจากห้องสมุด แหล่ง ความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการ ๓.๑ – ๓.๓ เรียนรู้และสิ่งต่าง ๆ รอบตัว อ่าน รักการเขียน รักการค้นคว้า ๒.เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการ เชิงปริมาณ อ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและตั้ง ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีนิสัยรักการอ่าน คาถาม เพื่อค้นคว้าหาความรู้ และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก เพิ่มเติม ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสิ่งต่าง ๆ ๓.เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกัน รอบตัว เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความ ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะในการอ่าน คิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่าง ฟัง ดู พูด เขียนและตั้งคาถาม เพื่อค้นคว้า กันและใช้เทคโนโลยีในการ หาความรู้เพิ่มเติม เรียนรู้และนาเสนอผลงาน ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เรียนรู้ร่วมกันเป็น กลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการ เรียนรู้ระหว่างกันและใช้เทคโนโลยีใน การเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
  • 8. ๗๐ สนอง มาตรฐาน เป้าหมาย การศึกษาของ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้ ๔.โครงการส่งเสริม ๑.เพื่อให้ผู้เรียนสรุปความคิดจาก เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๔ ทักษะกระบวน เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร ผู้เรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมให้มี ตัวบ่งชี้ที่ การคิด โดยการพูดหรือเขียนตาม ความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิด ๔.๑ – ๔.๔ ความคิดของตนเอง มีความคิด สร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ ริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วย สมเหตุสมผล ความภาคภูมิใจ เชิงปริมาณ ๒.เพื่อให้ผู้เรียนนาเสนอวิธีคิด ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการ ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตาม ของตนเอง ความคิดของตนเอง มีความคิดริเริ่มและ ๓.เพื่อให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมาย สร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ คาดการณ์ตัดสินใจแก้ปัญหา ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหา โดยมีเหตุผลประกอบ ด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหา โดยมีเหตุผลประกอบ ๕.โครงการส่งเสริม ๑.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ ความเป็นเลิศ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และ ตัวบ่งชี้ที่ ทางวิชาการ เป็นไปตามเกณฑ์ ทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ๕.๑ – ๕.๔ ๒.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการประเมิน เชิงปริมาณ สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ และเป็นไปตามเกณฑ์ ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการประเมิน ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการประเมินสมรรถนะ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สาคัญตามหลักสูตรและเป็นไปตามเกณฑ์ เป็นไปตามเกณฑ์ ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการประเมินการอ่าน ๔.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบ คิดวิเคราะห์และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ ระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีผลการทดสอบระดับชาติ เป็นไปตามเกณฑ์
  • 9. ๗๑ สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษา โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) ของสถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๖. โครงการส่งเสริม ๑.เพื่อให้ผู้เรียนวางแผนการ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๖ ประชาธิปไตย ทางานและดาเนินการจนสาเร็จ ๑.ผู้เรียนเข้าใจการปกครองระบอบ ตัวบ่งชี้ที่ ในโรงเรียน ๒.เพื่อให้ผู้เรียนทางานอย่างมี ประชาธิปไตย ๖.๑ – ๖.๔ ความสุข มุ่งมั่นพัฒนางานและ ๒.ผู้เรียนรู้จักใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ภูมิใจในผลงานของตนเอง และหน้าที่ของตนเอง ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดี ๓.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดูแล ปกครองและ เกี่ยวกับการปกครองระบอบ ร่วมกิจกรรมต่างๆ ประชาธิปไตย เชิงปริมาณ ๔.เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึก ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ วางแผนการทางานและ ตนเองเกี่ยวกับการใช้สิทธิ ดาเนินการจนสาเร็จ เสรีภาพความเสมอภาคและ ๒.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ทางานอย่างมีความสุข หน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิใจในผลงานของ ตนเอง ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย ๔.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับการใช้สิทธิเสรีภาพความเสมอภาคและ หน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย ๗. โครงการส่งเสริม ๑.เพื่อส่งเสริมอาชีพโดยใช้ภูมิ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๖ อาชีพโดยใช้ภูมิปัญญา ปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจ ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมอาชีพโดยใช้ภูมิ ตัวบ่งชี้ที่ ท้องถิ่นตามหลัก พอเพียง ปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๖.๑ – ๖.๔ เศรษฐกิจพอเพียง ๒.เพื่อจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น เชิงปริมาณ ร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครู ๑.ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการส่งเสริมอาชีพ นักเรียนและวิทยากรภูมิปัญญา โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจ ชาวบ้าน พอเพียง ๓.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดี ๒.สถานศึกษามีหลักสูตรท้องถิ่น ต่ออาชีพสุจริต และหาความรู้ ๓.ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพ เกี่ยวอาชีพที่ตนเองสนใจ สุจริต และหาความรู้เกี่ยวอาชีพที่ตนเองสนใจ
