SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
กล้องจุลทรรศน์
( Microscope )
กลุ่มที่ 1 ชั้น ม. 4/5
1. นาย พลวัตร รื่นอายุ
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope)
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope)
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ (compound light
microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ ชนิดที่ใช้เลนส์หลายอันและ
มีกำาลังขยายต่างๆ กันจะเห็นภาพวัตถุได้โดยมีการสะท้อนแสงจาก
วัตถุเข้าสู่เลนส์
ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คือ เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens)
และเลนส์ใกล้ตา (ocular lens หรือ eyepiece) กำาลังขยาย
ของภาพคือ ผลคูณของกำาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับกำาลัง
ขยายของเลนส์ใกล้ตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียด
ของภาพของกล้องจุลทรรศน์ขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติของเลนส์ และ
แสงต้นกำาเนิดการหากำาลังขยาย
กำาลังขยายของกล้อง = กำาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x
กำาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ที่มา : http://www.nongjik.ac.th/download//ครูวีระ
ศักดิ์/web/ch_1.html
1. ฐาน ( BASE ) ทำาหน้าที่รับนำ้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์
มีรูปร่างสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มสำาหรับปิดเปิดไฟฟ้า
2. จานหมุน (EVOLVING NOSEPIECE) เป็นส่วนของกล้องที่ใช้
สำาหรับหมุน เพื่อเปลี่ยนกำาลังขยายของ
เลนส์ใกล้วัตถุ
3. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 10 X จะติดอยู่เป็นชุด
กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วย
เลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา
( Specimen ) เมื่อลำาแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะ
ขยายภาพของวัตถุนั้น ได้ 10 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่
ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
4. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 40 X จะติดอยู่เป็นชุด
กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วย
เลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา
( Specimen ) เมื่อลำาแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะ
ขยายภาพของวัตถุนั้น ได้ 40 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่
ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
5. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 100 X จะติดอยู่เป็นชุด
กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ ซึ่งรับแสง
ที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อลำาแสง
ผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะขยายภาพของวัตถุนั้น ได้
100 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
6. ที่หนีบสไลด์ (Stage clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวาง
วัตถุ ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage แทน
เพื่อควบคุม การเลื่อนสไลด์ให้สะดวกยิ่งขึ้น
7. คอนเดนเซอร์( CONDENSER ) จะอยู่ด้านใต้ของแท่นวาง
วัตถุ เป็นเลนส์รวมแสง เพื่อรวมแสงผ่านไป
ยังวัตถุที่อยู่บนสไลด์ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้โดยมีปุ่มปรับ ลำากล้อง
(BODY TUBE ) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับ
8. หลอดไฟ เป็นแหล่งกำาเนิดแสง
9. เลนส์ใกล้ตา ( EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS )
เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำากล้อง มีตัวเลขแสดงกำาลัง
ขยาย อยู่ด้านบน เช่น 5X, 10X หรือ 15X เป็นต้น กล้องที่ใช้ใน
ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทั่วไปนั้น มีกำาลังขยาย
ของเลนส์ตา ที่ 10X รุ่นที่มีเลนส์ใกล้ตาเลนส์เดียว เรียก
Monocular Microscope ชนิดที่มีเลนส์
ใกล้ตาสองเลนส์ เรียก Binocular Microscope แท่นวางวัตถุ
(STAGE ) เป็นแท่นสำาหรับวางสไลด์ตัวอย่าง
ที่ต้องการศึกษา มีลักษณะเป็น แท่นสี่เหลี่ยม หรือวงกลมตรงกลาง
มีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุแท่นนี้
สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ด้านในของ แท่นวางวัตถุ จะมีคริป สำาหรับ
ยึดสไลด์ ์์และมีอุปกรณ์ช่วยในการเลื่อนสไลด์ เรียก
ว่า Mechanical Stage นอกจากนี้ยังมีสเกลบอกตำาแหน่งของ
สไลด์ บนแทนวางวัตถุ ทำาให้สามารถ
บอกตำาแหน่งของภาพบนสไลด์ได้
10. แขนกล้อง (arm) เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ยึดระหว่างลำากล้องและ
ฐานกล้องเป็นตำาแหน่งที่ใช้จับกล้อง
ในขณะเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์
11. แท่นวางสไลด์ (stage) เป็นแท่นที่ใช้วางสไลด์ (slide)
ตัวอย่างที่ต้องการศึกษาที่ตรงกลางแท่นวางสไลด์
12. ปุ่มปรับภาพหยาบ ( COARSE ADJUSMENT KNOB ) ใช้
เลื่อนตำาแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง
เมื่ออยู่ในระยะโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้ ปุ่มนี้มีขนาดใหญ่จะอยู่
ที่ด้านข้างของตัวกล้อง
13.ปุ่มปรับภาพละเอียด ( FINE ADJUSMENT KNOB ) เป็นปุ่ม
ขนาดเล็กอยู่ถัดจากปุ่มปรับภาพหยาบ
ออกมาทางด้านนอกที่ตำาแหน่งเดียวกัน หรือกล้องบางชนิดอาจจะ
อยู่ใกล้ ๆ กัน เมื่อปรับด้วยปุ่มปรับภาพหยาบ
จน มองเห็นภาพแล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดจะทำาให้ได้ภาพ
คมชัดยิ่งขึ้น
14.ฐาน (base) เป็นส่วนล่างสุดของกล้องจุลทรรศน์ ทำาหน้าที่รับ
นำ้าหนักตัวกล้องทั้งหมด
2. นางสาว จิราพร ลำ่าฮวด
วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ
วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ
1.การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์
การ เคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ทำาได้โดยใช้มือข้างหนึ่งจับ
ที่แขนกล้อง มืออีกข้างหนึ่งรองใต้ฐานกล้อง รักษาระดับให้กล้อง
อยู่ในสภาพตั้งตรงตลอดการเคลื่อนย้าย เพื่อป้องกันการลื่นหลุด
ของเลนส์ใกล้ตา ไม่เคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์โดยการลากไปบน
พื้นโต๊ะแรงกระเทือนอาจมีผลต่อระบบเลนส์ได้ วาง
กล้องจุลทรรศน์ ให้ห่างจากขอบโต๊ะปฏิบัติการพอสมควรที่จะ
ทำางานได้สะดวก
2 . ก่อนเริ่มใช้กล้องจุลทรรศน์ ให้ตรวจสอบกล้องจุลทรรศน์ดัง
ต่อไปนี้
- สายไฟถูกพับเก็บหรือพันอยู่กับฐานของกล้อง
3. สวิตซ์เปิดปิดหลอดไฟที่ฐานกล้องอยู่ในตำาแหน่ง “ ปิด”
4. สวิตซ์ เพิ่มความเข้มของแสงอยู่ตำาแหน่งตำ่าสุด ในกรณีที่เป็น
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้กระจกเงา กระจกต้องปรับอยู่ในแนวตั้ง
ฉากเพื่อลดการเกาะของฝุ่นในอากาศ
5.แท่น วางสไลด์ถูกเลื่อนอยู่ในตำาแหน่งตำ่าสุด ในกรณีที่แท่น
วางสไลด์มีตัวเลื่อนสไลด์ต้องปรับตำาแหน่งให้ แกนของตัวเลื่อน
สไลด์ยื่นออกมาจากแท่นวางสไลด์ให้น้อยที่สุด
6. เลนส์รวมแสงถูกเลื่อนอยู่ในตำำแหน่งตำ่ำสุด
7. เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำำลังขยำยตำ่ำสุดอยู่ในแนวเดียวกับเลนส์รวม
แสง
8. หำกเป็นกล้องจุลทรรศน์ที่สำมำรถปรับระยะห่ำงระหว่ำงตำและ
ปรับแก้สำยตำเอียง ได้ ต้องเลื่อนเลนส์ใกล้ตำ ให้เข้ำมำใกล้กัน
มำกที่สุดและหมุนให้ตัวปรับแก้สำยตำเอียงอยู่ในตำำแหน่ง “ 0 ”
9. คลี่สำยไฟออก นำำไปเสียบกับแหล่งจ่ำยไฟ กดสวิตซ์ปิดเปิด
หลอดไฟที่ฐำนกล้อง ไปยังตำำแหน่ง “ เปิด ” ใช้มือหมุนแป้นหมุน
เลนส์ในกำรเปลี่ยนกำำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุให้วัตถุที่ มีกำำลัง
ขยำยตำ่ำ สุดอยู่ในแนวแสง ที่ส่องขึ้นมำจำกฐำน เมื่อเลนส์ใกล้
วัตถุเลื่อนไปยังตำำแหน่งที่ถูกต้องจะมีเสียง “ คลิ๊ก ”
10. เลื่อนสวิตซ์เพิ่มควำมเข้มของแสงให้อยู่ในตำำแหน่งกึ่งกลำง
กรณีที่เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกระจกเงำ ให้ปรับกระจกเงำหันออก
มำรับแสงเพื่อให้แสงผ่ำนขึ้นไปยังรูที่อยู่บนแท่นวำง สไลด์เข้ำสู่
เลนส์ใกล้วัตถุ ตรวจสอบดูว่ำ แสงผ่ำนเข้ำกล้องหรือไม่ โดยมอง
ผ่ำนเลนส์ใกล้ตำ กำรมองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำให้มองโดยกำรลืมตำ
ทั้งสองข้ำง แม้ว่ำกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้เลนส์ใกล้ตำเพียงอันเดียว
หำกเป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตำ 2 อัน ให้ปรับระยะห่ำง
ระหว่ำงตำจนภำพที่เห็นซ้อนกันเป็นภำพเดียว
11. วำงแผ่นสไลด์ที่มีตัวอย่ำงของวัตถุบนแท่นวำงสไลด์โดยให้
กระจกปิดสไลด์อยู่ด้ำนบนยึดแผ่นสไลด์ เข้ำกับ ที่จับของ ตัวเลื่อน
สไลด์ ( ถ้ำมี) ลองเลื่อนสไลด์ไปมำเพื่อศึกษำวิธีกำรบังคับสไลด์
ให้เลื่อนไปทำง ซ้ำย-ขวำและ เข้ำหำตัว-ออกจำกตัว เลื่อนสไลด์
ให้วัตถุไปอยู่ตรงกลำงของรูแท่นวำงสไลด์ที่แสงผ่ำนขึ้นมำจำก
ด้ำนล่ำง
12. หมุนปุ่มปรับภำพหยำบ จนสไลด์ใกล้กับเลนส์ใกล้วัตถุมำก
ที่สุดแต่ไม่ชนกับเลนส์ใกล้วัตถุ ขณะหมุนปุ่มปรับภำพหยำบ ต้อง
คอยสังเกตระยะห่ำงระหว่ำงสไลด์กับเลนส์ใกล้วัตถุตลอดเวลำโดย
ใช้ตำเล็งในระดับเดียวกับผิวหน้ำของแท่นวำงสไลด์
13. เลื่อนเลนส์รวมแสงให้สูงที่สุด แต่ไม่ให้ชนกับสไลด์ที่วำงอยู่
บนแท่นวำงสไลด์ เปิดไอริสไดอะแฟรม ให้กว้ำงที่สุด
สังเกตกำรณ์เปลี่ยนแปลงระหว่ำงกำรเปิด - ปิด ไอริสไดอะแฟรม
โดยกำรมองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำ มองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำในขณะ ที่
หมุนปุ่มปรับภำพหยำบเพื่อเพิ่มระยะห่ำงระหว่ำงสไลด์และเลนส์
ใกล้วัตถุ หมุนปุ่มปรับภำพหยำบ จนภำพวัตถุเริ่มชัดเจนมำกที่สุด
และอำจปรับควำมเข้มของแสงโดยใช้สวิตซ์เพิ่มควำมเข้มของแสง
ตำมต้องกำร
14. หมุนปุ่มปรับภำพละเอียดจนภำพวัตถุชัด ทดลองเลื่อนสไลด์
ไปทำงซ้ำย- ขวำ แล้วสังเกตกำรณ์เคลื่อนที่ของภำพในกล้อง
15. หำกต้องเพิ่มกำำลังขยำยให้สูงขึ้น ใช้มือหมุนแป้นหมุนเลนส์
ให้มีกำำลังขยำยสูงขึ้น ในลำำดับถัดไป ให้อยู่ในแนวแสง (หำก
เลนส์ใกล้วัตถุเข้ำสู่ตำำแหน่งที่ถูกต้องจะต้องมีเสียง "คลิ๊ก" ทุกครั้ง
ปรับภำพให้ชัดเจนโดยให้ใช้ ปุ่มปรับภำพละเอียดจนภำพวัตถุ
ชัดเจน
ให้สังเกตกำรเปลี่ยนแปลงของภำพที่เห็นเพื่อทำำกำร
เปลี่ยนกำำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุจำก
4' เป็น 10' และเป็น 40'
16. หำกต้องกำรใช้เลนส์ใกล้วัตถุกำำลังขยำย 100' ต้องใช้
นำ้ำมัน (Immersion Oil) เป็นตัวกลำง
ระหว่ำงกระจก ปิดสไลด์และเลนส์ใกล้วัตถุ ต้องหยดนำ้ำมันบน
สไลด์ก่อนจึงจะหมุนให้เลนส์ใกล้วัตถุดังกล่ำวอยู่ในแนวแสง
3. นำย สถำพร พึ่งพัฒนำ
กำรใช้เลนส์วัตถุที่ใช้กับนำ้ำมันและกำรหยดนำ้ำมันบน
สไลด์
กำรใช้เลนส์วัตถุที่ใช้กับนำ้ำมันและกำรหยดนำ้ำมันบนสไลด์
ช่วยทำำให้แสงไม่หักเหออกจำกเลนส์วัตถุ ทำำให้แสงเดินทำงเข้ำสู่
เลนส์ได้ที่มำ
: http://www.udel.edu/biology/ketcham/microscope
/scope.html
กำรดูแลรักษำ
เนื่องจำกกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีรำคำค่อนข้ำงสูงและ
มีส่วนประกอบที่อำจเสียหำยง่ำย
โดยเฉพำะเลนส์ จึงต้องใช้และเก็บรักษำด้วยควำมระมัดระวังให้
ถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
• ในกำรยกกล้องและเคลื่อนย้ำยกล้อง ต้องใช้มือหนึ่งจับที่
แขนและอีกมือหนึ่งรองที่ฐำนของ กล้อง
• สไลด์และกระจกปิดสไลด์ที่ใช้ต้องไม่เปียก เพรำะอำจจะ
ทำำให้แท่นวำงวัตถุเกิดสนิม และเลนส์ใกล้วัตถุอำจขึ้นรำได้
• เมื่อต้องกำรหมุนปุ่มปรับภำพหยำบต้องมองด้ำนข้ำงตำมแนว
ระดับ แท่นวำงวัตถุ เพื่อป้องกันกำรกระทบของเลนส์ใกล้
