SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practice
TOP CHILD “ซุปเปอร์จิ๋ว”
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ
(Project Approach)
ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practice
TOP CHILD “ซุปเปอร์จิ๋ว”
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ
(Project Approach)
ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
3
1. ชื่อ BEST PRACTICE “TOP CHILD ซุปเปอร์จิ๋ว”
2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BEST PRACTICE
2.1 ผู้พัฒนา BEST PRACTICE
ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง
2.2 โรงเรียนอนุบาลระนองศูนย์ปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง
จังหวัดระนองมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัด สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาระนอง จานวน 91 โรงเรียน เป็นโรงเรียนศูนย์ปฐมวัยประจาจังหวัด
1 โรงเรียน คือโรงเรียนอนุบาลระนอง ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบอาเภอละ 1 โรงเรียน จานวน
5 โรงและศูนย์ปฐมวัยต้นแบบเครือข่ายอีก 6 โรงเรียน รวมเป็นโรงเรียนเครือข่ายของ
ศูนย์ปฐมวัยประจาจังหวัด 11 โรงเรียน ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลระนองจึงต้องจัดการศึกษา
ระดับปฐมวัย พัฒนางานวิชาการให้เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และเพื่อสร้างความ
ร่วมมือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการ ศึกษาปฐมวัย
โรงเรียนอนุบาลระนองเปิดทาการสอนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 ระดับ คือ ระดับ
ปฐมวัย และระดับประถมศึกษา มีห้องเรียน 32 ห้องเรียน จานวนนักเรียนทั้งสิ้น 1,204 คน
ข้าราชการครู 50 คน สาหรับระดับปฐมวัยมีจานวน 8 ห้องเรียน เป็นห้องเรียนพิเศษ
English Program ชั้นละ 1 ห้องเรียน รวม 2 เรียน จานวนนักเรียนทั้งสิ้น 191 คน ครูผู้สอน
ระดับปฐมวัยจานวน 9 คน ครูต่างชาติ 3 คน พี่เลี้ยงเด็ก จานวน 4 คน
ปัจจุบัน นางวรรณี พุ่มสุวรรณ เป็นผู้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS)
ชนะเลิศเหรียญทองด้านวิชาการ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน บริหารจัดการโดยใช้หลักการ
กระจายอานาจและหน้าที่รับผิดชอบในการทางานให้กับบุคลากรในโรงเรียนและชุมชน
นางรัมภา สรรพกุล วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูคุรุสดุดี เป็นหัวหน้าศูนย์ปฐมวัย
ต้นแบบโรงเรียนอนุบาลระนอง
4
ความภาคภูมิใจ
- โรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับก่อนประถมศึกษา
- ครูคุรุสดุดี
นางรัมภา สรรพกุล
- ครูปฐมวัยดีเด่น
- นางประทิน พิทักษ์จักรพิภพ
- นางรัมภา สรรพกุล
- นางสาวสุวรรณี คงทองจีน
- นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชนะเลิศ รองอันดับ 1 เหรียญทอง
ระดับชาติ การแข่งขันการเล่านิทานประกอบท่าทาง
- เด็กชายปริณ เขียวเปลื้อง
3. เป้ าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BEST PRACTICE
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 หมวด 4
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนและพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการ
จัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และ
มาตรา 24 ได้กล่าวว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้
สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ฝึกทักษะบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ
แก้ปัญหา ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น
รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการ
เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ ประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้
ปกครอง,ชุมชนเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
จากการศึกษาวิเคราะห์ นักเรียนระดับปฐมวัย ในด้านคุณภาพ ผลการประเมินพบว่า
นักเรียน มีการพัฒนาด้านร่างกายและด้านอื่น ๆเพิ่มขึ้น แต่การพัฒนาด้านสติปัญญายังคงอยู่
ในเกณฑ์ต่าเพราะครูยังขาดหลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการการเรียนรู้ที่
5
สอดคล้องกับหน้าที่และศักยภาพของสมอง เป็นผลทาให้เด็กไม่สามารถคิดวิเคราะห์ และ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงรวบรวมวิธีการแก้ปัญหาเพื่อให้ประสบผลสาเร็จ
โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ โดยเฉพาะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
โครงการ(Project Approach)มาพัฒนาบูรณาการจนได้รูปแบบ “TOP CHILD:
ซุปเปอร์จิ๋ว”
วัตถุประสงค์
1. นักเรียนสามารถพัฒนากระบวนการคิด แก้ไขปัญหาได้อย่างเป็น
กระบวนการ
2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นและเห็นคุณค่าในตนเอง
3. เพื่อขยายผลรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงการ(Project
Approach)ให้กับโรงเรียนเครือข่ายและผู้สนใจ
4. ระยะเวลาในการพัฒนา BEST PRACTICE
