SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ*
                                                                  ดร. ประพนธ จุนทวิเทศ สสอ.
บทนํา
          พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 ในมาตรา 22 กลาวถึงการจัดการศึกษาวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูพัฒนา
ตนเองไดตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ และถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด และมาตรา 23 กลาวไววา การ
จัดการศึกษาตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความ
เหมาะสมของการศึกษาแตละระดับ จากขอความในมาตราทั้ง 2 มาตรานี้จะเห็นไดวา การจัดการ
ศึกษาไดมุงเนนการพัฒนาตัวผูเรียนมีความสมดุลโดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด (Child-Centered)
สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การจัดกระบวนการเรียนรูมุงเนน
การฝกทักษะการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชปองกันและ
แกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ซึ่งหมายถึงการหลอมรวมทุกสิ่งทุก
                                           
อยางดังกลาวเขาเปนสิ่งเดียวกัน เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูอยางเปนธรรมชาติและมีความหมายตอชีวต
                                                                                               ิ
ของผูเรียน

          การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเปนการเรียนรูในลักษณะองครวม       จัดการเรียนรูดวย
                                                                                          
รูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูรวมกัน การ
เรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และมีการวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยประเมินจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) และประเมินตาม
สภาพจริง (Authentic Assessment)

ความสําคัญของการบูรณาการ
        ลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่ผานมา เปนวิธีการเรียนที่มุงเนนการถายทอดเนื้อหาวิชา
มากกวาการเรียนรูจากสภาพที่เปนจริง และไมเนนกระบวนการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดพัฒนาการคิด
วิเคราะห การแสดงความคิดเห็น การแสวงหาความรูดวยตนเอง อีกทั้งยังขาดการเชื่อมโยงให
                                                  
เหมาะสมกับบริบทและสภาพแวดลอมในสังคม

*สรุปสาระสําคัญและเพิ่มเติมจากหนังสือ ผศ. ดร. สิริพัชร เจษฎาวิโรจน. 2546. การจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพ ฯ. บุค พอยท.
2

           ผลการใชหลักสูตรยังมีขอจํากัดหลายประการ การสอนแยกออกเปนวิชา ทําใหการเรียนรู
แยกกันเปนสวน ๆ ไมสัมพันธหรือไมสอดคลองกับชีวิตจริงของผูเรียน ผูเรียนมีสวนรวมใน
กิจกรรมนอย สวนใหญมักจะเรียนในหอง ไมมีโอกาสไดสัมผัสกับความเปนจริงนอกหองเรียน ทํา
ใหผูเรียนไมเห็นความหมายของสิ่งที่เรียน

        ในชีวิตของคนเราจะพบสิ่งตาง ๆ มากมายหลายชนิด หลายประเภทในเวลาเดียวกัน
ประสบการณตาง ๆ หรือปญหาทั้งหลายจะเกียวของกันหรือเกิดขึนตามธรรมชาติ ทุกคนจะใช
                                            ่                 ้
ทักษะหลาย ๆ อยาง ในการเรียนรูประสบการณและการแกปญหาในชีวิตประจําวัน การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนวิธีที่ดที่สุดวิธีหนึ่ง ที่จะชวยขจัดปญหาตางดังกลาวใหหมด
                                     ี
หรือลดนอยลงไป

          ผูเรียนจะสามารถเชื่อมโยงการเรียนรูทุกสาขาวิชา ความคิดตาง ๆ ทักษะ เจตคติ หรือความ
เชื่อไดดี เมือไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนําเสนอแกผูเรียนในลักษณะบูรณาการ จะทําให
                 ่
ผูเรียนมองเห็นรูปแบบและความสัมพันธ นักเรียนสามารถเชื่อมโยงผสมผสานสาระความรูตาง ๆ
ชวยใหนกเรียนไดรับความรูความเขาใจในลักษณะองครวมมีความหมายลึกซึ้ง
          ั                                                                         บรรยากาศการ
เรียนรูจะผานคลาย ไมรูสึกกดดัน และเอือตอการเรียนรูไดดี ชวยใหผุเรียนเกิดการเรียนรูที่สมบูรณ
                                         ้
ทั้งในดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย สามารถนําความรูตาง ๆ และประสบการณไป
ประยุกตใชในชีวิตจริง การสอนแบบบูรณาการจะชวยสงเสริมและพัฒนา ความสามรถทาง
สติปญญาที่หลากหลาย (Multiple Intelligences) และตอบสนองตอรูปแบบการเรียนรู (Learning
Styles) ที่แตกตางกันของนักเรียนแตละคนไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังชวยพัฒนาในดานสุนทรียะ
และความดีงาม ซึ่งจะมีอิทธิพลตอความรูสึกและความคิดที่ดี อีกทั้งผูเรียนจะเขาใจถึงความสัมพันธ
ระหวางวิชา และสามารถนําความรูจากการเรียนรูในสวนหนึ่งไปชวยทําใหการเรียนรูในสวนอื่น ๆ
ดีขึ้นดวย

         ความสําคัญของการบูรณาการอีกประการหนึ่ง คือ การที่ผูเรียนจะเขาใจสิ่งตาง ๆ อยางแจม
แจง เกิดความหมายและนําไปใชไดก็ตอเมื่อความรูและความคิดยอย ๆ ประสานสัมพันธและ
เชื่อมโยงกัน จนสามารถมองเห็นความสัมพันธของสิ่งนั้นกับสิ่งอื่นรอบตัว ซึ่งมีผลใหเกิดการนํา
ความรูและประสบการณที่ได มาจัดระบบระเบียบใหมใหเหมาะสมกับตนเปนองครวมของความรู
ของตนเอง และในการสอนตองใหผูเรียนเกิดกระบวนการเชื่อมโยงความคิดขึ้นในเนือหา ดวยการ
                                                                                 ้
ใชวิธีการหลากหลายซึ่งจะเปนการบูรณาการทั้งดานเนือหาสาระและวิธีการ
                                                  ้
3


          ศาสตรทุกศาสตรไมอาจแยกกันไดโดยเด็ดขาด เชนเดียวกับวิถีชีวตของคนที่ตองดํารงอยู
                                                                       ิ
อยางกลมกลืนเปนองครวม การจัดใหผูเรียนไดเรียนรูเนือหาตาง ๆ และฝกทักษะหลาย ๆ ทักษะ
                                                       ้
อยางเชื่อมโยงกัน จะทําใหการเรียนรูสอดคลองกับชีวิตจริงและมีความหมายตอผูเรียนมากยิ่งขึ้น

ความหมายของการบูรณาการ
          กรมอาชีวศึกษา (2541) ไดใหความหมายของการสอนแบบบูรณาการไววา การสอนแบบ
                                                                              