วัตถุกับกระจกสไลด์ ซึ่งอำจทำำให้เลนส์แตกได้
• กำรหำภำพต้องเริ่มด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำำลังขยำยตำ่ำสุด
ก่อนเสมอ
• เมื่อต้องกำรปรับภำพให้ชัดขึ้นให้หมุนเฉพำะปุ่มปรับภำพ
ละเอียด เท่ำนั้น เพรำะถ้ำหมุนปุ่มปรับภำพหยำบจะทำำให้
ระยะภำพหรือจุดโฟกัสของภำพเปลี่ยนไปจำก เดิม
• ห้ำมใช้มือแตะเลนส์ ควรใช้กระดำษเช็ดเลนส์ในกำร
ทำำควำมสะอำดเลนส์
• เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอำวัตถุที่ศึกษำออก เช็ดแท่นวำงวัตถุ
และเช็ดเลนส์ให้สะอำด หมุนเลนส์ใกล้วัตถุกำำลังขยำยตำ่ำสุด
ให้อยู่ตรงกลำงลำำกล้อง และเลื่อนลำำกล้องลงตำ่ำสุด ปรับ
กระจกให้อยู่ในแนวตั้งฉำกกับแท่นวำงวัตถุเพื่อป้องกันไม่
ให้ฝุ่นเกำะ แล้วเก็บใส่กล่องหรือตู้ให้เรียบร้อย
4. นำงสำว ขนิษฐำ แสงกระจ่ำง
กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบสเตอริโอ
กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบสเตอริโอ
เป็นกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ที่ทำำให้เกิดภำพแบบ 3 มิติ ใช้ศึกษำ
วัตถุที่มีขนำดใหญ่แต่ตำเปล่ำไม่สำมำรถแยกรำยละเอียดได้จึง
ต้องใช้ กล้องชนิดนี้ช่วยขยำย กล้องชนิดนี้มีข้อแตกต่ำงจำก
กล้องทั่วๆไป คือ
1. ภำพที่เห็นเป็นภำพเสมือนมีควำมชัดลึกและเป็นภำพสำมมิติ
2. เลนส์ใกล้วัตถุมีกำำลังขยำยตำ่ำ คือ น้อยกว่ำ 1 เท่ำ
3. ใช้ศึกษำได้ทั้งวัตถุโปร่งแสงและวัตถุทึบแสง
4. ระยะห่ำงจำกเลนส์ใกล้วัตถุกับวัตถุที่ศึกษำอยู่ในช่วง 63-225
มิลลิเมตร
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
1. ตั้งระยะห่ำงของเลนส์ใกล้ตำให้พอเหมำะกับนัยน์ตำของผู้ใช้
กล้องทั้งสองข้ำง จะทำำให้จอภำพที่เห็นอยู่ในวงเดียวกัน
2. ปรับ โฟกัสเลนส์ใกล้ตำทีละข้ำงจนชัดเจน ถ้ำหำกต้องกำร
ศึกษำจุดใดจุดหนึ่งของตัวอย่ำงให้ปรับโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ ที่
มีกำำลังขยำยสูงก่อน เพรำะจะทำำให้เห็นภำพวัตถุได้ชัดเจนทั้ง
กำำลังขยำยสูงและกำำลังขยำยตำ่ำ
5. นางสาว วรรณิดา ศรีประทุม
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
กล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอน
กล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอน (อังกฤษ: Electron microscope)
ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2475 ในประเทศเยอรมนี โดย
นักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ แมกซ์ นอลล์ และ เอิร์นท์ รุสกา เป็น
กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ลำาอิเล็กตรอนแทนแสงธรรมดา กล้องแบบนี้มี
หลักการทำางานคล้ายกับกล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสง แต่แตกต่าง
กันที่ส่วนประกอบภายใน กล่าวคือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะ
ใช้ลำาอิเล็กตรอนซึ่งมีขนาดเล็กมากวิ่งผ่านวัตถุ และโฟกัสภาพลง
บนจอเรืองแสง เลนส์ต่าง ๆ ในกล้องจะใช้ขดลวดพันรอบ ๆ แท่ง
เหล็กอ่อน เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ง
สนามแม่เหล็กจะผลักกับประจุของอิเล็กตรอน ทำาให้อิเล็กตรอน
เบี่ยงเบนไปสู่เป้าหมายได้
ระบบเลนส์ของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ใช้ เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แก้วในกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา
เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้านั้นประกอบด้วยขดลวดพันรอบแท่งเหล็ก เมื่อ
ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปจะทำาให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่งทำาให้
ลำาแสงอิเล็กตรอนเข้มข้นขึ้นเพื่อไปตกอยู่ที่วัตถุที่ต้องการศึกษา
เลนส์ของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนนั้นประกอบด้วย เลนส์รวม
แสง และโปรเจกเตอร์ เลนส์ โดย โปรเจกเตอร์เลนส์นั้นมีหน้าที่
ฉายภาพ จากตัวอย่างที่ต้องการศึกษาลงบนจอภาพ ซึ่งจอภาพจะ
ฉาบด้วยสารเรืองแสง เมื่อลำาแสงอิเล็กตรอนตกบนจอภาพจะ
ทำาให้เกิดการเรืองแสงที่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า ดังนั้นผู้
ศึกษาจึงสามารถมองเห็นภาพบนจอและสามารถบันทึกภาพนั้น
ด้วยกล่อง ถ่ายรูปซึ่งประกอบอยู่ในกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนได้
แหล่งกำาเนิดลำาแสงอิเล็กตรอน
แหล่งกำาเนิดลำาแสงอิเล็กตรอน คือ ปืนยิงอิเล็กตรอน ซึ่งมีลักษณะ
เป็นขดลวดตัววีทำาจากทังสเตน อิเล็กตรอนจะถูกปล่อยออกมาหลัง
จากผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด เนื่องจากอิเล็กตรอนมี
ขนาดเล็กมาก จึงต้องมีการดูดอากาศออกจากตัวกล้องให้เป็น
สุญญากาศ เพื่อป้องกันการรบกวนของลำาแสงอิเล็กตรอน และเพื่อ
ป้องกันการเกิดการหักเห เนื่องมาจากการชนกันของมวลอากาศ
กับลำาแสงอิเล็กตรอน
ชนิดของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมี 2 ชนิด
1. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission
Electron microscope) หรือเรียกแบบย่อว่า TEM ซึ่ง
คิดค้นโดย เอิร์นส์ท รุสกา ในปี พ.ศ. 2475 ใช้ศึกษา
โครงสร้างภายในของเซลล์ โดยลำาแสงอิเล็กตรอนจะส่อง
ผ่านเซลล์หรือตัวอย่างที่ต้องการศึกษาซึ่งผู้ศึกษาต้องเตรียม
ตัวอย่างให้ได้ขนาดบางเป็นพิเศษ
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning
Electron microscope) หรือเรียกแบบย่อว่า SEM ซึ่ง
คิดค้นโดยเอ็ม วอน เอนเดนนี่ สร้างสำาเร็จในปี พ.ศ. 2481
ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิววัตถุ โดยลำาแสง
อิเล็กตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของวัตถุ ทำาให้ได้ภาพที่มี
ลักษณะเป็น 3 มิติ
ตัวอย่างภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ส่วนหัวของผีเสื้อกลางคืน
กระดาษทิชชูหรือกระดาษชำาระนั่นเอง
Fliegenauge (Drosophila).