ปีการศึกษา 2552 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
โครงการ (Project Approach)โดยนารูปแบบ “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว” มาใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน วัดผลประเมินผลด้านสติปัญญา
ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
โครงการ (Project Approach)มาใช้บูรณาการการสอนเป็นหน่วยการเรียนรู้ ตามสาระการ
เรียนรู้ในหลักสูตรปฐมวัย และศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
นามาบูรณาการจนได้เป็นรูปแบบ “TOP CHILD ซุปเปอร์จิ๋ว” นารูปแบบการเรียนการสอน
เผยแพร่ให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่ายได้นาไปใช้
ปีการศึกษา 2553 พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ
(Project Approach) มาใช้บูรณาการการสอนให้เหมาะกับแต่ละระดับชั้นของผู้เรียน และ
ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมมากขึ้น
ปีการศึกษา 2554 กาหนดวิธีการนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
โครงการ (Project Approach) โดยแต่ละชั้นต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ
(Project Approach) ปีละ 2 เรื่อง และนาไปบูรณาการกับการเรียนการสอนในห้องเรียน
English Pragram
6
ปีการศึกษา 2555 – 2557 เผยแพร่รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
โครงการ (Project Approach) ให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่ายได้นาไปใช้
5. ความเชื่อมโยง / ความสัมพันธ์ระหว่าง BEST PRACTICE กับเป้ าหมาย/ จุดเน้นของ
สพท./สพฐ./สถานศึกษา
สอดคล้องนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อ. 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
สอดคล้องยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้ าประสงค์ข้อ. 2 ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลยุทธ์ข้อ. 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ(กิจกรรมสาคัญ
คือพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เน้น การอ่าน เขียน คิดคานวณ คิดวิเคราะห์)
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
พันธกิจ ข้อ. 2 พัฒนากระบวนการจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้น
พื้นฐานให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนาความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและยกระดับคุณภาพสู่
มาตรฐานการศึกษา
7
โครงสร้าง “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว”
TOP
Thinking Obtion Present
เด็กคิด เด็กเลือก เด็กนาเสนอ
CHILD
Construct Happiness Integration Learning Development
สร้างองค์ความรู้ มีความสุข การบูรณาการ การเรียนรู้ พัฒนาการ/การเจริญเติบโต
“TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว”หมายถึงกระบวนการเรียนรู้โดยยึดเด็กเป็นสาคัญด้วย
กระบวนการบูรณาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เด็กมีพัฒนาการตามศักยภาพ
8
6. แนวคิด / หลักการ / ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BEST PRACTICE
จากการคิดค้นรูปแบบการเรียนการสอน“TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว”ได้ศึกษาแนวคิด
หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ ดังนี้
แนวคิด
เด็กศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึก จนพบคาตอบที่ต้องการ โดยเด็กเป็นผู้เลือกเอง
ตามความสนใจ เด็กมีประสบการณ์ตรงกับเรื่องที่ศึกษา จะใช้ระยะเวลาอย่างเพียงพอตาม
ความสนใจของเด็ก จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้ประสบกับทั้งความสาเร็จและ
ความล้มเหลว เมื่อได้ค้นพบคาตอบแล้ว เด็กจะนาความรู้ใหม่ที่ได้มานาเสนอตามความ
ต้องการของเด็กเอง และได้นาความรู้ต่อเพื่อน ๆและคนอื่น ๆอันจะแสดงให้เห็นถึง
ความสาเร็จของกระบวนการศึกษาของตน และเกิดความภาคภูมิใจ
หลักการสาคัญของรูปแบบการสอนแบบโครงการ (Project Approach)
1. เด็กศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกลงไปในรายละเอียดด้วยกระบวนการคิด
และแก้ปัญหาของเด็กเอง จนพบคาตอบที่ต้องการ
2. เรื่องที่ศึกษากาหนดโดยเด็กเอง
3. ประเด็นที่ศึกษาเกิดจากข้อสงสัยหรือปัญหาของเด็กเอง
4. เด็กได้มีประสบการณ์ตรงกับเรื่องที่ศึกษาโดยการสังเกตอย่างใกล้ชิดจากแหล่ง
ความรู้เบื้องต้น
5. ระยะเวลาการสอนยาวนานอย่างเพียงพอตามความสนใจของเด็ก
6. เด็กได้ประสบทั้งความล้มเหลวและความสาเร็จในการศึกษาตามกระบวนการ
แก้ปัญหาของเด็ก
7. ความรู้ใหม่ที่ได้จากกระบวนการศึกษาและการแก้ปัญหาของเด็กเป็นสิ่งที่เด็ก
ใช้กาหนดประเด็นศึกษาขึ้นใหม่ หรือใช้ปฏิบัติกิจกรรมที่เด็กต้องการ
8. เด็กได้นาเสนอกระบวนการศึกษาและผลงานต่อคนอื่น
9. ครูไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้ หรือกาหนดกิจกรรมให้เด็กทา แต่เป็นผู้กระตุ้นให้
เด็กใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์อื่น ๆเพื่อจัดระบบความคิดและสนับสนุนให้เด็กใช้
ความรู้ทักษะที่มีอยู่คิดแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