บูรณาการ หมายถึง วิธีการสอนโดยนําสิ่งหรือเรื่องที่เกี่ยวของมาผสมผสานกัน เพื่อใหกระบวนการ
ถายทอดความรูมีความชัดเจน และสอดคลองกับสภาพชีวิตจริง โดยทั่วไปจะเนนที่การบูรณาการ
เทคนิควิธีการสอนโดยใชหลาย ๆ วิธีผสมผสานกัน และการบูรณาการเนื้อหาสาระวิชาการที่
เกี่ยวของเขาดวยกัน

        นอกจากนี้ยังมีผูใหความหมายไวอกมากมาย สามารถสรุปไดวา การสอนแบบบูรณาการ
                                        ี
หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใชวิธการสอนหลายวิธี จัดกิจกรรมตาง ๆ ในการสอน
                                             ี
เนื้อหาสาระที่เชื่อมโยงกัน ตลอดจนมีการฝกทักษะตาง ๆ ที่หลากหลาย

จุดมุงหมายของการบูรณาการ
         จุดมุงหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ มัดังนี้

          1. เพื่อใหนักเรียนเกิดความตระหนักวา การเรียนรูทุกสิ่งมีความสัมพันธซึ่งกันและกันใน
ชีวิตคนเรา          ทุกสิ่งทุกอยางจะเกียวของกันอยูเสมอ
                                        ่                    การเรียนการสอนแบบบูรณาการจะมี
ความสัมพันธกับชีวิตของนักเรียน และนักเรียนจะเกิดแรงจูงใจในการเรียนมากกวาแบบเดิม
          2. เพื่อใหนกเรียนเปนผูที่สามารถแกปญหาไดดวยตนเอง ซึ่งในการแกปญหา นักเรียน
                        ั                                 
จะตองอาศัยความรูจากหลายสาขาวิชาในเวลาเดียวกัน
          3. เพื่อใหนกเรียนไดมีสวนรวมในการเรียนรูโดยตรงอยางมีจุดหมาย และมีความหมาย
                          ั
นักเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ การแสดงความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอน และชวย
สรางความเขาใจใหนักเรียนอยางลึกซึ้ง
          4. เพื่อตอนสนองความสนใจของนักเรียนแตละคน โดยการเรียนรูตามเอกัตภาพ ออกแบบ
กิจกรรมใหนกเรียนไดเรียนรูตามที่ตองการจะรู บรรยากาศในชันเรียนจะไมเครียดสามารถกระตุน
               ั                                               ้
ใหนกเรียนเรียนอยางสนุกสนานและบรรลุผลในการเรียนมากขึ้น
      ั
          5. มีการถายโอนและคนหาความสัมพันธระหวางเนื้อหาสาระ ความคิด ทักษะ และเจตคติ
ชวยใหผูเรียนเขาใจความคิดรวบยอดที่เรียนไดอยางลึกซึ้ง เปนระบบ และถายโอนความเขาใจจาก
เรื่องหนึ่งไปสูอีกเรื่องหนึ่งไดดี
                 
4

        6. สงเสริมการเรียนรูที่จะทํางานรวมกัน ใหนักเรียนรูสึกมั่นคง มีความพึงพอใจมีความรูสึก
เปนสวนหนึ่งของหมูคณะและยอมรับผูอื่น เต็มใจทํางานรวมกับกลุมและเปนสมาชิกที่ดีของกลุม
        7. ชวยพัฒนาคานิยม คุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานการทํางาน วินยในตนเอง สงเสริม
                                                                               ั
ความสามารในการทํางาน และการควบคุมอารมณของผูเรียน
        8. ชวยสงเสริมความคิดสรางสรรค และพัฒนาการแสดงออกทางดานศิลปะ ดนตรีไป
พรอม ๆ กับทางดานความรู เนื้อหาสาระ อีกทั้งใหผูเรียนมีโอกาสไดรวมกิจกรรมในสังคม

          การจัดการเรียนสอนแบบบูรณาการ เปนสิ่งที่ทําใหเห็นกระบวนการเรียนรูตามธรรมชาติ
ของนักเรียน ความรู ปญหาและประสบการณตาง ๆ เปนสิ่งที่นักเรียนเรียนรูไดในชีวิตประจําวัน
อยางสัมพันธกัน การบูรณาการจึงเปนสิ่งที่ชวยตอบสนองธรรมชาติการเรียนรูของนักเรียนเปน
                                                                            
อยางยิ่ง

ลักษณะของการบูรณาการ
       การบูรณาการมีหลายลักษณะ หลายแนวความคิด แตละลักษณะเอื้อตอการจัดการเรียนการ
สอนแบบบูรณาการไดเปนอยางดี ในบางครั้งครูอาจบูรณาการหลายลักษณะเขาดวยกัน สุดแลวแต
ความคิดของครูแตละคนและความเหมาะสมเปนเรื่อง ๆ ไป สําหรับการบูรณาการที่เกี่ยวของกับ
การจัดการเรียนการสอนทางดานวิชาชีพ มีดังนี้

        1. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ
        เปนการบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เปนการผสมผสานเชื่อมโยงเนื้อหาสาระหรือองคความรู
ในลักษณะของการหลอมรวมกัน เนื้อหาสาระที่นํามารวมกันจะมีลกษณะคลายกัน สัมพันธกัน
                                                                  ั
หรือตอเนื่องกัน แลวเชื่อมโยงเปนเรื่องเดียวกัน ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงการบูรณาการเนื้อหาสาระ
รายวิชาสามัญเขากับเนื้อหาสาระทางดานวิชาชีพที่เกียวของหรือที่ศึกษา
                                                  ่

         2. การบูรณาการเชิงวิธีการ
         การบูรณาการเชิงวิธีการเปนการผสมผสานวิธีการสอนแบบตาง ๆ เขาในการสอน โดยการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใชวิธีสอนหลาย ๆ วิธี ใชสื่อการเรียนการสอนแบบสื่อประสมใช
เทคนิคการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพือใหนกเรียนมีโอกาสไดเรียนรูและฝกปฏิบัติอยางสัมพันธ
                                       ่    ั
กันใหมากที่สด เชน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องภูมิปญญาไทย ครูสามารถบูรณาการเชิง
              ุ
วิธีการดวยการใชเทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ ไดหลายวิธี ไดแก การสนทนา การอภิปราย การใช
คําถาม การบรรยาย การคนควาและการทํางานกลุม การไปศึกษานอกหองเรียน และการนําเสนอ
ขอมูล เปนตน
5