ภาพสนิมของสังกะสี
ภาพสนิมสังกะสีอีกภาพ
แมงมุมนั่นเอง
ผลึกหิมะ
เกสรดอกไม้
ไวรัส
6. นางสาว สุภาพร นิมิตรัตน์
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน
(Transmission Electron microscope)
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน
(Transmission Electron microscope)
หรือเรียกแบบย่อว่า TEM ซึ่งคิดค้นโดย เอิร์นส์ท รุสกา ใน
ปีพ.ศ. 2475 ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์ โดยลำาแสง
อิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์หรือตัวอย่างที่ต้องการศึกษาซึ่งผู้
ศึกษา ต้องเตรียมตัวอย่างให้ได้ขนาดบางเป็นพิเศษ
กล้องจุลทรรศน์ชนิดนี้มีราคาแพงมาก และการใช้งานจะซับซ้อน
มากกว่ากล้อง จุลทรรศน์ที่กล่าวมาข้างต้น โดยใช้อิเล็กตรอนเป็น
แหล่งกำาเนิดแสงและให้ผ่าน ตัวอย่างที่มีขนาดบางมากๆ ใช้แผ่น
แม่เหล็กแทนเลนส์แก้ว สามารถขยายภาพได้ 200,000 ? ถึง
500,000 ? เป็นภาพ 2 มิติ (two dimensional image)
สามารถดูรายละเอียดภายในได้เช่นเดียวกับกล้องจุลทรรศน์ใช้
แสงแบบเชิงประกอบ
ที่มา:http://www.phy.cuhk.edu.hk/centrallaboratory/
TecnaiF20/TecnaiF20.html
7. นาย รฐนนท์ สังข์ทอง
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด
(Scanning Electron microscope)
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด
(Scanning Electron microscope)
หรือ เรียกแบบย่อว่า SEM ซึ่งคิดค้นโดยเอ็ม วอน เอนเดนนี่ สร้าง
สำาเร็จในปีพ.ศ. 2481 ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิว
วัตถุ โดยลำาแสงอิเล็กตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของวัตถุ
กล้องจุลทรรศน์ชนิดนี้ลำาแสงอิเล็กตรอนจะตกกระทบเฉพาะผิว
ด้านนอกของวัตถุ ภาพที่เห็นจะเห็นได้เฉพาะผิวนอก ทำาให้
ไดเภาพที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ กล้องชนิดนี้แม้วาจะมีความ
สามารถในการเห็นภาพตำ่ากว่า กล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบ
ส่องผ่านและสามารถเห็นเฉพาะผิวนอกของวัตถุก็ตามแต่ภาพที่
เห็น จะได้รายละเอียดมากกว่าและชัดเจน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่าง
ยิ่งสำาหรับนักชีววิทยาที่จะศึกษาโครงสร้างของสิ่งมี ชีวิตได้ดียิ่ง
ขึ้น
ที่มา:http://www.microscopehelp.com/theelectronmic
roscope.html
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning
Electron microscope)
ภาพถ่าย Kidney Stones หรือ นิ่วในไต
ภาพ Sunbird Tongue
8. นาย กิตติธัช คงประการ
การบำารุงรักษากล้องและการทำาความสะอาดเลนส์
การบำารุงรักษากล้อง
1. ควร ดูแลรักษากล้องให้สะอาดอยู่เสมอ และเมื่อไม่ได้ใช้กล้อง
ควรใช้ถุงคลุมกล้องไว้เสมอ เพื่อป้องกันฝุ่นละอองและสิ่งสกปรก
เข้าไปสัมผัสกับเลนส์ของกล้อง
2. ใน การทำาความสะอาดหรือการประกอบกล้อง ควรทำาด้วย
ความระมัดระวัง อย่าให้ชิ้นส่วนถูกกระแทกหรือหลุดตกหล่น กรณี
ที่กล้องหรือส่วนประกอบใดๆของกล้องตกหรือกระแทก จะมีผลให้
เมื่อประกอบกล้องแล้วภาพที่เห็นไม่คมชัด เป็นเพราะระบบภายใน
(ปริซึม) อาจเกิดการคลาดเคลื่อนได้ ซึ่งกรณีนี้ ควรส่งให้กับ
บริษัทซ่อม เพราะการตั้งศูนย์ของปริซึมและระบบเลนส์ภายในนั้น
ต้องใช้เครื่องมือที่ซับ ซ้อนและความชำานาญของช่าง
3. ห้ามใช้มือหรือส่วนใดๆของร่างกาย สัมผัสถูกส่วนที่เป็นเลนส์
และหลีกเลี่ยงการนำาเลนส์ออกจากตัวกล้อง
4. ใน กรณีที่ถอดเลนส์ออกจากตัวกล้อง ควรใช้ฝาครอบด้วยทุก
ครั้งเพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นละอองเข้าไปข้างใน ซึ่งอาจทำาให้เกิด
ความไม่ชัดของการมองภาพ
5 สำาหรับเลนส์ใกล้วัตถุ 100x ที่ใช้กับ Oil immersion หลัง
จากใช้แล้ว ควรทำาความสะอาดทุกครั้ง โดยการเช็ดด้วยกระดาษ
เช็ดเลนส์ cotton bud หรือผ้าขาวบางที่สะอาด และนุ่ม ชุบด้วย
นำ้ายาไซลีน หรือส่วนผสมของแอลกอฮอล์และอีเทอร์ ใน
อัตราส่วน 40:60 ตามลำาดับ
6 ควร หมุนปรับปุ่มปรับความฝืดเบาให้พอดี ไม่หลวมเกินไป ซึ่ง
จะทำาให้แท่นวางสไลด์เลื่อนหมุดลงมาได้ง่าย หรือฝืดจนเกินไป
ทำาให้การทำางานช้าลง
7 ปุ่มปรับ ภาพหยาบนั้น ควรหมุนในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา
อย่างช้าๆ จนกว่าจะได้ภาพ ห้ามปรับปุ่มปรับภาพทั้งซ้ายและขวา
ของตัวกล้องในลักษณะสวนทางกัน เพราะนอกจากจะไม่ได้ภาพ
ตามต้องการแล้ว ยังจะทำาให้เกิดการขัดข้องของฟันเฟือง
8 ใน กรณีต้องการใช้แสงมากๆควรใช้การปรับไดอะแฟรม แทน
การปรับเร่งไฟไปตำาแหน่งที่กำาลังแสงสว่างสุด (กรณีหลอดไฟ) จะ
ทำาให้หลอดไฟมีอายุยาวขึ้น
9 ก่อนปิดสวิตช์ไฟทุกครั้งควรหรี่ไฟก่อนเพื่อยืดอายุการใช้งาน
และเมื่อเลิกใช้ก็ควรปิดสวิตช์ทุกครั้ง
10 การเสียบปลั๊กไฟของตัวกล้องไม่ควรใช้รวมกันกับเครื่องใช้
ไฟฟ้าอื่น เพราะจะทำาให้หลอดไฟขาดง่าย
11 หลัง จากเช็ดส่วนใดๆของกล้องก็ตาม ถ้าไม่แน่ใจว่าแห้งหรือ
ปราศจากความชื้นแล้ว ควรเป่าลมให้แห้ง โดยใช้พัดลม หรือ ลูก
ยางเป่าลม (ห้ามเป่าด้วยปากเพราะจะมีความชื้น)
12 เมื่อแน่ใจว่าแห้งและสะอาดแล้ว จึงคลุมด้วยถุงพลาสติก
13 เก็บกล้องไว้ในที่ที่ค่อนข้างแห้งและไม่มีความชื้น
การทำาความสะอาดเลนส์
1. เป่า หรือปัดเศษผงหรือวัสดุอื่นๆที่อาจจะก่อให้เกิดรอยขูดขีด
บนพื้นผิวเลนส์ โดยใช้ลูกยางบีบ หรือปัดด้วยแปรงขนอ่อนๆ แต่
ถ้ายังไม่สามารถเอาออกได้ให้ใช้ผ้าขาวบางที่สะอาดและนุ่มชุบ
ด้วยนำ้าเช็ด เบาๆ
2. เตรียมนำ้ายาเช็ดเลนส์ (อีเทอร์:แอลกอฮอล์ = 60:40)
3. ทำาความสะอาดทั้งเลนส์ใกล้ตา และเลนส์ใกล้วัตถุ ใช้ cotton
bud หรือ กระดาษเช็ดเลนส์พันรอบปลายคีบ แล้วชุบด้วยนำ้ายา
เช็ดเลนส์เพียงเล็กน้อย แล้วจึงเริ่มเช็ดเลนส์จากจุดศูนย์กลางของ
เลนส์แล้วหมุนทำารัศมีกว้างขึ้น เรื่อยๆไปสู่ขอบเลนส์อย่างช้าๆ
4. ในการใช้นำ้ายาเช็ดเลนส์ต้องระวังด้วยว่านำ้ายานั้นสามารถ
ละลายสีของกล้องและละลายกาวของเลนส์ได้
5. ใน การผสมนำ้ายาเช็ดเลนส์อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิ
และความชื้น หากอีเทอร์มากเกินไปอาจทำาให้มีรอยการเช็ดอยู่บน
เลนส์ได้ แต่ถ้าแอลกอฮอล์มากเกินไปจะมีรอยเป็นคราบอยู่บน
เลนส์เช่นกัน

More Related Content

What's hot

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 

What's hot (20)

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
dnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
ssuser9219af
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
pongrawee
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
netzad
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
karuehanon
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
K'donuz Drumz
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) (20)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
1
 1  1
1
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Portrait1
Portrait1Portrait1
Portrait1
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)

  • 2. 1. นาย พลวัตร รื่นอายุ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope)
  • 3. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope) กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ ชนิดที่ใช้เลนส์หลายอันและ มีกำาลังขยายต่างๆ กันจะเห็นภาพวัตถุได้โดยมีการสะท้อนแสงจาก วัตถุเข้าสู่เลนส์ ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คือ เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) และเลนส์ใกล้ตา (ocular lens หรือ eyepiece) กำาลังขยาย ของภาพคือ ผลคูณของกำาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับกำาลัง ขยายของเลนส์ใกล้ตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียด ของภาพของกล้องจุลทรรศน์ขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติของเลนส์ และ แสงต้นกำาเนิดการหากำาลังขยาย กำาลังขยายของกล้อง = กำาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กำาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
  • 4. ที่มา : http://www.nongjik.ac.th/download//ครูวีระ ศักดิ์/web/ch_1.html 1. ฐาน ( BASE ) ทำาหน้าที่รับนำ้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่างสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มสำาหรับปิดเปิดไฟฟ้า
  • 5. 2. จานหมุน (EVOLVING NOSEPIECE) เป็นส่วนของกล้องที่ใช้ สำาหรับหมุน เพื่อเปลี่ยนกำาลังขยายของ เลนส์ใกล้วัตถุ 3. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 10 X จะติดอยู่เป็นชุด กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วย เลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อลำาแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะ ขยายภาพของวัตถุนั้น ได้ 10 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่ ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ 4. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 40 X จะติดอยู่เป็นชุด กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วย เลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อลำาแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะ ขยายภาพของวัตถุนั้น ได้ 40 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่ ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ 5. เลนส์ใกล้วัตถุ ( OBJECTIVE LENS ) 100 X จะติดอยู่เป็นชุด กับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ ซึ่งรับแสง ที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อลำาแสง ผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะขยายภาพของวัตถุนั้น ได้ 100 เท่า จากวัตถุจริง และทำาให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ 6. ที่หนีบสไลด์ (Stage clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวาง วัตถุ ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage แทน เพื่อควบคุม การเลื่อนสไลด์ให้สะดวกยิ่งขึ้น 7. คอนเดนเซอร์( CONDENSER ) จะอยู่ด้านใต้ของแท่นวาง วัตถุ เป็นเลนส์รวมแสง เพื่อรวมแสงผ่านไป ยังวัตถุที่อยู่บนสไลด์ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้โดยมีปุ่มปรับ ลำากล้อง (BODY TUBE ) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับ 8. หลอดไฟ เป็นแหล่งกำาเนิดแสง 9. เลนส์ใกล้ตา ( EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS ) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำากล้อง มีตัวเลขแสดงกำาลัง ขยาย อยู่ด้านบน เช่น 5X, 10X หรือ 15X เป็นต้น กล้องที่ใช้ใน
  • 6. ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทั่วไปนั้น มีกำาลังขยาย ของเลนส์ตา ที่ 10X รุ่นที่มีเลนส์ใกล้ตาเลนส์เดียว เรียก Monocular Microscope ชนิดที่มีเลนส์ ใกล้ตาสองเลนส์ เรียก Binocular Microscope แท่นวางวัตถุ (STAGE ) เป็นแท่นสำาหรับวางสไลด์ตัวอย่าง ที่ต้องการศึกษา มีลักษณะเป็น แท่นสี่เหลี่ยม หรือวงกลมตรงกลาง มีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุแท่นนี้ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ด้านในของ แท่นวางวัตถุ จะมีคริป สำาหรับ ยึดสไลด์ ์์และมีอุปกรณ์ช่วยในการเลื่อนสไลด์ เรียก ว่า Mechanical Stage นอกจากนี้ยังมีสเกลบอกตำาแหน่งของ สไลด์ บนแทนวางวัตถุ ทำาให้สามารถ บอกตำาแหน่งของภาพบนสไลด์ได้ 10. แขนกล้อง (arm) เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ยึดระหว่างลำากล้องและ ฐานกล้องเป็นตำาแหน่งที่ใช้จับกล้อง ในขณะเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ 11. แท่นวางสไลด์ (stage) เป็นแท่นที่ใช้วางสไลด์ (slide) ตัวอย่างที่ต้องการศึกษาที่ตรงกลางแท่นวางสไลด์ 12. ปุ่มปรับภาพหยาบ ( COARSE ADJUSMENT KNOB ) ใช้ เลื่อนตำาแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้ ปุ่มนี้มีขนาดใหญ่จะอยู่ ที่ด้านข้างของตัวกล้อง 13.ปุ่มปรับภาพละเอียด ( FINE ADJUSMENT KNOB ) เป็นปุ่ม ขนาดเล็กอยู่ถัดจากปุ่มปรับภาพหยาบ ออกมาทางด้านนอกที่ตำาแหน่งเดียวกัน หรือกล้องบางชนิดอาจจะ อยู่ใกล้ ๆ กัน เมื่อปรับด้วยปุ่มปรับภาพหยาบ จน มองเห็นภาพแล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดจะทำาให้ได้ภาพ คมชัดยิ่งขึ้น 14.ฐาน (base) เป็นส่วนล่างสุดของกล้องจุลทรรศน์ ทำาหน้าที่รับ นำ้าหนักตัวกล้องทั้งหมด