9
ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของไวก็อตสกี้(Vygotsky) (อ้างใน Berk
and Winsler,1995) เด็กจะเกิดการเรียนรู้พัฒนาสติปัญญาและทัศนคติขึ้นเมื่อมีการ
ปฏิสัมพันธ์และทางานร่วมกันกับคนอื่น ๆ เช่น ผู้ใหญ่ ครู เพื่อน บุคคลเหล่านี้จะให้ข้อมูล
สนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์และการทางานร่วมกันโดยการเรียนรู้ของ
เด็กจะเกิดขึ้นใน Zone of Proximal Development หมายถึง สภาวะที่เด็กเผชิญกับปัญหาที่
ท้าทายแต่ไม่สามารถคิดแก้ปัญหาได้โดยลาพัง เมื่อได้รับการช่วยเหลือแนะนาจากผู้ใหญ่หรือ
จากการทางานร่วมกับเพื่อนที่มีประสบการณ์มากกว่า เด็กจะสามารถแก้ปัญหานั้นได้และเกิด
การเรียนรู้ขึ้น การให้การช่วยเหลือแนะนาในการแก้ปัญหาโดยลาพังไม่ได้ เป็นการช่วยอย่าง
พอเหมาะเพื่อให้เด็กแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง วิธีการที่ครูเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กเพื่อให้การ
ช่วยเหลือเด็กเรียกว่า Scaffolding เป็นการแนะนาช่วยเหลือให้เด็กแก้ปัญหาด้วยตนเองโดย
การให้การแนะนา (clue) การช่วยเตือนความจา (Reminders) การกระตุ้นให้คิด (
Encouragement) การแบ่งปัญหาที่สลับซับซ้อนให้ง่ายลง (Breaking the problem down into
step) การให้ตัวอย่าง (Providing and example) การให้การช่วยเหลือ (Scaffolding) มีลักษณะ
5 ประการดังนี้
1.) เป็นกิจกรรมการร่วมกันแก้ปัญหา
2.) เข้าใจปัญหาและมีวัตถุประสงค์ที่ตรงกัน
3.) บรรยากาศที่อบอุ่นและการตอบสนองที่ตรงกับความต้องการ
4.) รักษาสภาวะแห่งการเรียนรู้ของเด็ก
5.) สนับสนุนให้เด็กควบคุมตนเองในการแก้ปัญหา
ครูมีหน้าที่ในการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและให้คาแนะนา
ด้วยการอธิบาย สาธิตและให้เด็กมีโอกาสทางานร่วมกับผู้อื่น โดยเฉพาะกับเพื่อนที่มี
ความสามารถมากกว่า ครูมีหน้าที่กระตุ้นให้เด็กใช้ภาษาหรือวิธีการอื่นๆเช่น การวาด การ
เขียน การทางานศิลปะหลาย ๆรูปแบบ เพื่อเป็นการจัดระบบความคิดของเด็กเอง แล้วให้
โอกาสเด็กแสดงออกตามวิธีการต่าง ๆของเด็กเองเพื่อครูจะได้รู้ว่าเด็กต้องการจะทาอะไร
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์(Piaget) (อ้างอิงในพรรณี ช.
เจนจิต ,2540) เด็กเกิดการเรียนรู้จากกระบวนการใหญ่ภายในตัวเด็ก 2 กระบวนการคือ การ
จัดโครงสร้างทางความคิดภายใน(Adaptation) ซึ่งการปรับตัวประกอบด้วย 2 กระบวนการ
10
คือ การดูดซับ(Assimilation) และการปรับเปลี่ยน (Accommodation) ในการที่เด็กมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งใด ๆ ในเบื้องต้น เด็กจะพยายามทาความเข้าใจประสบการณ์ใหม่ด้วยการ
ใช้ความคิดเก่า หรือประสบการณ์เดิม ด้วยกระบวนการดูดซึมแต่เมื่อปรากฏว่าไม่สามารถทา
ความเข้าใจได้สาเร็จ เด็กจะเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆเสียใหม่ด้วยกระบวนการ
ปรับเปลี่ยน จนสามารถผสมผสานความคิดใหม่นั้นให้กลมกลืนเข้ากันได้กับความคิดเก่า
สภาพการณ์เช่นนี้ก่อให้เกิดความสมดุล ( Equilibration) กระบวนการที่เด็กมีการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงและทาให้เกิดสภาวะที่สมดุลนี้ จะนาไปสู่การพัฒนาทางสติปัญญาจากขั้นหนึ่ง
ไปสู่อีกขั้นหนึ่ง จนถึงขั้นสูงสุด คือขั้นใช้ความสามารถทางสมองในการแก้ปัญหา
(Oparation)
3. ทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพของโรเจอร์ (Rojers,1994) เด็กจะสามารถ
พัฒนาศักยภาพของตนเองขึ้นมาได้องจนสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองเมื่อเด็กรู้จักตนเอง
ยอมรับและเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งจะพัฒนามาจากการที่เด็กคนนั้นได้รับการปฏิบัติจากผู้ที่มี
ความสาคัญต่อเขาอย่างให้เกียรติและเคารพความรู้สึก ความคิดเห็นของเขาภายใต้บรรยากาศ
ที่เป็นอิสระ ครูต้องให้ความไว้วางใจเด็ก เชื่อมั่นในศักยภาพของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้
เลือกวิธีการที่จะเรียนเองให้เกียรติเคารพความรู้สึกและความคิดเห็นของเด็ก
4.ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนของบรูเนอร์ (Bruner ) ( อ้างใน พรรณี ช. เจนจิต
,2540) ครูสามารถช่วยจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความพร้อมที่จะเรียนได้ การจัดการศึกษา
นั้นต้องคานึงถึงทฤษฎีพัฒนาการว่าเป็นตัวเชื่อมระหว่างความรู้ และการสอน กล่าวคือ ทฤษฎี
พัฒนาการจะเป็นตัวกาหนดเนื้อหาความรู้และวิธีการสอน ในการที่จะนาเนื้อหาใดมาสอน
เด็กนั้นควรจะได้พิจารณาดูว่าในขณะนั้นเด็กมีพัฒนาการอยู่ในระดับใดมีความสามารถ
เพียงใด กิจกรรมการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับพัฒนาการและความสามารถของเด็ก
7. กระบวนการพัฒนา BEST PRACTICE
7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Project Approachไปใช้
- นักเรียน ระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลระนอง
- โรงเรียนเครือข่าย 12 โรงเรียน
7.2 ขั้นตอนการพัฒนา
Flow chart การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแบบโครงการ (Project Approach)
11