           3. การบูรณาการความรูกับกระบวนการเรียนรู
           การเรียนรูในอดีต ครูมักเปนผูบอกหรือใหความรูแกนกเรียนโดยตรง นักเรียนเปนฝายรับ
                                                               ั
สิ่งที่ครูหยิบยืนให แลวแตความสามารถของนักเรียนวาใครจะตักตวงไดเทาไรและจะเหลือเก็บไว
                ่
ไดเทาไร            แตในปจจุบันมีแนวความคิดเปลี่ยนไป      จากการเนนที่องคความรูมาเปนเนนที่
กระบวนการเรียนรู             เพือใหนกเรียนพัฒนาวิธีการแสวงหาความรูและการไดมาซึ่งองคความรูที่
                                 ่    ั                              
ตองการ และกระบวนการเรียนรูจะเปนสิงที่ตกตะกอนติดตัวนักเรียนไวใชไดตลอดไป เพราะสังคม
                                            ่
สมัยใหม มีสงที่นักเรียนตองเรียนรูมากมาย มีปญหาที่สลับซับซอนมากขึ้น ครูไมสามารถตามไป
                  ิ่
สอนไดทุกที่ หรือนักเรียนไมสามารถมาถามครูไดทุกเรื่องนักเรียนจึงจําเปนที่ตองแสวงหาความรู
ดวยตนเอง โดยมีกระบวนการการเรียนรูทมีขั้นตอนอยูในใจ แตสามารถยืดหยุนได เชน ตองการให
                                              ี่                           
นักเรียนเรียนรูเรื่องพอขุนรามคําแหงมหาราช ครูอาจแนะนําใหนักเรียนใชกระบวนการแสวงหา
ความรู กระบวนการแกปญหา กระบวนการสรางความคิดรวบยอด ในการใหไดมาซึ่งความรูใน
                               
เรื่องที่ตองการ เปนตน

         4. การบูรณาการความรู ความคิด กับคุณธรรม
         ในสภาพการจัดการเรียนการสอนตามความเปนจริงสวนใหญ จุดประสงคมักเนนไปที่ดาน
พุทธิพิสัยมากกวาดานจิตพิสัย บุคคลใดทีจะไดรับคําชมวาเกงตองเดนในดานความรูซึ่งเปนคานํายม
                                       ่                                       
มาแตเดิม โดยหลักการแลวควรใหความสําคัญแกความรูและคุณธรรมเทาเทียมกัน ดังนันจึงเปน ้
โอกาสดีที่ครูจะจัดการเรียนการสอนใหแกนักเรียนโดยบูรณาการความรู ความคิด และคุณธรรมเขา
ดวยกัน อาจเปนการสอนเนื้อหาสาระโดยใชวิธีการตาง ๆ และใชเทคนิคการสอดแทรกคุณธรรมเขา
ไปโดยที่นกเรียนไมรูตว จนกระทั่งเกิดความซึมซาบเปนธรรมชาติ เชน การสอนเรืองสิทธิ หนาที่
           ั          ั                                                          ่
และเสรีภาพ ทั้งของตนเองและผูอื่นเทานัน เพราะจะทําใหนกเรียนคิดแตสิ่งที่ตนพึงจะไดรับ หรือ
                                         ้                 ั
พึงมีตามกฎหมาย แตนักเรียนจะขาดคุณลักษณะในดานคุณธรรมดังนั้น ครูจึงควรสอนสอดแทรก
คุณธรรมดานตาง ๆ เชน ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเอื้ออาทร การชวยเหลือกัน ความ
เมตตากรุณา หรือการตรงตอเวลา ตามความเหมาะสมเพื่อนักเรียนจะไดเปน “ผูมีความรูคูคุณธรรม”

         5. การบูรณาการความรูกับการปฏิบัติ
         ความสัมพันธระหวางความรูกับการปฏิบัติ เปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญมากเชนกัน
เพราะเมื่อเวลาผานไป อาจลืมความรูที่ไดจากการเรียนรูนนได แตถาความรูนั้นเชื่อมโยงไปกับการ
                                                       ั้
ปฏิบัติจะทําใหความรูนั้นติดตัวไปไดยาวนานไมลืมงาย เชน การเรียนรูเรื่องพวงมาลัยและวิธีการ
รอยพวงมาลัยแบบตาง ๆ โอกาสในการใชพวงมาลัย วัสดุอุปกรณในการรอยพวงมาลัย ซึ่งหากเปน
การสอนแคความรูขณะเรียน นักเรียนจะมีความรูความเขาใจได แตจะไมคงทน เพราะอาจลืมใน
เวลาตอมา แตถาครูสอนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติการรอยพวงมาลัยแตละแบบประกอบไปดวย จะ
6

ทําใหนกเรียนมีความเขาใจลึกซึ้งมากขึ้นไมลืมงาย และขณะฝกปฏิบัตนักเรียนอาจพบปญหาตาง ๆ
        ั                                                        ิ
นักเรียนก็จะสามารถคิดและใชประสบการณในการแกปญหาไดดวย
                                                           

        6. การบูรณาการความรูในโรงเรียนกับชีวตจริงของนักเรียน
                                                 ิ
        ในการจัดการเรียนการสอน ‘ความรู’ เปนสิ่งที่ผูสอนทุกคนปรารถนาใหเกิดขึ้นภายในตัว
นักเรียน แตความรูนั้น ไมควรเปนสิ่งที่ทาใหนกเรียนเกิดความแปลกแยกกับชีวตจริง เพราะจะทํา
                                            ํ  ั                             ิ
ใหนกเรียนไมเห็นคุณคา ไมมีความหมาย และไมเกิดประโยชนใด ๆ แกตวนักเรียน ดังนั้น สิ่งที่ครู
     ั                                                                 ั
สอนหรือใหนกเรียนเรียนรูในโรงเรียนหรือสถานศึกษา
             ั                                               ควรเชื่อมโยงใหสัมพันธกับชีวิตของ
นักเรียน และเปนสิ่งที่ชวยเหลือนักเรียนในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิต และคุณลักษณะของ
นักเรียน จะทําใหนกเรียนเห็นคุณคาและความหมายของสิ่งที่เรียน อีกทั้งเปนแรงจูงใจใหนกเรียน
                   ั                                                                     ั
เกิดความตองการในการเรียนรูสิ่งอื่น ๆ เพิมมากขึ้น เชน การสอนเรื่องอาหาร การปองกันโรคติดตอ
                                          ่
การสื่อสาร การใชเทคโนโลยี สิ่งเหลานี้เมื่อเรียนรูในหองเรียนแลว ครูควรเชื่อมโยงใหนักเรียน
                                                    
นําไปใชในชีวตของเขา
               ิ

รูปแบบการบูรณาการ
       การสอนแบบบูรณาการมีลักษณะและวิธการที่แตกตางกันไป และมีความเหมาะสมกับการ
                                               ี
สอนในรายวิชาและระดับชันที่ตางกันไป แตสําหรับการบูรณาการวิชาสามัญกับวิชาชีพ มีวิธีการ
                         ้
บูรณาการหลัก ๆ ที่สําคัญอยู 2 รูปแบบดวยกัน คือ

         1. แบบเชื่อมโยง (Connected Model)
         เปนการบูรณาการเนื้อหาสาระของ 2 กลุมวิชา โดยในการสอนมีการเชื่อมโยงหัวขอหรือ
                                                  
ความคิดรวบยอดถึงกัน เชื่อมโยงความคิดตาง ๆ ใหสัมพันธกัน เชื่อมโยงจากหัวขอหนึ่งไปยังอีก
หัวขอหนึ่ง ทําใหเห็นความตอเนื่องหรือเกี่ยวของกันของเนื้อหาที่เรียนในหัวขอตาง ๆ เชน สอน
เรื่องเศษสวนใหสัมพันธกับเรื่องทศนิยม แลวเชื่อมโยงกับเรื่องการเงินการบัญชี เปนตน

