SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
หลักสูตร 2 ICTC ขั้นปฏิบัติการ 1 สาหรับครู
สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจัดเตรียม
และออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ
1
การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือ
ในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ทักษะการคิดขั้นสูง ได้แก่ การคิดวิเคราะห์
คิดแก้ปัญหา คิดอย่างมีวิจารณญาณ
คิดสร้างสรรค์ 2
05
โลกแห่งการศึกษาได้เปลี่ยนแปลงไป
ค่อนข้างมากในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา
การศึกษาที่ยอมรับกันว่าเป็นการสร้าง
ความรู้ความสามารถ และพัฒนาศักยภาพ
ของคน ได้แก่ การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้
ความคิดทั้งในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ความรู้ในทุกระดับในลักษณะที่
เรียกว่า Constructionism
3
การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
• หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
• การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบสถานการณ์ปัญหา
• การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
• กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
4
การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
5
1
“การสอน หรือการถ่ายทอดโดยครูผู้สอน
หรือสื่อการสอน”
6
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
“การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให้
ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน”
7
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์
การสร้างความรู้การถ่ายทอด
หรือการสอน
8
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
ครู
สื่อการสอน
ผู้เรียน
ผู้เรียน
ผู้เรียน
แหล่งการเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
ถ่ายทอดความรู้
เนื้อหา
ถ่ายทอดความรู้
เนื้อหา
สร้างความรู้
ผ่านประสบการณ์โดยอาศัย
9
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
นวัตกรรมที่สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่
วิธีการ
(Method)
สื่อ
(Media)
การเรียนแบบค้นพบ (Discovery)
การเรียนแบบสืบเสาะ (Inquiry)
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem solving)
การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperation)
การเรียนแบบคอนสตรัคติวิสต์ (การสร้าง
ความรู้)
สถานการณ์จาลอง (Simulation)
การสรางโครงงาน (Project)
การเรียนบนเครือข่าย
มัลติมีเดีย
ชุดสร้างความรู้
ฯลฯ
10
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์
จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์สรุปเป็นสาระสาคัญ ได้ดังนี้
ความรู้ของบุคคล
ใด
ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง
ความรู้
ครูมีหน้าที่จัด
สิ่งแวดล้อม
11
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
Cognitive Constructivism
• แนวคิดของ Piaget
• เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระทา
Social Constructivism
• มีรากฐานมาจาก Vygotsky
• ปฎิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา
• ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาอาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับ
ช่วงของการพัฒนาที่รียกว่า Zone of Proximal Development
• ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
กับผู้อื่น
การสร้างความรู้
12
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติวิสต์
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคอนสตรัคติสิซึม
1. สถานการณ์ที่เป็นปัญหา(Problem Base)
2. แหล่งความรู้ (Resource)
3. ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)
4. ผู้ฝึกสอน (Coaching)
5. การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration)
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบสื่อการเรียนรู้
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
13
14
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Cognitive Constructivism
• แนวคิดของ Piaget
• เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระทา
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning)
15
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
สถานการณ์ปัญหา
ผู้เรียน
ผู้เรียนเสียความสมดุลทางปัญญา
ผู้เรียนปรับความสมดุลทางปัญญา
การเรียนรู้
ข้อมูลใหม่
ค้นหาคาตอบ
วิธีการดูดซึม
(Assimilation)
การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
ทางปัญญา(Accomodation)
ค้นหาคาตอบ
16
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
เลือกหัวเรื่องเนื้อหา
การเขียน Key Concept เรื่องที่สอน
สร้างเรื่องราวสถานการณ์ที่เป็นปัญหา/ ผูกปมปัญหา
กาหนดภารกิจการเรียนรู้/การคิดขั้นสูง
การสร้างสถานการณ์ปัญหา
17
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
หลักการสาคัญในการออกแบบสถานการณ์ปัญหา
1. วิเคราะห์ Key Concept ของเนื้อหาที่จะใช้สอนเลือกมา 1 หน่วยหรือ 1 เรื่อง
ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ประยุ์กต์
วิเคราะห์ Key Concept ร่วมของ ซอฟต์แวร์ว่าคือ?
ซอฟต์แวร์
18
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
2. นา Key Concept ดังกล่าวมาสร้างเป็นสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
คล่องแคล่วกาลังใช้คอมพิวเตอร์ทาการบ้าน และต้องการปริ้นงาน
เพื่อไปส่งคุณครู จึงได้นาเครื่องปริ้นที่พึ่งซื้อมาใหม่มาต่อเข้ากับ
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ก็ไม่สามารถใช้งานไม่ได้ คล่องแคล่วจึงเดินเข้า
ไปหาพี่ชาย เพื่อขอให้พี่ชายช่วยแก้ไขปัญหาให้เครื่องปริ้นสามารถ
ทางานได้ ถ้านักเรียนเป็นพี่ชายของคล่องแคล่ว นักเรียนจะช่วย
คล่องแคล่วอย่างไรในการแก้ปัญหาเพื่อให้คล่องแคล่วสามารถปริ้น
การบ้านไปส่งคุณครูได้
19
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
3. ผูกปมปัญหา ให้ผู้เรียนต้องลงไปแก้ปัญหามุ่งเน้นปัญหาที่ต้องให้ผู้เรียนวิเคราะห์
1. ทาการวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดจากเครื่อง
ปริ๊นใช้งานไม่ได้มาจากสาเหตุใดพร้อมให้
เหตุผล
2. อธิบายแนวทางการแก้ปัญหาข้างต้น
พร้อมอธิบายเหตุผล
3. ให้นักเรียนยกตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับ
สถานการณ์ปัญหาข้างต้น พร้อมอธิบาย
เหตุผล
ภารกิจการเรียนรู้
20
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
ตัวอย่างการสร้างสถานการณ์ปัญหา
21
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
สร้างสถานการณ์ปัญหา/ โจทย์ปัญหา/ประเด็นปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนวิเคราะห์