TOP CHILD:ซุปเปอร์จิ๋ว โรงเรียนอนุบาลระนอง
ศึกษาแนวคิดทฤษฎี
กาหนดรูปแบบ
TOP CHILD
ดาเนินการสร้างความเข้าใจ
ประเมินผล
การ
ดาเนินงาน
ปรับปรุง/
วิธีการ
รายงานผล
เผยแพร่
ดาเนินการซ้า
แนวคิด
หลักการ
ทฤษฎี
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
สติปัญญาไวก็อตกี้
ทฤษฎีพัฒนาการ
สติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีการพัฒนา
บุคลิกภาพโรเจอร์
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอน
บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ตาม
ธรรมชาติสมอง (Brain-
Based Learning : BBL)
-เด็ก
-ผู้ปกครอง
วิเคราะห์พัฒนาการ
ด้านสติปัญญา
12
7.3 การตรวจสอบคุณภาพ
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ Project Approach ให้ได้ผลและ
ประสบความสาเร็จได้ดาเนินการดังนี้
7.3.1 นารูปแบบ TOP CHILD ให้คณะครูผู้สอนระดับปฐมวัยในโรงเรียนแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค ในการนาไปใช้ และร่วมกันปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียน
การสอน
7.3.2 จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจของครูและผู้ปกครอง จากการตรวจสอบ
คุณภาพของ BEST PRACTICE “TOP CHILD” พบว่า
- การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูมีรูปแบบที่ชัดเจนขึ้นสามารถนาไปพัฒนา
เด็กได้ดีในทุกด้าน
- จากการประเมินโดยครูและผู้ปกครองมีความพึงพอใจในระดับมาก เนื่องจากเด็กมี
ความสนใจในกิจกรรมที่ครูจัด สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความมั่นใจ กล้าคิด กล้า
แสดงออกและมีความสุขในการเรียน
7.4 แนวทางการนา BEST PRACTICE ไปใช้ประโยชน์
BEST PRACTICE “TOP CHILD” เป็นนวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนซึ่งเมื่อนาไปใช้ประโยชน์จะเกิดประโยชน์ดังนี้
7.4.1 ครูมีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบการสอนตามโครงสร้าง “TOP CHILD”
7.4.2 นักเรียนมีพัฒนาการในทุกด้านดีขึ้นและมีศักยภาพในการเรียนรู้
7.4.3 ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
สอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก
13
แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ
“TOP CHILD : ซุปเปอร์จิ๋ว”
TOP
CHILD
14
ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BEST PRACTICE
8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ
8.1.1 นักเรียนปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ
สังคม และสติปัญญา
8.1.2 ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนแบบโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.1.3 ผู้ปกครองร้อยละ 90 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมตามโครงการที่
โรงเรียนกาหนด
8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ
8.2.1 นักเรียนปฐมวัยได้รับการพัฒนาด้านสติปัญญาสูงขึ้น
8.2.2 ครูมีความรู้ความเข้าใจสามารถใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ
โครงการ พัฒนาเด็กได้เต็มศักยภาพ
8.2.3 ผู้ปกครองเห็นความสาคัญและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
8.2.4 โรงเรียนได้รับการยอมรับและชื่นชมจากโรงเรียนเครือข่ายและ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BEST PRACTICE
8.3.1 จากการประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินการปฏิบัติงานตาม
รูปแบบ BEST PRACTICE มีดังนี้
- นักเรียนมีความพึงพอใจ ในระดับ มาก
- ครูมีความพึงพอใจ ในระดับ มาก
- ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในระดับ มาก
8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BEST PRACTICE / ประสบการณ์เรียนรู้
จากการนา BEST PRACTICE ไปใช้
8.4.1 ครูต้องมีการจัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์/ สภาพแวดล้อมให้เอื้ออานวยต่อการ
จัดกิจกรรมตามโครงการ
8.4.2 นักเรียนต้องกล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจและมีความมั่นใจในตนเอง
8.4.3 ผู้ปกครองต้องมีความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้และให้ความ
ร่วมมือในการจัดกิจกรรม
15
9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BEST PRACTICE ให้เกิดผลอย่าง
ต่อเนื่อง
9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BEST PRACTICE
ประเมินและตรวจสอบคุณภาพของ BEST PRACTICE โดยจัดตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BEST PRACTICE
ผลการตรวจสอบสรุปได้ว่า ขั้นตอนของ BEST PRACTICE “TOP
CHILD” ซุปเปอร์จิ๋ว มีคุณภาพสามารถนาสู่การปฏิบัติได้เกิดผลดีต่อการจัดการเรียนการสอน
ในระดับดีมาก
10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BEST PRACTICE “TOP CHILD” และเผยแพร่
ขยายผลในวงกว้าง
10.1 ขยายผลให้กับโรงเรียนเครือข่าย ครูผู้สนใจในสถานศึกษาใกล้เคียง
10.2 ขยายผลการจัดกิจกรรมในงานวิชาการระดับโรงเรียน,มหกรรมวิชาการระดับ
จังหวัดและคณะที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน
10.3 เผยแพร่ข้อมูลทางเวปไซต์โรงเรียน