         2. แบบคาบเกียว (Shared Model)
                      ่
         เปนการบูรณาการระหวางเนือหาสาระการเรียนรู 2 กลุมวิชา โดยเนื้อหาสาระที่สอนทั้ง 2
                                  ้
กลุมนั้น มีสาระความรู ทักษะ เจตคติ หรือความคิดรอบยอด ที่คาบเกี่ยวหรือเหลื่อมล้ํากันอยูสวน
หนึ่ง ในการบูรณาการรูปแบบนี้ ควรตองมีการวางแผนรวมกันระหวางครูผูสอน โดยเนื้อหาที่
คลายกันก็นํามาบูรณาการรวมกัน ในสวนที่คาบเกี่ยวกัน อาจจัดสอนเปนหัวขอรวมกัน หรือทํา
โครงงานรวมกัน และอีกสวนหนึ่งที่ไมคาบเกี่ยวกันนั้น ครูแยกกันสอนตามปกติ สําหรับงานที่ทํา
รวมกันนั้น ใหครูประเมินรวมกัน
7

การเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ
          หลังจากที่ครูผูสอน ไดจดลําดับเนื้อหาสาระภายในหัวขอเรื่องและวางแผนจัดกิจกรรม
                                           ั
บูรณาการทุกหัวขอเรื่องแลว จึงวางแผนเขียนแผนการจัดการเรียนรู/แผนการสอนแบบบูรณาการ
ซึ่งแผนการจัดการเรียนรูนี้เปนที่รวมขององคประกอบตาง ๆ ที่สําคัญ ในการออกแบบกิจกรรมให
ผูเรียนปฏิบัติรวมกัน เพื่อใหผูที่เกี่ยวของทราบวาจะสอนหัวขอใดระดับชั้นใด มีจุดประสงคการ
เรียนรูอยางไร มีวิธีการจัดกิจกรรมอยางไรบาง รวมทั้งใชสื่อประกอบการเรียนการสอน และมี
วิธีการวัดและประเมินผลอยางไร

        การเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการมีรูปแบบหรือองคประกอบตาง ๆ เหมือนกับ
แผนการจัดการเรียนรูทั่ว ๆ ไป แตตางกันตรงที่การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูตามเนื้อหาสาระของ
รายวิชาสามัญและวิชาชีพจะมีการเชื่อมโยงเขาดวยกันหรือเปนเรื่องเดียวกัน

ลักษณะของการวัดและประเมินผล
       การประเมินผลที่สอดคลองกับวิธีการสอนแบบบูรณาการ               ควรมีสภาพใกลเคียงกับ
ธรรมชาติมากที่สุด โดยอยูบนพื้นฐานของสิ่งที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติไดจริง ดังนั้นการวัดและ
ประเมินผลจึงควรมีลักษณะสําคัญตาง ๆ ดังนี้

         1. สะทอนภาพพฤติกรรมและทักษะทีจําเปนของผูเรียนในสถานการณจริง เปนการ
                                                 ่
แสดงออกในภาคปฏิบัติทักษะกระบวนการเรียนรู ผลผลิตและแฟมสะสมงาน ผูเรียนมีสวนรวมใน
การประเมินผล และการจัดกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง
         2. ใชเทคนิคการประเมินผลที่หลากหลาย เนื่องจากการประเมินจากการปฏิบัติที่ผูเรียน
จะตองลงมือทําจริง แสดงออกใหเห็นเปนรูปธรรมวาทําอะไรไดบาง ไมวาจะเปนการประดิษฐ
ชิ้นงาน การทดลอง การเขียนรายงาน หรือการทํากิจกรรมอื่น ๆ ทุกอยางควรเปนสิงที่มีความหมาย
                                                                             ่
สําหรับผูเรียน
         3. เนนใหผูเรียนแสดงออกดวยการสรางสรรคผลงาน ดึงความคิดชั้นสูง ความคิดที่ซบซอน
                                                                                      ั
และการใชทกษะตาง ๆ ออกมาได เชน ทักษะการแกปญหา
              ั
         4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนผลมาจากการเรียนการสอน ที่สอดคลองกับความเปนจริง
และสามารถประยุกตสิ่งที่เรียนรูไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน
         5. ใชขอมูลอยางหลากหลายเพื่อการประเมิน โดยครูผสอนควรรูจักผูเรียนทุกแง ทุกมุม
                                                             ู
คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล รับขอมูลมาจากหลาย ๆ ทาง การกําหนดปญหาหรืองาน ควร
เปนแบบปลายเปด เพื่อใหผูเรียนไดสรางคําตอบที่หลากหลาย
8


          6. เนนการมีสวนรวมในการประเมินระหวางผูเรียน ครู และผูปกครอง การใหผูเรียนมีสวน
                       
รวมในการประเมินผล จะทําใหผูเรียนรูจักการวางแผน การเรียนรูตามความตองการของตนเองวา
                                                                  
เขาอยากรู อยากทําอะไร (โดยมีครูเปนผูชวยใหคําแนะนํา) ซึ่งจะนําไปสูการกําหนดจุดประสงคการ
เรียนรู และการประเมินผลที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

        การวัดและการประเมินผลนี้ เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน เปนตัวกระตุนใหเกิด
คุณภาพการสอนและการเรียนรู การใชเทคนิควิธีการวัด และการประเมินผลที่หลากหลายจะชวย
สงเสริมใหการเรียนรูมีความหมายมากยิ่งขึ้น

เทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูแบบบูรณาการ
         การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการมีเทคนิควิธีการจัดการและประเมินผลหลากหลาย
วิธี ครูผูสอนสามารถเลือกวิธีใชไดตามความเหมาะสมกับเนื้อหาหรือรูปแบบการบูรณาการ และ
เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนแบบผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ เนน
การฝกปฏิบัติตามกระบวนการ รวมทั้งการปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงคในทุกกลุมสาระการเรียนรู การวัดและประเมินผลผูสอนจึงตองเลือกใชใหหลากหลาย และ
ดําเนินการควบคูกันไปในกระบวนการจัดการเรียนการสอน             ทั้งนี้เพื่อใหสามารถเก็บขอมูลที่
ตองการวัดและประเมินผลผูเรียน ใหไดครบถวนทุกดานใหสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง
และมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูแบบบูรณาการ ไดแก
การสังเกต การบันทึกประจําวัน การตอบปากเปลา การเขียนคําตอบหรือความเรียง การประเมิน
ตนเองหรือกลุม การสัมภาษณ การใชแฟมสะสมงาน การทําโครงงาน การใชคะแนนแบบรูบค
                                                                                            ิ
(Scoring Rubrics) หรือเกณฑคุณภาพ การใชแบบทดสอบ เปนตน