สถานการณ์ปัญหา/เรื่องที่สอนที่ 1 เรื่อง หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ประเด็นสาคัญหลักของเนื้อหา เรื่อง หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
•หน่วยรับข้อมูล คือ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจากคน ผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ โดยจะ
แปลงข้อมูลหรือคาสั่งนั้นให้อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ นามาจัดเก็บที่หน่วยความจา
หลัก และใช้ประมวลผลได้
ขั้นที่ 2 นาประเด็นสาคัญหลักดังกล่าวมาสร้างเป็นสถานการณ์ปัญหา
•แสงดาวมาช่วยทอฝันพี่สาวของเธอกรอกข้อมูลในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกสถิติและข้อมูล
พื้นฐานเกี่ยวกับประชากรอยู่ที่สานักงานสถิติแห่งชาติผ่านทางแป้นพิมพ์ แต่เมื่อจะพิมพ์ข้อมูลลงไปกลับ
ไม่ปรากฏตัวอักษรใดๆ บนหน้าจอ แสงดาวสงสัยว่าทาไมถึง ไม่สามารถพิมพ์ข้อความหรือตัวอักษรลงไป
ในคอมพิวเตอร์ จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวทาให้แสงดาวไม่สามารถกรอกข้อมูลลงในฐานข้อมูลได้ได้
นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใด ถ้านักเรียนเป็นแสงดาวจะแก้ปัญหาเช่นไรจึงสามารถพิมพ์งานได้ตามปกติ
และอุปกรณ์เหล่านั้นมีหลัก ในการทางานอย่างไร
22
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา Problem-based learning
การให้ภารกิจการเรียนรู้ / การให้ใบงานที่สอดคล้องกับโจทย์หรือสถานการณ์ปัญหาข้างต้น
/เพิ่ม key word ด้านการคิดขั้นสูงในใบงานให้ผู้เรียน
ผูกปมปัญหา ให้ผู้เรียนต้องลงไปแก้ปัญหามุ่งเน้นปัญหาที่ต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดในระดับสูง
(Higher -order thinking)
1. จากสถานการณ์ให้นักเรียนวิเคราะห์สิ่งที่พบในสถานการณ์ปัญหา ว่าเป็นหน่วยใด
องส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ และระบุเหตุผลว่าทาไมจึงเป็นเช่นนั้น
ภารกิจการเรียนรู้
2. จากสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้น ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าลักษณะดังกล่าวเกิดจาก
สาเหตุใด พร้อมทั้งจาแนกแยกแยะสิ่งที่พบในสถานการณ์ และระบุเกณฑ์ที่ใช้ในการ
จาแนกแยกแยะ
3. จากภารกิจให้นักเรียนระบุความสัมพันธ์เชิงเหตุ พร้อมจัดหมวดหมู่โดยเขียนเป็น
Concept Map (แผงผังความคิด) อย่างละเอียดพร้อมทั้งอธิบาย
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
23
24
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
•Social Constructivism
• มีรากฐานมาจาก Vygotsky
• ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิ
ปัญญาอาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับ
ช่วงของการพัฒนาที่เรียกว่า
Zone of Proximal Development
Scaffolding
25
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
❖ เป็นสิ่งที่ช่วยทาให้ผู้เรียนสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
❖ แยกแยะความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอดที่สาคัญ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
❖ การสร้างโครงสร้างที่จะทาโดยแยกไปสู่การจัดหมวดหมู่ของความคิด
รวบยอด เช่น
• กลไกการจัดลาดับความสัมพันธ์ โดยใช้ภาพกราฟิกแสดงความคิดเห็น
• การแสดงเป็นเค้าโครงของลักษณะที่แยกเป็นส่วยย่อย
• สารสนเทศหรือการบอกใบ้โดยผู้เชี่ยวชาญ
การออกแบบ Conceptual Scaffolding
26
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
ตัวอย่าง Concept map
27
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
ตัวอย่าง Concept map
28
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
ตัวอย่าง Concept map
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
29
30
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
การออกแบบ Strategic Scaffolding
❖ แนะนาเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานการณ์ที่เป็นปัญหา เช่น ค้นหา Key
word ที่เกี่ยวข้อง
❖ วิเคราะห์ประเด็นหลักหรือ Key word ที่สาคัญของปัญหานั้นๆ
❖ วิเคราะห์แนวทางให้ได้ซึ่งแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการแก้ปัญหา
❖ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง Key word ของปัญหากับ Key word
❖ ในแหล่งข้อมูล ที่จะนาไปใช้ในการแก้ปัญหา
❖ ต้องเป็นการแนะนา หรือบอกใบ้ แนวทางการแก้ปัญหา และกระตุ้นให้เกิด
การคิดในระดับสูง (Higher-order thinking) ไม่ใช่เป็นการบอกคาตอบ
31
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
❖ วิเคราะห์หา Key Concept ของปัญหาว่าคืออะไร
❖ พิจารณาหา Key Word ของปัญหาแล้วนาไปเชื่อมโยงกับ
Key Word ในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ปัญหา
❖ จากสถานการณ์ ต้องการหาวิธีการแก้ไขปัญหาสุขภาพของนายสมชาย
ที่กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง เหนื่อยง่าย ร่างกายผ่ายผอม และที่สาคัญ
ไม่ชอบกินเนื้อสัตว์ จากสภาพดังกล่าวท่านต้องพิจาณาว่าสาเหตุที่น่าจะ
เป็นไปได้น่าจะมาจากอะไร
การออกแบบ Strategic Scaffolding
32
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
Strategic Scaffolding
วิเคราะห์หา ประเด็น
ของปัญหาว่าคืออะไร
พิจารณาหา คาสาคัญ ของปัญหาแล้ว
นาไปเชื่อมโยงกับคาสัญในแหล่งข้อมูลที่
จะใช้แก้ปัญหา
จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาสิว่า
ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นมาจากสาเหตุสภาพ
สังคมที่เปลี่ยนไป พิจารณาสาเหตุแล้วหา
แนวทางแก้ไขที่เหมาะสม
33
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
ตัวอย่างฐานการช่วยเหลือ
34
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
ตัวอย่างฐานการช่วยเหลือ
35
การปฏิบัติการสร้างองค์ประกอบแหล่งการเรียนรู้
ตัวอย่างฐานการช่วยเหลือ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
36
37
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
อธิบายวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
ทราบ
แบ่งกลุ่มผู้เรียนในการทากิจกรรมกลุ่ม
ละ 3 คน
ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยเชื่อมโยงความรู้
เดิมกับความรู้ใหม่สิ่งที่จะเรียน
ผู้เรียนลงมือเรียนรู้จากนวัตกรรมที่ส่งเสริมการคิด
ศึกษาสถานการณ์
ปัญหาและภารกิจการ
เรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
ฐานความ
ช่วยเหลือ
-ด้านความคิด
รวบยอด
ปรึกษาเพื่อน
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
สรุปเป็นแนวทางแก้ปัญหา
ผู้เชี่ยวชาญสะท้อนผลและ
เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหา
แสวงหา
แนวทาง
แก้ปัญหา
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้
THANK YOU
38