More Related Content

What's hot

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Katekyo Sama
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01kroojaja
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 

What's hot (20)

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 

Similar to Top child (best ศูนย์ปี 57)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557Weena Wongwaiwit
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..Kroo Per Ka Santos
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...ssuser2d058a
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelSircom Smarnbua
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2bbeammaebb
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 

Similar to Top child (best ศูนย์ปี 57) (20)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
 
Best practics
Best practicsBest practics
Best practics
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...
“นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ครูสู่มาตรฐานสากล” โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัด...
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Upeswu 610712 n
Upeswu 610712 nUpeswu 610712 n
Upeswu 610712 n
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Thaismedu
ThaismeduThaismedu
Thaismedu
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ

มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ (20)

วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
 
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
 
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
 
Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563
 
Handfootmouth59
Handfootmouth59Handfootmouth59
Handfootmouth59
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
 
Librariean 2562
Librariean 2562Librariean 2562
Librariean 2562
 
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลากประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
 
บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)
 
Ab creative thinking
Ab creative thinkingAb creative thinking
Ab creative thinking
 
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัยประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
 

Top child (best ศูนย์ปี 57)

  • 1. วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practice TOP CHILD “ซุปเปอร์จิ๋ว” การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practice TOP CHILD “ซุปเปอร์จิ๋ว” การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. 3 1. ชื่อ BEST PRACTICE “TOP CHILD ซุปเปอร์จิ๋ว” 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BEST PRACTICE 2.1 ผู้พัฒนา BEST PRACTICE ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนอนุบาลระนอง 2.2 โรงเรียนอนุบาลระนองศูนย์ปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จังหวัดระนองมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัด สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระนอง จานวน 91 โรงเรียน เป็นโรงเรียนศูนย์ปฐมวัยประจาจังหวัด 1 โรงเรียน คือโรงเรียนอนุบาลระนอง ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบอาเภอละ 1 โรงเรียน จานวน 5 โรงและศูนย์ปฐมวัยต้นแบบเครือข่ายอีก 6 โรงเรียน รวมเป็นโรงเรียนเครือข่ายของ ศูนย์ปฐมวัยประจาจังหวัด 11 โรงเรียน ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลระนองจึงต้องจัดการศึกษา ระดับปฐมวัย พัฒนางานวิชาการให้เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และเพื่อสร้างความ ร่วมมือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการ ศึกษาปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลระนองเปิดทาการสอนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 ระดับ คือ ระดับ ปฐมวัย และระดับประถมศึกษา มีห้องเรียน 32 ห้องเรียน จานวนนักเรียนทั้งสิ้น 1,204 คน ข้าราชการครู 50 คน สาหรับระดับปฐมวัยมีจานวน 8 ห้องเรียน เป็นห้องเรียนพิเศษ English Program ชั้นละ 1 ห้องเรียน รวม 2 เรียน จานวนนักเรียนทั้งสิ้น 191 คน ครูผู้สอน ระดับปฐมวัยจานวน 9 คน ครูต่างชาติ 3 คน พี่เลี้ยงเด็ก จานวน 4 คน ปัจจุบัน นางวรรณี พุ่มสุวรรณ เป็นผู้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ชนะเลิศเหรียญทองด้านวิชาการ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน บริหารจัดการโดยใช้หลักการ กระจายอานาจและหน้าที่รับผิดชอบในการทางานให้กับบุคลากรในโรงเรียนและชุมชน นางรัมภา สรรพกุล วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูคุรุสดุดี เป็นหัวหน้าศูนย์ปฐมวัย ต้นแบบโรงเรียนอนุบาลระนอง