                                     -----------------------
9

                           ตารางการวิเคราะหความเชื่อมโยงเนื้อหารายวิชาสามัญกับวิชาชีพ
         หนวยการเรียนรูที่ ........... สัปดาหที่ .......... ชื่อหนายการเรียนรู .....................................................
เนื้อหาสาระ/ทักษะ/เจตคติ/ ความเชื่อมโยงกับวิชาชีพของ                                          กิจกรรมการเรียนรู
      ความคิดรวบยอด                         นักเรียน

More Related Content

What's hot

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNatthawut Sutthi
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรNontaporn Pilawut
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพYaowaluck Promdee
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 

What's hot (20)

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 

Similar to รูปแบบการสอนบูรณาการ

การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการWeerachat Martluplao
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nattawad147
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149gam030
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3wanneemayss
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 

Similar to รูปแบบการสอนบูรณาการ (20)

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 

รูปแบบการสอนบูรณาการ

  • 1. การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ* ดร. ประพนธ จุนทวิเทศ สสอ. บทนํา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 22 กลาวถึงการจัดการศึกษาวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูพัฒนา ตนเองไดตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ และถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด และมาตรา 23 กลาวไววา การ จัดการศึกษาตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความ เหมาะสมของการศึกษาแตละระดับ จากขอความในมาตราทั้ง 2 มาตรานี้จะเห็นไดวา การจัดการ ศึกษาไดมุงเนนการพัฒนาตัวผูเรียนมีความสมดุลโดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด (Child-Centered) สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การจัดกระบวนการเรียนรูมุงเนน การฝกทักษะการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชปองกันและ แกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ซึ่งหมายถึงการหลอมรวมทุกสิ่งทุก  อยางดังกลาวเขาเปนสิ่งเดียวกัน เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูอยางเปนธรรมชาติและมีความหมายตอชีวต  ิ ของผูเรียน การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเปนการเรียนรูในลักษณะองครวม จัดการเรียนรูดวย  รูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูรวมกัน การ เรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และมีการวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับการ จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยประเมินจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) และประเมินตาม สภาพจริง (Authentic Assessment) ความสําคัญของการบูรณาการ ลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่ผานมา เปนวิธีการเรียนที่มุงเนนการถายทอดเนื้อหาวิชา มากกวาการเรียนรูจากสภาพที่เปนจริง และไมเนนกระบวนการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดพัฒนาการคิด วิเคราะห การแสดงความคิดเห็น การแสวงหาความรูดวยตนเอง อีกทั้งยังขาดการเชื่อมโยงให  เหมาะสมกับบริบทและสภาพแวดลอมในสังคม *สรุปสาระสําคัญและเพิ่มเติมจากหนังสือ ผศ. ดร. สิริพัชร เจษฎาวิโรจน. 2546. การจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพ ฯ. บุค พอยท.
  • 2. 2 ผลการใชหลักสูตรยังมีขอจํากัดหลายประการ การสอนแยกออกเปนวิชา ทําใหการเรียนรู แยกกันเปนสวน ๆ ไมสัมพันธหรือไมสอดคลองกับชีวิตจริงของผูเรียน ผูเรียนมีสวนรวมใน กิจกรรมนอย สวนใหญมักจะเรียนในหอง ไมมีโอกาสไดสัมผัสกับความเปนจริงนอกหองเรียน ทํา ใหผูเรียนไมเห็นความหมายของสิ่งที่เรียน ในชีวิตของคนเราจะพบสิ่งตาง ๆ มากมายหลายชนิด หลายประเภทในเวลาเดียวกัน ประสบการณตาง ๆ หรือปญหาทั้งหลายจะเกียวของกันหรือเกิดขึนตามธรรมชาติ ทุกคนจะใช ่ ้ ทักษะหลาย ๆ อยาง ในการเรียนรูประสบการณและการแกปญหาในชีวิตประจําวัน การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนวิธีที่ดที่สุดวิธีหนึ่ง ที่จะชวยขจัดปญหาตางดังกลาวใหหมด ี หรือลดนอยลงไป ผูเรียนจะสามารถเชื่อมโยงการเรียนรูทุกสาขาวิชา ความคิดตาง ๆ ทักษะ เจตคติ หรือความ เชื่อไดดี เมือไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนําเสนอแกผูเรียนในลักษณะบูรณาการ จะทําให ่ ผูเรียนมองเห็นรูปแบบและความสัมพันธ นักเรียนสามารถเชื่อมโยงผสมผสานสาระความรูตาง ๆ ชวยใหนกเรียนไดรับความรูความเขาใจในลักษณะองครวมมีความหมายลึกซึ้ง ั  บรรยากาศการ เรียนรูจะผานคลาย ไมรูสึกกดดัน และเอือตอการเรียนรูไดดี ชวยใหผุเรียนเกิดการเรียนรูที่สมบูรณ ้ ทั้งในดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย สามารถนําความรูตาง