  • 7. 2. นางสาว จิราพร ลำ่าฮวด วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ
  • 8. 1.การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ การ เคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ทำาได้โดยใช้มือข้างหนึ่งจับ ที่แขนกล้อง มืออีกข้างหนึ่งรองใต้ฐานกล้อง รักษาระดับให้กล้อง อยู่ในสภาพตั้งตรงตลอดการเคลื่อนย้าย เพื่อป้องกันการลื่นหลุด ของเลนส์ใกล้ตา ไม่เคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์โดยการลากไปบน พื้นโต๊ะแรงกระเทือนอาจมีผลต่อระบบเลนส์ได้ วาง กล้องจุลทรรศน์ ให้ห่างจากขอบโต๊ะปฏิบัติการพอสมควรที่จะ ทำางานได้สะดวก 2 . ก่อนเริ่มใช้กล้องจุลทรรศน์ ให้ตรวจสอบกล้องจุลทรรศน์ดัง ต่อไปนี้ - สายไฟถูกพับเก็บหรือพันอยู่กับฐานของกล้อง
  • 9. 3. สวิตซ์เปิดปิดหลอดไฟที่ฐานกล้องอยู่ในตำาแหน่ง “ ปิด” 4. สวิตซ์ เพิ่มความเข้มของแสงอยู่ตำาแหน่งตำ่าสุด ในกรณีที่เป็น กล้องจุลทรรศน์แบบใช้กระจกเงา กระจกต้องปรับอยู่ในแนวตั้ง ฉากเพื่อลดการเกาะของฝุ่นในอากาศ 5.แท่น วางสไลด์ถูกเลื่อนอยู่ในตำาแหน่งตำ่าสุด ในกรณีที่แท่น วางสไลด์มีตัวเลื่อนสไลด์ต้องปรับตำาแหน่งให้ แกนของตัวเลื่อน สไลด์ยื่นออกมาจากแท่นวางสไลด์ให้น้อยที่สุด
  • 10. 6. เลนส์รวมแสงถูกเลื่อนอยู่ในตำำแหน่งตำ่ำสุด 7. เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำำลังขยำยตำ่ำสุดอยู่ในแนวเดียวกับเลนส์รวม แสง 8. หำกเป็นกล้องจุลทรรศน์ที่สำมำรถปรับระยะห่ำงระหว่ำงตำและ ปรับแก้สำยตำเอียง ได้ ต้องเลื่อนเลนส์ใกล้ตำ ให้เข้ำมำใกล้กัน มำกที่สุดและหมุนให้ตัวปรับแก้สำยตำเอียงอยู่ในตำำแหน่ง “ 0 ”
  • 11. 9. คลี่สำยไฟออก นำำไปเสียบกับแหล่งจ่ำยไฟ กดสวิตซ์ปิดเปิด หลอดไฟที่ฐำนกล้อง ไปยังตำำแหน่ง “ เปิด ” ใช้มือหมุนแป้นหมุน เลนส์ในกำรเปลี่ยนกำำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุให้วัตถุที่ มีกำำลัง ขยำยตำ่ำ สุดอยู่ในแนวแสง ที่ส่องขึ้นมำจำกฐำน เมื่อเลนส์ใกล้ วัตถุเลื่อนไปยังตำำแหน่งที่ถูกต้องจะมีเสียง “ คลิ๊ก ” 10. เลื่อนสวิตซ์เพิ่มควำมเข้มของแสงให้อยู่ในตำำแหน่งกึ่งกลำง กรณีที่เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกระจกเงำ ให้ปรับกระจกเงำหันออก มำรับแสงเพื่อให้แสงผ่ำนขึ้นไปยังรูที่อยู่บนแท่นวำง สไลด์เข้ำสู่ เลนส์ใกล้วัตถุ ตรวจสอบดูว่ำ แสงผ่ำนเข้ำกล้องหรือไม่ โดยมอง
  • 12. ผ่ำนเลนส์ใกล้ตำ กำรมองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำให้มองโดยกำรลืมตำ ทั้งสองข้ำง แม้ว่ำกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้เลนส์ใกล้ตำเพียงอันเดียว หำกเป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตำ 2 อัน ให้ปรับระยะห่ำง ระหว่ำงตำจนภำพที่เห็นซ้อนกันเป็นภำพเดียว 11. วำงแผ่นสไลด์ที่มีตัวอย่ำงของวัตถุบนแท่นวำงสไลด์โดยให้ กระจกปิดสไลด์อยู่ด้ำนบนยึดแผ่นสไลด์ เข้ำกับ ที่จับของ ตัวเลื่อน สไลด์ ( ถ้ำมี) ลองเลื่อนสไลด์ไปมำเพื่อศึกษำวิธีกำรบังคับสไลด์ ให้เลื่อนไปทำง ซ้ำย-ขวำและ เข้ำหำตัว-ออกจำกตัว เลื่อนสไลด์ ให้วัตถุไปอยู่ตรงกลำงของรูแท่นวำงสไลด์ที่แสงผ่ำนขึ้นมำจำก ด้ำนล่ำง 12. หมุนปุ่มปรับภำพหยำบ จนสไลด์ใกล้กับเลนส์ใกล้วัตถุมำก ที่สุดแต่ไม่ชนกับเลนส์ใกล้วัตถุ ขณะหมุนปุ่มปรับภำพหยำบ ต้อง
  • 13. คอยสังเกตระยะห่ำงระหว่ำงสไลด์กับเลนส์ใกล้วัตถุตลอดเวลำโดย ใช้ตำเล็งในระดับเดียวกับผิวหน้ำของแท่นวำงสไลด์ 13. เลื่อนเลนส์รวมแสงให้สูงที่สุด แต่ไม่ให้ชนกับสไลด์ที่วำงอยู่ บนแท่นวำงสไลด์ เปิดไอริสไดอะแฟรม ให้กว้ำงที่สุด สังเกตกำรณ์เปลี่ยนแปลงระหว่ำงกำรเปิด - ปิด ไอริสไดอะแฟรม โดยกำรมองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำ มองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำในขณะ ที่ หมุนปุ่มปรับภำพหยำบเพื่อเพิ่มระยะห่ำงระหว่ำงสไลด์และเลนส์ ใกล้วัตถุ หมุนปุ่มปรับภำพหยำบ จนภำพวัตถุเริ่มชัดเจนมำกที่สุด และอำจปรับควำมเข้มของแสงโดยใช้สวิตซ์เพิ่มควำมเข้มของแสง ตำมต้องกำร
  • 14. 14. หมุนปุ่มปรับภำพละเอียดจนภำพวัตถุชัด ทดลองเลื่อนสไลด์ ไปทำงซ้ำย- ขวำ แล้วสังเกตกำรณ์เคลื่อนที่ของภำพในกล้อง 15. หำกต้องเพิ่มกำำลังขยำยให้สูงขึ้น ใช้มือหมุนแป้นหมุนเลนส์ ให้มีกำำลังขยำยสูงขึ้น ในลำำดับถัดไป ให้อยู่ในแนวแสง (หำก เลนส์ใกล้วัตถุเข้ำสู่ตำำแหน่งที่ถูกต้องจะต้องมีเสียง "คลิ๊ก" ทุกครั้ง ปรับภำพให้ชัดเจนโดยให้ใช้ ปุ่มปรับภำพละเอียดจนภำพวัตถุ ชัดเจน ให้สังเกตกำรเปลี่ยนแปลงของภำพที่เห็นเพื่อทำำกำร เปลี่ยนกำำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุจำก 4' เป็น 10' และเป็น 40' 16. หำกต้องกำรใช้เลนส์ใกล้วัตถุกำำลังขยำย 100' ต้องใช้ นำ้ำมัน (Immersion Oil) เป็นตัวกลำง ระหว่ำงกระจก ปิดสไลด์และเลนส์ใกล้วัตถุ ต้องหยดนำ้ำมันบน สไลด์ก่อนจึงจะหมุนให้เลนส์ใกล้วัตถุดังกล่ำวอยู่ในแนวแสง
  • 15. 3. นำย สถำพร พึ่งพัฒนำ กำรใช้เลนส์วัตถุที่ใช้กับนำ้ำมันและกำรหยดนำ้ำมันบน สไลด์