  • 4. 4 ความภาคภูมิใจ - โรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับก่อนประถมศึกษา - ครูคุรุสดุดี นางรัมภา สรรพกุล - ครูปฐมวัยดีเด่น - นางประทิน พิทักษ์จักรพิภพ - นางรัมภา สรรพกุล - นางสาวสุวรรณี คงทองจีน - นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชนะเลิศ รองอันดับ 1 เหรียญทอง ระดับชาติ การแข่งขันการเล่านิทานประกอบท่าทาง - เด็กชายปริณ เขียวเปลื้อง 3. เป้ าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BEST PRACTICE พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนและพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และ มาตรา 24 ได้กล่าวว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ แก้ปัญหา ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการ เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ ประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ ปกครอง,ชุมชนเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ จากการศึกษาวิเคราะห์ นักเรียนระดับปฐมวัย ในด้านคุณภาพ ผลการประเมินพบว่า นักเรียน มีการพัฒนาด้านร่างกายและด้านอื่น ๆเพิ่มขึ้น แต่การพัฒนาด้านสติปัญญายังคงอยู่ ในเกณฑ์ต่าเพราะครูยังขาดหลักในการจัดประสบการณ์ที่เป็นกระบวนการการเรียนรู้ที่
  • 5. 5 สอดคล้องกับหน้าที่และศักยภาพของสมอง เป็นผลทาให้เด็กไม่สามารถคิดวิเคราะห์ และ สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงรวบรวมวิธีการแก้ปัญหาเพื่อให้ประสบผลสาเร็จ โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ โดยเฉพาะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ(Project Approach)มาพัฒนาบูรณาการจนได้รูปแบบ “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว” วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนสามารถพัฒนากระบวนการคิด แก้ไขปัญหาได้อย่างเป็น กระบวนการ 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นและเห็นคุณค่าในตนเอง 3. เพื่อขยายผลรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงการ(Project Approach)ให้กับโรงเรียนเครือข่ายและผู้สนใจ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BEST PRACTICE ปีการศึกษา 2552 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ (Project Approach)โดยนารูปแบบ “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว” มาใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน วัดผลประเมินผลด้านสติปัญญา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ (Project Approach)มาใช้บูรณาการการสอนเป็นหน่วยการเรียนรู้ ตามสาระการ เรียนรู้ในหลักสูตรปฐมวัย และศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม นามาบูรณาการจนได้เป็นรูปแบบ “TOP CHILD ซุปเปอร์จิ๋ว” นารูปแบบการเรียนการสอน เผยแพร่ให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่ายได้นาไปใช้ ปีการศึกษา 2553 พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) มาใช้บูรณาการการสอนให้เหมาะกับแต่ละระดับชั้นของผู้เรียน และ ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมมากขึ้น ปีการศึกษา 2554 กาหนดวิธีการนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ (Project Approach) โดยแต่ละชั้นต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) ปีละ 2 เรื่อง และนาไปบูรณาการกับการเรียนการสอนในห้องเรียน English Pragram
  • 6. 6 ปีการศึกษา 2555 – 2557 เผยแพร่รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ (Project Approach) ให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่ายได้นาไปใช้ 5. ความเชื่อมโยง / ความสัมพันธ์ระหว่าง BEST PRACTICE กับเป้ าหมาย/ จุดเน้นของ สพท./สพฐ./สถานศึกษา สอดคล้องนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ. 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ สอดคล้องยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้ าประสงค์ข้อ. 2 ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ข้อ. 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ(กิจกรรมสาคัญ คือพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เน้น การอ่าน เขียน คิดคานวณ คิดวิเคราะห์) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง พันธกิจ ข้อ. 2 พัฒนากระบวนการจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้น พื้นฐานให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนาความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและยกระดับคุณภาพสู่ มาตรฐานการศึกษา
  • 7. 7 โครงสร้าง “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว” TOP Thinking Obtion Present เด็กคิด เด็กเลือก เด็กนาเสนอ CHILD Construct Happiness Integration Learning Development สร้างองค์ความรู้ มีความสุข การบูรณาการ การเรียนรู้ พัฒนาการ/การเจริญเติบโต “TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว”หมายถึงกระบวนการเรียนรู้โดยยึดเด็กเป็นสาคัญด้วย กระบวนการบูรณาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เด็กมีพัฒนาการตามศักยภาพ
  • 8. 8 6. แนวคิด / หลักการ / ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BEST PRACTICE จากการคิดค้นรูปแบบการเรียนการสอน“TOP CHILD: ซุปเปอร์จิ๋ว”ได้ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ ดังนี้ แนวคิด เด็กศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึก จนพบคาตอบที่ต้องการ โดยเด็กเป็นผู้เลือกเอง ตามความสนใจ เด็กมีประสบการณ์ตรงกับเรื่องที่ศึกษา จะใช้ระยะเวลาอย่างเพียงพอตาม ความสนใจของเด็ก จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้ประสบกับทั้งความสาเร็จและ ความล้มเหลว เมื่อได้ค้นพบคาตอบแล้ว เด็กจะนาความรู้ใหม่ที่ได้มานาเสนอตามความ ต้องการของเด็กเอง และได้นาความรู้ต่อเพื่อน ๆและคนอื่น ๆอันจะแสดงให้เห็นถึง ความสาเร็จของกระบวนการศึกษาของตน และเกิดความภาคภูมิใจ หลักการสาคัญของรูปแบบการสอนแบบโครงการ (Project