More Related Content

What's hot

ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัลไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัลThiti Theerathean
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผล
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผลนวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผล
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผลThiti Theerathean
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนเครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนThiti Theerathean
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n Ptato Ok
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 

What's hot (20)

ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัลไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
ไมโครเลิร์นนิ่งกับการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผล
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผลนวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผล
นวัตกรรมการศึกษาและขนาดของผล
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนเครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เครื่องมือวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
 
E3
E3E3
E3
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 

Similar to 3.2.5

ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Perm Ton
 
.ใบงานที่2
.ใบงานที่2.ใบงานที่2
.ใบงานที่2Yokyok' Nnp
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2natnardtaya
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)Noot Ting Tong
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4Winwin Nim
 
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3Pop Nattakarn
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!Amp'Amp Kankamols
 

Similar to 3.2.5 (20)

K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
.ใบงานที่2
.ใบงานที่2.ใบงานที่2
.ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
K2
K2K2
K2
 
2
22
2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Work
WorkWork
Work
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

More from Naruepon Seenoilkhaw

3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือNaruepon Seenoilkhaw
 
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...Naruepon Seenoilkhaw
 
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...Naruepon Seenoilkhaw
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์Naruepon Seenoilkhaw
 
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงานNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNaruepon Seenoilkhaw
 
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้องNaruepon Seenoilkhaw
 
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...Naruepon Seenoilkhaw
 
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์Naruepon Seenoilkhaw
 
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัยNaruepon Seenoilkhaw
 

More from Naruepon Seenoilkhaw (17)

5.2.1 ผู้บริหาร
5.2.1 ผู้บริหาร5.2.1 ผู้บริหาร
5.2.1 ผู้บริหาร
 
3.2.2 ผู้บริหาร
3.2.2 ผู้บริหาร3.2.2 ผู้บริหาร
3.2.2 ผู้บริหาร
 
3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร
 
3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
 
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
 
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
 
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
 
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
 
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
 
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
 
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
 
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
 
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
 
1.3.8 : Socialmedia
1.3.8 : Socialmedia1.3.8 : Socialmedia
1.3.8 : Socialmedia
 

3.2.5