  • 16. กำรใช้เลนส์วัตถุที่ใช้กับนำ้ำมันและกำรหยดนำ้ำมันบนสไลด์ ช่วยทำำให้แสงไม่หักเหออกจำกเลนส์วัตถุ ทำำให้แสงเดินทำงเข้ำสู่ เลนส์ได้ที่มำ : http://www.udel.edu/biology/ketcham/microscope /scope.html กำรดูแลรักษำ เนื่องจำกกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีรำคำค่อนข้ำงสูงและ มีส่วนประกอบที่อำจเสียหำยง่ำย โดยเฉพำะเลนส์ จึงต้องใช้และเก็บรักษำด้วยควำมระมัดระวังให้ ถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้ • ในกำรยกกล้องและเคลื่อนย้ำยกล้อง ต้องใช้มือหนึ่งจับที่ แขนและอีกมือหนึ่งรองที่ฐำนของ กล้อง • สไลด์และกระจกปิดสไลด์ที่ใช้ต้องไม่เปียก เพรำะอำจจะ ทำำให้แท่นวำงวัตถุเกิดสนิม และเลนส์ใกล้วัตถุอำจขึ้นรำได้ • เมื่อต้องกำรหมุนปุ่มปรับภำพหยำบต้องมองด้ำนข้ำงตำมแนว ระดับ แท่นวำงวัตถุ เพื่อป้องกันกำรกระทบของเลนส์ใกล้ วัตถุกับกระจกสไลด์ ซึ่งอำจทำำให้เลนส์แตกได้ • กำรหำภำพต้องเริ่มด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำำลังขยำยตำ่ำสุด ก่อนเสมอ • เมื่อต้องกำรปรับภำพให้ชัดขึ้นให้หมุนเฉพำะปุ่มปรับภำพ ละเอียด เท่ำนั้น เพรำะถ้ำหมุนปุ่มปรับภำพหยำบจะทำำให้ ระยะภำพหรือจุดโฟกัสของภำพเปลี่ยนไปจำก เดิม • ห้ำมใช้มือแตะเลนส์ ควรใช้กระดำษเช็ดเลนส์ในกำร ทำำควำมสะอำดเลนส์ • เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอำวัตถุที่ศึกษำออก เช็ดแท่นวำงวัตถุ และเช็ดเลนส์ให้สะอำด หมุนเลนส์ใกล้วัตถุกำำลังขยำยตำ่ำสุด
  • 17. ให้อยู่ตรงกลำงลำำกล้อง และเลื่อนลำำกล้องลงตำ่ำสุด ปรับ กระจกให้อยู่ในแนวตั้งฉำกกับแท่นวำงวัตถุเพื่อป้องกันไม่ ให้ฝุ่นเกำะ แล้วเก็บใส่กล่องหรือตู้ให้เรียบร้อย 4. นำงสำว ขนิษฐำ แสงกระจ่ำง กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบสเตอริโอ กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบสเตอริโอ
  • 18. เป็นกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ที่ทำำให้เกิดภำพแบบ 3 มิติ ใช้ศึกษำ วัตถุที่มีขนำดใหญ่แต่ตำเปล่ำไม่สำมำรถแยกรำยละเอียดได้จึง ต้องใช้ กล้องชนิดนี้ช่วยขยำย กล้องชนิดนี้มีข้อแตกต่ำงจำก กล้องทั่วๆไป คือ 1. ภำพที่เห็นเป็นภำพเสมือนมีควำมชัดลึกและเป็นภำพสำมมิติ 2. เลนส์ใกล้วัตถุมีกำำลังขยำยตำ่ำ คือ น้อยกว่ำ 1 เท่ำ 3. ใช้ศึกษำได้ทั้งวัตถุโปร่งแสงและวัตถุทึบแสง 4. ระยะห่ำงจำกเลนส์ใกล้วัตถุกับวัตถุที่ศึกษำอยู่ในช่วง 63-225 มิลลิเมตร วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ 1. ตั้งระยะห่ำงของเลนส์ใกล้ตำให้พอเหมำะกับนัยน์ตำของผู้ใช้ กล้องทั้งสองข้ำง จะทำำให้จอภำพที่เห็นอยู่ในวงเดียวกัน 2. ปรับ โฟกัสเลนส์ใกล้ตำทีละข้ำงจนชัดเจน ถ้ำหำกต้องกำร ศึกษำจุดใดจุดหนึ่งของตัวอย่ำงให้ปรับโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ ที่ มีกำำลังขยำยสูงก่อน เพรำะจะทำำให้เห็นภำพวัตถุได้ชัดเจนทั้ง กำำลังขยำยสูงและกำำลังขยำยตำ่ำ
  • 19. 5. นางสาว วรรณิดา ศรีประทุม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอน
  • 20. กล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอน (อังกฤษ: Electron microscope) ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2475 ในประเทศเยอรมนี โดย นักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ แมกซ์ นอลล์ และ เอิร์นท์ รุสกา เป็น กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ลำาอิเล็กตรอนแทนแสงธรรมดา กล้องแบบนี้มี หลักการทำางานคล้ายกับกล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสง แต่แตกต่าง กันที่ส่วนประกอบภายใน กล่าวคือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะ ใช้ลำาอิเล็กตรอนซึ่งมีขนาดเล็กมากวิ่งผ่านวัตถุ และโฟกัสภาพลง บนจอเรืองแสง เลนส์ต่าง ๆ ในกล้องจะใช้ขดลวดพันรอบ ๆ แท่ง เหล็กอ่อน เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ง สนามแม่เหล็กจะผลักกับประจุของอิเล็กตรอน ทำาให้อิเล็กตรอน เบี่ยงเบนไปสู่เป้าหมายได้ ระบบเลนส์ของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ใช้ เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แก้วในกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้านั้นประกอบด้วยขดลวดพันรอบแท่งเหล็ก เมื่อ ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปจะทำาให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่งทำาให้ ลำาแสงอิเล็กตรอนเข้มข้นขึ้นเพื่อไปตกอยู่ที่วัตถุที่ต้องการศึกษา เลนส์ของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนนั้นประกอบด้วย เลนส์รวม แสง และโปรเจกเตอร์ เลนส์ โดย โปรเจกเตอร์เลนส์นั้นมีหน้าที่ ฉายภาพ จากตัวอย่างที่ต้องการศึกษาลงบนจอภาพ ซึ่งจอภาพจะ ฉาบด้วยสารเรืองแสง เมื่อลำาแสงอิเล็กตรอนตกบนจอภาพจะ ทำาให้เกิดการเรืองแสงที่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า ดังนั้นผู้ ศึกษาจึงสามารถมองเห็นภาพบนจอและสามารถบันทึกภาพนั้น ด้วยกล่อง ถ่ายรูปซึ่งประกอบอยู่ในกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนได้
  • 21. แหล่งกำาเนิดลำาแสงอิเล็กตรอน แหล่งกำาเนิดลำาแสงอิเล็กตรอน คือ ปืนยิงอิเล็กตรอน ซึ่งมีลักษณะ เป็นขดลวดตัววีทำาจากทังสเตน อิเล็กตรอนจะถูกปล่อยออกมาหลัง จากผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด เนื่องจากอิเล็กตรอนมี ขนาดเล็กมาก จึงต้องมีการดูดอากาศออกจากตัวกล้องให้เป็น สุญญากาศ เพื่อป้องกันการรบกวนของลำาแสงอิเล็กตรอน และเพื่อ ป้องกันการเกิดการหักเห เนื่องมาจากการชนกันของมวลอากาศ กับลำาแสงอิเล็กตรอน ชนิดของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมี 2 ชนิด 1. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron microscope) หรือเรียกแบบย่อว่า TEM ซึ่ง คิดค้นโดย เอิร์นส์ท รุสกา ในปี พ.ศ. 2475 ใช้ศึกษา โครงสร้างภายในของเซลล์ โดยลำาแสงอิเล็กตรอนจะส่อง ผ่านเซลล์หรือตัวอย่างที่ต้องการศึกษาซึ่งผู้ศึกษาต้องเตรียม ตัวอย่างให้ได้ขนาดบางเป็นพิเศษ 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron microscope) หรือเรียกแบบย่อว่า SEM ซึ่ง คิดค้นโดยเอ็ม วอน เอนเดนนี่ สร้างสำาเร็จในปี พ.ศ. 2481 ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิววัตถุ โดยลำาแสง อิเล็กตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของวัตถุ ทำาให้ได้ภาพที่มี ลักษณะเป็น 3 มิติ