ๆ และประสบการณไป ประยุกตใชในชีวิตจริง การสอนแบบบูรณาการจะชวยสงเสริมและพัฒนา ความสามรถทาง สติปญญาที่หลากหลาย (Multiple Intelligences) และตอบสนองตอรูปแบบการเรียนรู (Learning Styles) ที่แตกตางกันของนักเรียนแตละคนไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังชวยพัฒนาในดานสุนทรียะ และความดีงาม ซึ่งจะมีอิทธิพลตอความรูสึกและความคิดที่ดี อีกทั้งผูเรียนจะเขาใจถึงความสัมพันธ ระหวางวิชา และสามารถนําความรูจากการเรียนรูในสวนหนึ่งไปชวยทําใหการเรียนรูในสวนอื่น ๆ ดีขึ้นดวย ความสําคัญของการบูรณาการอีกประการหนึ่ง คือ การที่ผูเรียนจะเขาใจสิ่งตาง ๆ อยางแจม แจง เกิดความหมายและนําไปใชไดก็ตอเมื่อความรูและความคิดยอย ๆ ประสานสัมพันธและ เชื่อมโยงกัน จนสามารถมองเห็นความสัมพันธของสิ่งนั้นกับสิ่งอื่นรอบตัว ซึ่งมีผลใหเกิดการนํา ความรูและประสบการณที่ได มาจัดระบบระเบียบใหมใหเหมาะสมกับตนเปนองครวมของความรู ของตนเอง และในการสอนตองใหผูเรียนเกิดกระบวนการเชื่อมโยงความคิดขึ้นในเนือหา ดวยการ ้ ใชวิธีการหลากหลายซึ่งจะเปนการบูรณาการทั้งดานเนือหาสาระและวิธีการ ้
  • 3. 3 ศาสตรทุกศาสตรไมอาจแยกกันไดโดยเด็ดขาด เชนเดียวกับวิถีชีวตของคนที่ตองดํารงอยู ิ อยางกลมกลืนเปนองครวม การจัดใหผูเรียนไดเรียนรูเนือหาตาง ๆ และฝกทักษะหลาย ๆ ทักษะ ้ อยางเชื่อมโยงกัน จะทําใหการเรียนรูสอดคลองกับชีวิตจริงและมีความหมายตอผูเรียนมากยิ่งขึ้น ความหมายของการบูรณาการ กรมอาชีวศึกษา (2541) ไดใหความหมายของการสอนแบบบูรณาการไววา การสอนแบบ  บูรณาการ หมายถึง วิธีการสอนโดยนําสิ่งหรือเรื่องที่เกี่ยวของมาผสมผสานกัน เพื่อใหกระบวนการ ถายทอดความรูมีความชัดเจน และสอดคลองกับสภาพชีวิตจริง โดยทั่วไปจะเนนที่การบูรณาการ เทคนิควิธีการสอนโดยใชหลาย ๆ วิธีผสมผสานกัน และการบูรณาการเนื้อหาสาระวิชาการที่ เกี่ยวของเขาดวยกัน นอกจากนี้ยังมีผูใหความหมายไวอกมากมาย สามารถสรุปไดวา การสอนแบบบูรณาการ ี หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใชวิธการสอนหลายวิธี จัดกิจกรรมตาง ๆ ในการสอน ี เนื้อหาสาระที่เชื่อมโยงกัน ตลอดจนมีการฝกทักษะตาง ๆ ที่หลากหลาย จุดมุงหมายของการบูรณาการ จุดมุงหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ มัดังนี้ 1. เพื่อใหนักเรียนเกิดความตระหนักวา การเรียนรูทุกสิ่งมีความสัมพันธซึ่งกันและกันใน ชีวิตคนเรา ทุกสิ่งทุกอยางจะเกียวของกันอยูเสมอ ่ การเรียนการสอนแบบบูรณาการจะมี ความสัมพันธกับชีวิตของนักเรียน และนักเรียนจะเกิดแรงจูงใจในการเรียนมากกวาแบบเดิม 2. เพื่อใหนกเรียนเปนผูที่สามารถแกปญหาไดดวยตนเอง ซึ่งในการแกปญหา นักเรียน ั  จะตองอาศัยความรูจากหลายสาขาวิชาในเวลาเดียวกัน 3. เพื่อใหนกเรียนไดมีสวนรวมในการเรียนรูโดยตรงอยางมีจุดหมาย และมีความหมาย ั นักเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ การแสดงความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอน และชวย สรางความเขาใจใหนักเรียนอยางลึกซึ้ง 4. เพื่อตอนสนองความสนใจของนักเรียนแตละคน โดยการเรียนรูตามเอกัตภาพ ออกแบบ กิจกรรมใหนกเรียนไดเรียนรูตามที่ตองการจะรู บรรยากาศในชันเรียนจะไมเครียดสามารถกระตุน ั ้ ใหนกเรียนเรียนอยางสนุกสนานและบรรลุผลในการเรียนมากขึ้น ั 5. มีการถายโอนและคนหาความสัมพันธระหวางเนื้อหาสาระ ความคิด ทักษะ และเจตคติ ชวยใหผูเรียนเขาใจความคิดรวบยอดที่เรียนไดอยางลึกซึ้ง เปนระบบ และถายโอนความเขาใจจาก เรื่องหนึ่งไปสูอีกเรื่องหนึ่งไดดี 
  • 4. 4 6. สงเสริมการเรียนรูที่จะทํางานรวมกัน ใหนักเรียนรูสึกมั่นคง มีความพึงพอใจมีความรูสึก เปนสวนหนึ่งของหมูคณะและยอมรับผูอื่น เต็มใจทํางานรวมกับกลุมและเปนสมาชิกที่ดีของกลุม 7. ชวยพัฒนาคานิยม คุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานการทํางาน วินยในตนเอง สงเสริม ั ความสามารในการทํางาน และการควบคุมอารมณของผูเรียน 8. ชวยสงเสริมความคิดสรางสรรค และพัฒนาการแสดงออกทางดานศิลปะ ดนตรีไป พรอม ๆ กับทางดานความรู เนื้อหาสาระ อีกทั้งใหผูเรียนมีโอกาสไดรวมกิจกรรมในสังคม การจัดการเรียนสอนแบบบูรณาการ เปนสิ่งที่ทําใหเห็นกระบวนการเรียนรูตามธรรมชาติ ของนักเรียน ความรู ปญหาและประสบการณตาง ๆ เปนสิ่งที่นักเรียนเรียนรูไดในชีวิตประจําวัน อยางสัมพันธกัน การบูรณาการจึงเปนสิ่งที่ชวยตอบสนองธรรมชาติการเรียนรูของนักเรียนเปน  อยางยิ่ง ลักษณะของการบูรณาการ การบูรณาการมีหลายลักษณะ หลายแนวความคิด แตละลักษณะเอื้อตอการจัดการเรียนการ สอนแบบบูรณาการไดเปนอยางดี ในบางครั้งครูอาจบูรณาการหลายลักษณะเขาดวยกัน สุดแลวแต ความคิดของครูแตละคนและความเหมาะสมเปนเรื่อง ๆ ไป สําหรับการบูรณาการที่เกี่ยวของกับ การจัดการเรียนการสอนทางดานวิชาชีพ มีดังนี้ 1. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เปนการบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เปนการผสมผสานเชื่อมโยงเนื้อหาสาระหรือองคความรู ในลักษณะของการหลอมรวมกัน เนื้อหาสาระที่นํามารวมกันจะมีลกษณะคลายกัน สัมพันธกัน ั หรือตอเนื่องกัน แลวเชื่อมโยงเปนเรื่องเดียวกัน ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงการบูรณาการเนื้อหาสาระ รายวิชาสามัญเขากับเนื้อหาสาระทางดานวิชาชีพที่เกียวของหรือที่ศึกษา ่ 2. การบูรณาการเชิงวิธีการ การบูรณาการเชิงวิธีการเปนการผสมผสานวิธีการสอนแบบตาง ๆ เขาในการสอน โดยการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใชวิธีสอนหลาย ๆ วิธี ใชสื่อการเรียนการสอนแบบสื่อประสมใช เทคนิคการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพือใหนกเรียนมีโอกาสไดเรียนรูและฝกปฏิบัติอยางสัมพันธ ่ ั กันใหมากที่สด เชน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องภูมิปญญาไทย ครูสามารถบูรณาการเชิง ุ วิธีการดวยการใชเทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ ไดหลายวิธี ไดแก การสนทนา การอภิปราย การใช คําถาม การบรรยาย การคนควาและการทํางานกลุม การไปศึกษานอกหองเรียน และการนําเสนอ ขอมูล เปนตน