Approach) 1. เด็กศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกลงไปในรายละเอียดด้วยกระบวนการคิด และแก้ปัญหาของเด็กเอง จนพบคาตอบที่ต้องการ 2. เรื่องที่ศึกษากาหนดโดยเด็กเอง 3. ประเด็นที่ศึกษาเกิดจากข้อสงสัยหรือปัญหาของเด็กเอง 4. เด็กได้มีประสบการณ์ตรงกับเรื่องที่ศึกษาโดยการสังเกตอย่างใกล้ชิดจากแหล่ง ความรู้เบื้องต้น 5. ระยะเวลาการสอนยาวนานอย่างเพียงพอตามความสนใจของเด็ก 6. เด็กได้ประสบทั้งความล้มเหลวและความสาเร็จในการศึกษาตามกระบวนการ แก้ปัญหาของเด็ก 7. ความรู้ใหม่ที่ได้จากกระบวนการศึกษาและการแก้ปัญหาของเด็กเป็นสิ่งที่เด็ก ใช้กาหนดประเด็นศึกษาขึ้นใหม่ หรือใช้ปฏิบัติกิจกรรมที่เด็กต้องการ 8. เด็กได้นาเสนอกระบวนการศึกษาและผลงานต่อคนอื่น 9. ครูไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้ หรือกาหนดกิจกรรมให้เด็กทา แต่เป็นผู้กระตุ้นให้ เด็กใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์อื่น ๆเพื่อจัดระบบความคิดและสนับสนุนให้เด็กใช้ ความรู้ทักษะที่มีอยู่คิดแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
  • 9. 9 ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา 1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของไวก็อตสกี้(Vygotsky) (อ้างใน Berk and Winsler,1995) เด็กจะเกิดการเรียนรู้พัฒนาสติปัญญาและทัศนคติขึ้นเมื่อมีการ ปฏิสัมพันธ์และทางานร่วมกันกับคนอื่น ๆ เช่น ผู้ใหญ่ ครู เพื่อน บุคคลเหล่านี้จะให้ข้อมูล สนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์และการทางานร่วมกันโดยการเรียนรู้ของ เด็กจะเกิดขึ้นใน Zone of Proximal Development หมายถึง สภาวะที่เด็กเผชิญกับปัญหาที่ ท้าทายแต่ไม่สามารถคิดแก้ปัญหาได้โดยลาพัง เมื่อได้รับการช่วยเหลือแนะนาจากผู้ใหญ่หรือ จากการทางานร่วมกับเพื่อนที่มีประสบการณ์มากกว่า เด็กจะสามารถแก้ปัญหานั้นได้และเกิด การเรียนรู้ขึ้น การให้การช่วยเหลือแนะนาในการแก้ปัญหาโดยลาพังไม่ได้ เป็นการช่วยอย่าง พอเหมาะเพื่อให้เด็กแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง วิธีการที่ครูเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กเพื่อให้การ ช่วยเหลือเด็กเรียกว่า Scaffolding เป็นการแนะนาช่วยเหลือให้เด็กแก้ปัญหาด้วยตนเองโดย การให้การแนะนา (clue) การช่วยเตือนความจา (Reminders) การกระตุ้นให้คิด ( Encouragement) การแบ่งปัญหาที่สลับซับซ้อนให้ง่ายลง (Breaking the problem down into step) การให้ตัวอย่าง (Providing and example) การให้การช่วยเหลือ (Scaffolding) มีลักษณะ 5 ประการดังนี้ 1.) เป็นกิจกรรมการร่วมกันแก้ปัญหา 2.) เข้าใจปัญหาและมีวัตถุประสงค์ที่ตรงกัน 3.) บรรยากาศที่อบอุ่นและการตอบสนองที่ตรงกับความต้องการ 4.) รักษาสภาวะแห่งการเรียนรู้ของเด็ก 5.) สนับสนุนให้เด็กควบคุมตนเองในการแก้ปัญหา ครูมีหน้าที่ในการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและให้คาแนะนา ด้วยการอธิบาย สาธิตและให้เด็กมีโอกาสทางานร่วมกับผู้อื่น โดยเฉพาะกับเพื่อนที่มี ความสามารถมากกว่า ครูมีหน้าที่กระตุ้นให้เด็กใช้ภาษาหรือวิธีการอื่นๆเช่น การวาด การ เขียน การทางานศิลปะหลาย ๆรูปแบบ เพื่อเป็นการจัดระบบความคิดของเด็กเอง แล้วให้ โอกาสเด็กแสดงออกตามวิธีการต่าง ๆของเด็กเองเพื่อครูจะได้รู้ว่าเด็กต้องการจะทาอะไร 2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์(Piaget) (อ้างอิงในพรรณี ช. เจนจิต ,2540) เด็กเกิดการเรียนรู้จากกระบวนการใหญ่ภายในตัวเด็ก 2 กระบวนการคือ การ จัดโครงสร้างทางความคิดภายใน(Adaptation) ซึ่งการปรับตัวประกอบด้วย 2 กระบวนการ
  • 10. 10 คือ การดูดซับ(Assimilation) และการปรับเปลี่ยน (Accommodation) ในการที่เด็กมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งใด ๆ ในเบื้องต้น เด็กจะพยายามทาความเข้าใจประสบการณ์ใหม่ด้วยการ ใช้ความคิดเก่า หรือประสบการณ์เดิม ด้วยกระบวนการดูดซึมแต่เมื่อปรากฏว่าไม่สามารถทา ความเข้าใจได้สาเร็จ เด็กจะเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆเสียใหม่ด้วยกระบวนการ ปรับเปลี่ยน จนสามารถผสมผสานความคิดใหม่นั้นให้กลมกลืนเข้ากันได้กับความคิดเก่า สภาพการณ์เช่นนี้ก่อให้เกิดความสมดุล ( Equilibration) กระบวนการที่เด็กมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและทาให้เกิดสภาวะที่สมดุลนี้ จะนาไปสู่การพัฒนาทางสติปัญญาจากขั้นหนึ่ง ไปสู่อีกขั้นหนึ่ง จนถึงขั้นสูงสุด คือขั้นใช้ความสามารถทางสมองในการแก้ปัญหา (Oparation) 3. ทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพของโรเจอร์ (Rojers,1994) เด็กจะสามารถ พัฒนาศักยภาพของตนเองขึ้นมาได้องจนสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองเมื่อเด็กรู้จักตนเอง ยอมรับและเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งจะพัฒนามาจากการที่เด็กคนนั้นได้รับการปฏิบัติจากผู้ที่มี ความสาคัญต่อเขาอย่างให้เกียรติและเคารพความรู้สึก ความคิดเห็นของเขาภายใต้บรรยากาศ ที่เป็นอิสระ ครูต้องให้ความไว้วางใจเด็ก เชื่อมั่นในศักยภาพของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้ เลือกวิธีการที่จะเรียนเองให้เกียรติเคารพความรู้สึกและความคิดเห็นของเด็ก 4.ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนของบรูเนอร์ (Bruner ) ( อ้างใน พรรณี ช. เจนจิต ,2540) ครูสามารถช่วยจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความพร้อมที่จะเรียนได้ การจัดการศึกษา นั้นต้องคานึงถึงทฤษฎีพัฒนาการว่าเป็นตัวเชื่อมระหว่างความรู้ และการสอน กล่าวคือ ทฤษฎี พัฒนาการจะเป็นตัวกาหนดเนื้อหาความรู้และวิธีการสอน ในการที่จะนาเนื้อหาใดมาสอน เด็กนั้นควรจะได้พิจารณาดูว่าในขณะนั้นเด็กมีพัฒนาการอยู่ในระดับใดมีความสามารถ เพียงใด กิจกรรมการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับพัฒนาการและความสามารถของเด็ก 7. กระบวนการพัฒนา BEST PRACTICE 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Project Approachไปใช้ - นักเรียน ระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลระนอง - โรงเรียนเครือข่าย 12 โรงเรียน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา Flow chart การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแบบโครงการ (Project Approach)