  • 10. ๗๒ กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรสู่มาตรฐานวิชาชีพ สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑.โครงการพัฒนาครูให้มี ๑. เพื่อให้ครูมีความรู้ เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๗ ความสามารถในการ ความเข้าใจกาหนด ๑. ครูมีความรู้ความเข้าใจ กาหนดเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑ – ๗.๘ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้เรียน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่ เกิดประสิทธิผล กระบวนการ สมรรถนะ พึงประสงค์คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และคุณลักษณะที่พึง ๒. ครูมีความรู้ความเข้าใจ สามารถ ประสงค์ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและใช้ข้อมูล ๒. เพื่อให้ครูมีความรู้ ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ความเข้าใจสามารถ ศักยภาพของผู้เรียนคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็น ๓. ครูมีความรู้ความเข้าใจสามารออกแบบ รายบุคคลและใช้ข้อมูล และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ ในการวางแผนการ แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา สติปัญญาคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ศักยภาพของผู้เรียน ๔. ครูสามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ ๓. เพื่อให้มีความรู้ความ เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิ เข้าใจสามารออกแบบ ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ และจัดการเรียนรู้ที่ จัดการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ตอบสนองความ ๕. ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการ แตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนาการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย และและพัฒนาการทาง วิธีการที่หลากหลายคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สติปัญญา ๖. ครูมีการให้คาแนะนาคาปรึกษาและ ๔. เพื่อให้ครูสามารถใช้ แก้ไขปัญหาให้กับผู้เรียนทั้งด้านการเรียน สื่อและเทคโนโลยีที่ และคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาคคิดเป็น เหมาะสมผนวกกับการ ร้อยละ ๑๐๐ นาบริบทและภูมิปัญญา ๗. ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการ ของท้องถิ่นมาบูรณาการ เรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลใน ในการจัดการเรียนรู้ การปรับการสอนคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • 11. ๗๓ สนอง เป้าหมาย มาตรฐาน วัตถุประสงค์ โครงการ/กิจกรรม (เชิงปริมาณและคุณภาพ) การศึกษาของ สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑.โครงการพัฒนาครูให้มี ๕. เพื่อให้ครูมีการวัดและ ๘. ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและ ความสามารถในการ ประเมินผลที่มุ่งเน้นการ เป็นสมาชกที่ดีของสถานศึกษาคิดเป็นร้อยละ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย ๑๐๐ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ วิธีการที่หลากหลาย ๙. ครูมีการจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ เกิดประสิทธิผล ( ต่อ ) ๖. เพื่อให้ครูมีการให้คาแนะนา ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็มความสามารถคด คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่ เป็นร้อยละ ๑๐๐ ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ เป้าหมายเชิงปริมาณ คุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค คณะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๐ ๗. เพื่อให้ครูมีการศึกษาวิจัยและ จังหวัดชุมพร จานวน ๔๐ คน พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ เป้าหมายเชิงคุณภาพ ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการ ๑.ให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเกี่ยวกับวิธีการจัด ปรับการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนตามแบบปฏิรูป ๘. เพื่อให้ครูประพฤติปฏิบัติตน กระบวนการเรียนรู้โดยดาเนินการดังนี้ เป็นแบบอย่างที่ดีและเป็น - โดยศึกษาเอกสาร สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา - โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ๙. เพื่อให้ครูมีการจัดการเรียน - โดยศึกษาดูงานภายในภาคเรียนที่ ๑ การสอนตามวิชาที่ได้รับ ๒. ผู้บริหารโรงเรียนเยี่ยมชั้นเรียนอย่างน้อย ๒ มอบหมายเต็มเวลาเต็ม ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละไม่เกิน ๑๕ นาทีและนา ความสามารถ ผลการเยี่ยมชั้นเรียนแนะนาส่งเสริมครูตาม ความเหมาะสม ๓. ผู้บริหารกาหนดสาธิตในเมื่อมีเรื่องใหม่ๆ หรือในเมื่อครูผู้สอนมีความต้องการ ๑ เดือนต่อ ครั้ง ภายในภาคเรียนที่ ๑