  • 5. 5 3. การบูรณาการความรูกับกระบวนการเรียนรู การเรียนรูในอดีต ครูมักเปนผูบอกหรือใหความรูแกนกเรียนโดยตรง นักเรียนเปนฝายรับ ั สิ่งที่ครูหยิบยืนให แลวแตความสามารถของนักเรียนวาใครจะตักตวงไดเทาไรและจะเหลือเก็บไว ่ ไดเทาไร แตในปจจุบันมีแนวความคิดเปลี่ยนไป จากการเนนที่องคความรูมาเปนเนนที่ กระบวนการเรียนรู เพือใหนกเรียนพัฒนาวิธีการแสวงหาความรูและการไดมาซึ่งองคความรูที่ ่ ั  ตองการ และกระบวนการเรียนรูจะเปนสิงที่ตกตะกอนติดตัวนักเรียนไวใชไดตลอดไป เพราะสังคม ่ สมัยใหม มีสงที่นักเรียนตองเรียนรูมากมาย มีปญหาที่สลับซับซอนมากขึ้น ครูไมสามารถตามไป ิ่ สอนไดทุกที่ หรือนักเรียนไมสามารถมาถามครูไดทุกเรื่องนักเรียนจึงจําเปนที่ตองแสวงหาความรู ดวยตนเอง โดยมีกระบวนการการเรียนรูทมีขั้นตอนอยูในใจ แตสามารถยืดหยุนได เชน ตองการให ี่   นักเรียนเรียนรูเรื่องพอขุนรามคําแหงมหาราช ครูอาจแนะนําใหนักเรียนใชกระบวนการแสวงหา ความรู กระบวนการแกปญหา กระบวนการสรางความคิดรวบยอด ในการใหไดมาซึ่งความรูใน  เรื่องที่ตองการ เปนตน 4. การบูรณาการความรู ความคิด กับคุณธรรม ในสภาพการจัดการเรียนการสอนตามความเปนจริงสวนใหญ จุดประสงคมักเนนไปที่ดาน พุทธิพิสัยมากกวาดานจิตพิสัย บุคคลใดทีจะไดรับคําชมวาเกงตองเดนในดานความรูซึ่งเปนคานํายม ่  มาแตเดิม โดยหลักการแลวควรใหความสําคัญแกความรูและคุณธรรมเทาเทียมกัน ดังนันจึงเปน ้ โอกาสดีที่ครูจะจัดการเรียนการสอนใหแกนักเรียนโดยบูรณาการความรู ความคิด และคุณธรรมเขา ดวยกัน อาจเปนการสอนเนื้อหาสาระโดยใชวิธีการตาง ๆ และใชเทคนิคการสอดแทรกคุณธรรมเขา ไปโดยที่นกเรียนไมรูตว จนกระทั่งเกิดความซึมซาบเปนธรรมชาติ เชน การสอนเรืองสิทธิ หนาที่ ั ั ่ และเสรีภาพ ทั้งของตนเองและผูอื่นเทานัน เพราะจะทําใหนกเรียนคิดแตสิ่งที่ตนพึงจะไดรับ หรือ ้ ั พึงมีตามกฎหมาย แตนักเรียนจะขาดคุณลักษณะในดานคุณธรรมดังนั้น ครูจึงควรสอนสอดแทรก คุณธรรมดานตาง ๆ เชน ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเอื้ออาทร การชวยเหลือกัน ความ เมตตากรุณา หรือการตรงตอเวลา ตามความเหมาะสมเพื่อนักเรียนจะไดเปน “ผูมีความรูคูคุณธรรม” 5. การบูรณาการความรูกับการปฏิบัติ ความสัมพันธระหวางความรูกับการปฏิบัติ เปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญมากเชนกัน เพราะเมื่อเวลาผานไป อาจลืมความรูที่ไดจากการเรียนรูนนได แตถาความรูนั้นเชื่อมโยงไปกับการ ั้ ปฏิบัติจะทําใหความรูนั้นติดตัวไปไดยาวนานไมลืมงาย เชน การเรียนรูเรื่องพวงมาลัยและวิธีการ รอยพวงมาลัยแบบตาง ๆ โอกาสในการใชพวงมาลัย วัสดุอุปกรณในการรอยพวงมาลัย ซึ่งหากเปน การสอนแคความรูขณะเรียน นักเรียนจะมีความรูความเขาใจได แตจะไมคงทน เพราะอาจลืมใน เวลาตอมา แตถาครูสอนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติการรอยพวงมาลัยแตละแบบประกอบไปดวย จะ
  • 6. 6 ทําใหนกเรียนมีความเขาใจลึกซึ้งมากขึ้นไมลืมงาย และขณะฝกปฏิบัตนักเรียนอาจพบปญหาตาง ๆ ั ิ นักเรียนก็จะสามารถคิดและใชประสบการณในการแกปญหาไดดวย   6. การบูรณาการความรูในโรงเรียนกับชีวตจริงของนักเรียน ิ ในการจัดการเรียนการสอน ‘ความรู’ เปนสิ่งที่ผูสอนทุกคนปรารถนาใหเกิดขึ้นภายในตัว นักเรียน แตความรูนั้น ไมควรเปนสิ่งที่ทาใหนกเรียนเกิดความแปลกแยกกับชีวตจริง เพราะจะทํา ํ ั ิ ใหนกเรียนไมเห็นคุณคา ไมมีความหมาย และไมเกิดประโยชนใด ๆ แกตวนักเรียน ดังนั้น สิ่งที่ครู ั ั สอนหรือใหนกเรียนเรียนรูในโรงเรียนหรือสถานศึกษา ั ควรเชื่อมโยงใหสัมพันธกับชีวิตของ นักเรียน และเปนสิ่งที่ชวยเหลือนักเรียนในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิต และคุณลักษณะของ นักเรียน จะทําใหนกเรียนเห็นคุณคาและความหมายของสิ่งที่เรียน อีกทั้งเปนแรงจูงใจใหนกเรียน ั ั เกิดความตองการในการเรียนรูสิ่งอื่น ๆ เพิมมากขึ้น เชน การสอนเรื่องอาหาร การปองกันโรคติดตอ ่ การสื่อสาร การใชเทคโนโลยี สิ่งเหลานี้เมื่อเรียนรูในหองเรียนแลว ครูควรเชื่อมโยงใหนักเรียน  นําไปใชในชีวตของเขา ิ รูปแบบการบูรณาการ การสอนแบบบูรณาการมีลักษณะและวิธการที่แตกตางกันไป และมีความเหมาะสมกับการ ี สอนในรายวิชาและระดับชันที่ตางกันไป แตสําหรับการบูรณาการวิชาสามัญกับวิชาชีพ มีวิธีการ ้ บูรณาการหลัก ๆ ที่สําคัญอยู 2 รูปแบบดวยกัน คือ 1. แบบเชื่อมโยง (Connected Model) เปนการบูรณาการเนื้อหาสาระของ 2 กลุมวิชา โดยในการสอนมีการเชื่อมโยงหัวขอหรือ  ความคิดรวบยอดถึงกัน เชื่อมโยงความคิดตาง ๆ ใหสัมพันธกัน เชื่อมโยงจากหัวขอหนึ่งไปยังอีก หัวขอหนึ่ง ทําใหเห็นความตอเนื่องหรือเกี่ยวของกันของเนื้อหาที่เรียนในหัวขอตาง ๆ เชน สอน เรื่องเศษสวนใหสัมพันธกับเรื่องทศนิยม แลวเชื่อมโยงกับเรื่องการเงินการบัญชี เปนตน 2. แบบคาบเกียว (Shared Model) ่ เปนการบูรณาการระหวางเนือหาสาระการเรียนรู 2 กลุมวิชา โดยเนื้อหาสาระที่สอนทั้ง 2 ้ กลุมนั้น มีสาระความรู ทักษะ เจตคติ หรือความคิดรอบยอด ที่คาบเกี่ยวหรือเหลื่อมล้ํากันอยูสวน หนึ่ง ในการบูรณาการรูปแบบนี้ ควรตองมีการวางแผนรวมกันระหวางครูผูสอน โดยเนื้อหาที่ คลายกันก็นํามาบูรณาการรวมกัน ในสวนที่คาบเกี่ยวกัน อาจจัดสอนเปนหัวขอรวมกัน หรือทํา โครงงานรวมกัน และอีกสวนหนึ่งที่ไมคาบเกี่ยวกันนั้น ครูแยกกันสอนตามปกติ สําหรับงานที่ทํา รวมกันนั้น ใหครูประเมินรวมกัน