  • 11. 11 TOP CHILD:ซุปเปอร์จิ๋ว โรงเรียนอนุบาลระนอง ศึกษาแนวคิดทฤษฎี กาหนดรูปแบบ TOP CHILD ดาเนินการสร้างความเข้าใจ ประเมินผล การ ดาเนินงาน ปรับปรุง/ วิธีการ รายงานผล เผยแพร่ ดาเนินการซ้า แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ทฤษฎีพัฒนาการทาง สติปัญญาไวก็อตกี้ ทฤษฎีพัฒนาการ สติปัญญาเพียเจต์ ทฤษฎีการพัฒนา บุคลิกภาพโรเจอร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอน บรูเนอร์ ทฤษฎีการเรียนรู้ตาม ธรรมชาติสมอง (Brain- Based Learning : BBL) -เด็ก -ผู้ปกครอง วิเคราะห์พัฒนาการ ด้านสติปัญญา
  • 12. 12 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ Project Approach ให้ได้ผลและ ประสบความสาเร็จได้ดาเนินการดังนี้ 7.3.1 นารูปแบบ TOP CHILD ให้คณะครูผู้สอนระดับปฐมวัยในโรงเรียนแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค ในการนาไปใช้ และร่วมกันปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอน 7.3.2 จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจของครูและผู้ปกครอง จากการตรวจสอบ คุณภาพของ BEST PRACTICE “TOP CHILD” พบว่า - การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูมีรูปแบบที่ชัดเจนขึ้นสามารถนาไปพัฒนา เด็กได้ดีในทุกด้าน - จากการประเมินโดยครูและผู้ปกครองมีความพึงพอใจในระดับมาก เนื่องจากเด็กมี ความสนใจในกิจกรรมที่ครูจัด สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความมั่นใจ กล้าคิด กล้า แสดงออกและมีความสุขในการเรียน 7.4 แนวทางการนา BEST PRACTICE ไปใช้ประโยชน์ BEST PRACTICE “TOP CHILD” เป็นนวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนซึ่งเมื่อนาไปใช้ประโยชน์จะเกิดประโยชน์ดังนี้ 7.4.1 ครูมีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบการสอนตามโครงสร้าง “TOP CHILD” 7.4.2 นักเรียนมีพัฒนาการในทุกด้านดีขึ้นและมีศักยภาพในการเรียนรู้ 7.4.3 ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ สอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก
  • 14. 14 ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BEST PRACTICE 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 8.1.1 นักเรียนปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา 8.1.2 ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนแบบโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.1.3 ผู้ปกครองร้อยละ 90 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมตามโครงการที่ โรงเรียนกาหนด 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 8.2.1 นักเรียนปฐมวัยได้รับการพัฒนาด้านสติปัญญาสูงขึ้น 8.2.2 ครูมีความรู้ความเข้าใจสามารถใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ โครงการ พัฒนาเด็กได้เต็มศักยภาพ 8.2.3 ผู้ปกครองเห็นความสาคัญและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 8.2.4 โรงเรียนได้รับการยอมรับและชื่นชมจากโรงเรียนเครือข่ายและ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BEST PRACTICE 8.3.1 จากการประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินการปฏิบัติงานตาม รูปแบบ BEST PRACTICE มีดังนี้ - นักเรียนมีความพึงพอใจ ในระดับ มาก - ครูมีความพึงพอใจ ในระดับ มาก - ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในระดับ มาก 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BEST PRACTICE / ประสบการณ์เรียนรู้ จากการนา BEST PRACTICE ไปใช้ 8.4.1 ครูต้องมีการจัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์/ สภาพแวดล้อมให้เอื้ออานวยต่อการ จัดกิจกรรมตามโครงการ 8.4.2 นักเรียนต้องกล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจและมีความมั่นใจในตนเอง 8.4.3 ผู้ปกครองต้องมีความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้และให้ความ ร่วมมือในการจัดกิจกรรม
  • 15. 15 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BEST PRACTICE ให้เกิดผลอย่าง ต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BEST PRACTICE ประเมินและตรวจสอบคุณภาพของ BEST PRACTICE โดยจัดตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BEST PRACTICE ผลการตรวจสอบสรุปได้ว่า ขั้นตอนของ BEST PRACTICE “TOP CHILD” ซุปเปอร์จิ๋ว มีคุณภาพสามารถนาสู่การปฏิบัติได้เกิดผลดีต่อการจัดการเรียนการสอน ในระดับดีมาก 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BEST PRACTICE “TOP CHILD” และเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง 10.1 ขยายผลให้กับโรงเรียนเครือข่าย ครูผู้สนใจในสถานศึกษาใกล้เคียง 10.2 ขยายผลการจัดกิจกรรมในงานวิชาการระดับโรงเรียน,มหกรรมวิชาการระดับ จังหวัดและคณะที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน 10.3 เผยแพร่ข้อมูลทางเวปไซต์โรงเรียน