  • 12. ๗๔ สนอง โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐาน (เชิงปริมาณและคุณภาพ) การศึกษาของ ของโครงการ/กิจกรรม สถานศึกษา (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๒. โครงการนิเทศภายใน ๑. เพื่อให้ผู้บริหารให้คาแนะนา เป้าหมายเชิงปริมาณ มาตรฐาน ๗,๘ คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจ ๑. ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ที่ ใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพ และเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและ ๗.๑ – ๗.๙ และเต็มเวลา เต็มเวลา ๘.๑ – ๘.๖ ๒. เพื่อให้ครูผู้สอนมีความรู้ ๒. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๕.๐๐ มีความรู้ความ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการจัดการ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอน เรียนการสอนและนาไปใช้ใน สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการ การปรับปรุงกิจกรรมการเรียน เรียนการสอนของครูได้ การสอนของตนได้ ๓. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๕.๐๐ ออกแบบและ ๓. เพื่อให้ครูออกแบบและ จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง จัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา แตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสติปัญญา
  • 13. ๗๕ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สนอง เป้าหมาย มาตรฐาน โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) การศึกษาของ สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑. โครงการเสริมสร้าง ๑.เพื่อให้ผู้บริหารใช้หลักการ เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๔,๘,๙ ประสิทธิภาพการบริหาร บริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูล โรงเรียนมีการบริหารงานโดยใช้ ตัวบ่งชี้ที่ จัดการศึกษา ผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็น โรงเรียนเป็นฐานได้ได้อย่างมี ๔.๓ , ฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการ ประสิทธิภาพ ๘.๑ – ๘.๖ , จัดการ เป้าหมายเชิงปริมาณ ๙,๑ – ๙.๓ ๒.เพื่อให้ผู้บริหารสามารถบริหาร คณะครู ผู้ปกครองและ จัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น ตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ พื้นฐานทุกคนมีส่วนร่วมในการ ๓.เพื่อให้ผู้บริหารส่งเสริมและ บริหารจัดการและพัฒนาโรงเรียน พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับ การกระจายอานาจ ๔. เพื่อให้ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่ การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพ และ เต็มเวลา ๒. โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ๑.เพื่อให้มีการสร้างและพัฒนา เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๓ แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและ -สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ภายใน ตัวบ่งชี้ ใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้ง สถานศึกษาและใช้ประโยชน์จาก ๑๓.๑ – ๑๓.๒ ภายใน และภายนอกสถานศึกษา ใน แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ การเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากร ภายนอกสถานศึกษาในการเรียนรู้ ของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่ ของผู้เรียนและบุคลากรของ เกี่ยวข้อง -สถานศึกษารวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒.เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา บุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ชุมชนและองค์กร ที่เกี่ยวข้อง
  • 14. ๗๖ สนอง เป้าหมาย มาตรฐาน โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ (เชิงปริมาณและคุณภาพ) การศึกษาของ สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) เป้าหมายเชิงปริมาณ - มีแหล่งเรียนรู้ใช้ ประกอบการสอนใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ ๓. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ ๑. เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เป็น เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๑ แหล่งเรียนรู้ให้กับผู้เรียน - สถานศึกษามีแหล่ง ตัวบ่งชี้ที่ ๒. เพื่อให้สภาพแวดล้อมภายใน เรียนรู้ที่ปลอดภัย น่า ๑๑.๑ – ๑๑.๕ โรงเรียนปลอดภัย น่าอยู่และ น่าอยู่ น่าเรียน สวยงาม น่าชื่นชม ๓. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมดูแล เป้าหมายเชิงปริมาณ รักษาแหล่งเรียนรู้ภูมิทัศน์ของ - สภาพแวดล้อม โรงเรียน ภายในสถานศึกษา ร้อยละ ๘๕.๐๐ ถูก ปรับปรุงให้เป็น แหล่งเรียนรู้
  • 15. ๗๗ กลยุทธ์ที่ ๕ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรท้องถิ่น สนอง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐาน โครงการ/กิจกรรม (เชิงปริมาณและคุณภาพ) การศึกษาของ สถานศึกษา ของโครงการ/กิจกรรม (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑.โครงการพัฒนาหลักสูตร ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษา ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจ มี - ครูทุกคนมีความรู้ ตัวบ่งชี้ที่ ความสามารถในการพัฒนา ความเข้าใจ มี ๑๐.๑ , ๑๐.๒ หลักสูตรและสามารถนาไปใช้ ความสามารถในการ นาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาหลักสูตรและ ๒. เพื่อให้สถานศึกษามีหลักสูตรที่ มีความสามารถ เหมาะสมสอดคล้องกับเป้าหมาย - สถานศึกษามี ของสถานศึกษาและสภาพของ หลักสูตรสถานศึกษา ชุมชน และมีคู่มือการจัดการ เรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ เป้าหมายเชิงปริมาณ - ครูผู้สอนทุกคนและ เอกสารประกอบ หลักสูตรสถานศึกษา ครบทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้