  • 7. 7 การเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ หลังจากที่ครูผูสอน ไดจดลําดับเนื้อหาสาระภายในหัวขอเรื่องและวางแผนจัดกิจกรรม ั บูรณาการทุกหัวขอเรื่องแลว จึงวางแผนเขียนแผนการจัดการเรียนรู/แผนการสอนแบบบูรณาการ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรูนี้เปนที่รวมขององคประกอบตาง ๆ ที่สําคัญ ในการออกแบบกิจกรรมให ผูเรียนปฏิบัติรวมกัน เพื่อใหผูที่เกี่ยวของทราบวาจะสอนหัวขอใดระดับชั้นใด มีจุดประสงคการ เรียนรูอยางไร มีวิธีการจัดกิจกรรมอยางไรบาง รวมทั้งใชสื่อประกอบการเรียนการสอน และมี วิธีการวัดและประเมินผลอยางไร การเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการมีรูปแบบหรือองคประกอบตาง ๆ เหมือนกับ แผนการจัดการเรียนรูทั่ว ๆ ไป แตตางกันตรงที่การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูตามเนื้อหาสาระของ รายวิชาสามัญและวิชาชีพจะมีการเชื่อมโยงเขาดวยกันหรือเปนเรื่องเดียวกัน ลักษณะของการวัดและประเมินผล การประเมินผลที่สอดคลองกับวิธีการสอนแบบบูรณาการ ควรมีสภาพใกลเคียงกับ ธรรมชาติมากที่สุด โดยอยูบนพื้นฐานของสิ่งที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติไดจริง ดังนั้นการวัดและ ประเมินผลจึงควรมีลักษณะสําคัญตาง ๆ ดังนี้ 1. สะทอนภาพพฤติกรรมและทักษะทีจําเปนของผูเรียนในสถานการณจริง เปนการ ่ แสดงออกในภาคปฏิบัติทักษะกระบวนการเรียนรู ผลผลิตและแฟมสะสมงาน ผูเรียนมีสวนรวมใน การประเมินผล และการจัดกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง 2. ใชเทคนิคการประเมินผลที่หลากหลาย เนื่องจากการประเมินจากการปฏิบัติที่ผูเรียน จะตองลงมือทําจริง แสดงออกใหเห็นเปนรูปธรรมวาทําอะไรไดบาง ไมวาจะเปนการประดิษฐ ชิ้นงาน การทดลอง การเขียนรายงาน หรือการทํากิจกรรมอื่น ๆ ทุกอยางควรเปนสิงที่มีความหมาย ่ สําหรับผูเรียน 3. เนนใหผูเรียนแสดงออกดวยการสรางสรรคผลงาน ดึงความคิดชั้นสูง ความคิดที่ซบซอน ั และการใชทกษะตาง ๆ ออกมาได เชน ทักษะการแกปญหา ั 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนผลมาจากการเรียนการสอน ที่สอดคลองกับความเปนจริง และสามารถประยุกตสิ่งที่เรียนรูไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน 5. ใชขอมูลอยางหลากหลายเพื่อการประเมิน โดยครูผสอนควรรูจักผูเรียนทุกแง ทุกมุม ู คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล รับขอมูลมาจากหลาย ๆ ทาง การกําหนดปญหาหรืองาน ควร เปนแบบปลายเปด เพื่อใหผูเรียนไดสรางคําตอบที่หลากหลาย
  • 8. 8 6. เนนการมีสวนรวมในการประเมินระหวางผูเรียน ครู และผูปกครอง การใหผูเรียนมีสวน  รวมในการประเมินผล จะทําใหผูเรียนรูจักการวางแผน การเรียนรูตามความตองการของตนเองวา  เขาอยากรู อยากทําอะไร (โดยมีครูเปนผูชวยใหคําแนะนํา) ซึ่งจะนําไปสูการกําหนดจุดประสงคการ เรียนรู และการประเมินผลที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การวัดและการประเมินผลนี้ เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน เปนตัวกระตุนใหเกิด คุณภาพการสอนและการเรียนรู การใชเทคนิควิธีการวัด และการประเมินผลที่หลากหลายจะชวย สงเสริมใหการเรียนรูมีความหมายมากยิ่งขึ้น เทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการมีเทคนิควิธีการจัดการและประเมินผลหลากหลาย วิธี ครูผูสอนสามารถเลือกวิธีใชไดตามความเหมาะสมกับเนื้อหาหรือรูปแบบการบูรณาการ และ เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนแบบผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ เนน การฝกปฏิบัติตามกระบวนการ รวมทั้งการปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึง ประสงคในทุกกลุมสาระการเรียนรู การวัดและประเมินผลผูสอนจึงตองเลือกใชใหหลากหลาย และ ดําเนินการควบคูกันไปในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้เพื่อใหสามารถเก็บขอมูลที่ ตองการวัดและประเมินผลผูเรียน ใหไดครบถวนทุกดานใหสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง และมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูแบบบูรณาการ ไดแก การสังเกต การบันทึกประจําวัน การตอบปากเปลา การเขียนคําตอบหรือความเรียง การประเมิน ตนเองหรือกลุม การสัมภาษณ การใชแฟมสะสมงาน การทําโครงงาน การใชคะแนนแบบรูบค  ิ (Scoring Rubrics) หรือเกณฑคุณภาพ การใชแบบทดสอบ เปนตน -----------------------
  • 9. 9 ตารางการวิเคราะหความเชื่อมโยงเนื้อหารายวิชาสามัญกับวิชาชีพ หนวยการเรียนรูที่ ........... สัปดาหที่ .......... ชื่อหนายการเรียนรู ..................................................... เนื้อหาสาระ/ทักษะ/เจตคติ/ ความเชื่อมโยงกับวิชาชีพของ กิจกรรมการเรียนรู ความคิดรวบยอด นักเรียน