  • 26. 6. นางสาว สุภาพร นิมิตรัตน์ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron microscope)
  • 28. หรือเรียกแบบย่อว่า TEM ซึ่งคิดค้นโดย เอิร์นส์ท รุสกา ใน ปีพ.ศ. 2475 ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์ โดยลำาแสง อิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์หรือตัวอย่างที่ต้องการศึกษาซึ่งผู้ ศึกษา ต้องเตรียมตัวอย่างให้ได้ขนาดบางเป็นพิเศษ กล้องจุลทรรศน์ชนิดนี้มีราคาแพงมาก และการใช้งานจะซับซ้อน มากกว่ากล้อง จุลทรรศน์ที่กล่าวมาข้างต้น โดยใช้อิเล็กตรอนเป็น แหล่งกำาเนิดแสงและให้ผ่าน ตัวอย่างที่มีขนาดบางมากๆ ใช้แผ่น แม่เหล็กแทนเลนส์แก้ว สามารถขยายภาพได้ 200,000 ? ถึง 500,000 ? เป็นภาพ 2 มิติ (two dimensional image) สามารถดูรายละเอียดภายในได้เช่นเดียวกับกล้องจุลทรรศน์ใช้ แสงแบบเชิงประกอบ ที่มา:http://www.phy.cuhk.edu.hk/centrallaboratory/ TecnaiF20/TecnaiF20.html
  • 29. 7. นาย รฐนนท์ สังข์ทอง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron microscope)
  • 30. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron microscope) หรือ เรียกแบบย่อว่า SEM ซึ่งคิดค้นโดยเอ็ม วอน เอนเดนนี่ สร้าง สำาเร็จในปีพ.ศ. 2481 ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิว วัตถุ โดยลำาแสงอิเล็กตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของวัตถุ กล้องจุลทรรศน์ชนิดนี้ลำาแสงอิเล็กตรอนจะตกกระทบเฉพาะผิว ด้านนอกของวัตถุ ภาพที่เห็นจะเห็นได้เฉพาะผิวนอก ทำาให้ ไดเภาพที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ กล้องชนิดนี้แม้วาจะมีความ สามารถในการเห็นภาพตำ่ากว่า กล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบ ส่องผ่านและสามารถเห็นเฉพาะผิวนอกของวัตถุก็ตามแต่ภาพที่ เห็น จะได้รายละเอียดมากกว่าและชัดเจน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งสำาหรับนักชีววิทยาที่จะศึกษาโครงสร้างของสิ่งมี ชีวิตได้ดียิ่ง ขึ้น
  • 32. 8. นาย กิตติธัช คงประการ การบำารุงรักษากล้องและการทำาความสะอาดเลนส์
  • 33. การบำารุงรักษากล้อง 1. ควร ดูแลรักษากล้องให้สะอาดอยู่เสมอ และเมื่อไม่ได้ใช้กล้อง ควรใช้ถุงคลุมกล้องไว้เสมอ เพื่อป้องกันฝุ่นละอองและสิ่งสกปรก เข้าไปสัมผัสกับเลนส์ของกล้อง 2. ใน การทำาความสะอาดหรือการประกอบกล้อง ควรทำาด้วย ความระมัดระวัง อย่าให้ชิ้นส่วนถูกกระแทกหรือหลุดตกหล่น กรณี ที่กล้องหรือส่วนประกอบใดๆของกล้องตกหรือกระแทก จะมีผลให้ เมื่อประกอบกล้องแล้วภาพที่เห็นไม่คมชัด เป็นเพราะระบบภายใน (ปริซึม) อาจเกิดการคลาดเคลื่อนได้ ซึ่งกรณีนี้ ควรส่งให้กับ บริษัทซ่อม เพราะการตั้งศูนย์ของปริซึมและระบบเลนส์ภายในนั้น ต้องใช้เครื่องมือที่ซับ ซ้อนและความชำานาญของช่าง 3. ห้ามใช้มือหรือส่วนใดๆของร่างกาย สัมผัสถูกส่วนที่เป็นเลนส์ และหลีกเลี่ยงการนำาเลนส์ออกจากตัวกล้อง 4. ใน กรณีที่ถอดเลนส์ออกจากตัวกล้อง ควรใช้ฝาครอบด้วยทุก ครั้งเพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นละอองเข้าไปข้างใน ซึ่งอาจทำาให้เกิด ความไม่ชัดของการมองภาพ 5 สำาหรับเลนส์ใกล้วัตถุ 100x ที่ใช้กับ Oil immersion หลัง จากใช้แล้ว ควรทำาความสะอาดทุกครั้ง โดยการเช็ดด้วยกระดาษ เช็ดเลนส์ cotton bud หรือผ้าขาวบางที่สะอาด และนุ่ม ชุบด้วย นำ้ายาไซลีน หรือส่วนผสมของแอลกอฮอล์และอีเทอร์ ใน อัตราส่วน 40:60 ตามลำาดับ 6 ควร หมุนปรับปุ่มปรับความฝืดเบาให้พอดี ไม่หลวมเกินไป ซึ่ง จะทำาให้แท่นวางสไลด์เลื่อนหมุดลงมาได้ง่าย หรือฝืดจนเกินไป ทำาให้การทำางานช้าลง 7 ปุ่มปรับ ภาพหยาบนั้น ควรหมุนในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา อย่างช้าๆ จนกว่าจะได้ภาพ ห้ามปรับปุ่มปรับภาพทั้งซ้ายและขวา ของตัวกล้องในลักษณะสวนทางกัน เพราะนอกจากจะไม่ได้ภาพ ตามต้องการแล้ว ยังจะทำาให้เกิดการขัดข้องของฟันเฟือง 8 ใน กรณีต้องการใช้แสงมากๆควรใช้การปรับไดอะแฟรม แทน การปรับเร่งไฟไปตำาแหน่งที่กำาลังแสงสว่างสุด (กรณีหลอดไฟ) จะ ทำาให้หลอดไฟมีอายุยาวขึ้น 9 ก่อนปิดสวิตช์ไฟทุกครั้งควรหรี่ไฟก่อนเพื่อยืดอายุการใช้งาน และเมื่อเลิกใช้ก็ควรปิดสวิตช์ทุกครั้ง 10 การเสียบปลั๊กไฟของตัวกล้องไม่ควรใช้รวมกันกับเครื่องใช้ ไฟฟ้าอื่น เพราะจะทำาให้หลอดไฟขาดง่าย
  • 34. 11 หลัง จากเช็ดส่วนใดๆของกล้องก็ตาม ถ้าไม่แน่ใจว่าแห้งหรือ ปราศจากความชื้นแล้ว ควรเป่าลมให้แห้ง โดยใช้พัดลม หรือ ลูก ยางเป่าลม (ห้ามเป่าด้วยปากเพราะจะมีความชื้น) 12 เมื่อแน่ใจว่าแห้งและสะอาดแล้ว จึงคลุมด้วยถุงพลาสติก 13 เก็บกล้องไว้ในที่ที่ค่อนข้างแห้งและไม่มีความชื้น การทำาความสะอาดเลนส์ 1. เป่า หรือปัดเศษผงหรือวัสดุอื่นๆที่อาจจะก่อให้เกิดรอยขูดขีด บนพื้นผิวเลนส์ โดยใช้ลูกยางบีบ หรือปัดด้วยแปรงขนอ่อนๆ แต่ ถ้ายังไม่สามารถเอาออกได้ให้ใช้ผ้าขาวบางที่สะอาดและนุ่มชุบ ด้วยนำ้าเช็ด เบาๆ 2. เตรียมนำ้ายาเช็ดเลนส์ (อีเทอร์:แอลกอฮอล์ = 60:40) 3. ทำาความสะอาดทั้งเลนส์ใกล้ตา และเลนส์ใกล้วัตถุ ใช้ cotton bud หรือ กระดาษเช็ดเลนส์พันรอบปลายคีบ แล้วชุบด้วยนำ้ายา เช็ดเลนส์เพียงเล็กน้อย แล้วจึงเริ่มเช็ดเลนส์จากจุดศูนย์กลางของ เลนส์แล้วหมุนทำารัศมีกว้างขึ้น เรื่อยๆไปสู่ขอบเลนส์อย่างช้าๆ 4. ในการใช้นำ้ายาเช็ดเลนส์ต้องระวังด้วยว่านำ้ายานั้นสามารถ ละลายสีของกล้องและละลายกาวของเลนส์ได้ 5. ใน การผสมนำ้ายาเช็ดเลนส์อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิ และความชื้น หากอีเทอร์มากเกินไปอาจทำาให้มีรอยการเช็ดอยู่บน เลนส์ได้ แต่ถ้าแอลกอฮอล์มากเกินไปจะมีรอยเป็นคราบอยู่บน เลนส์เช่นกัน