SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
1
2
1. ความหมายของสื่อออนไลน์
1.1. สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัล
ที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม
(Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันใน
เครือข่ายทางสังคม (Social Network)
ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ
ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
3
2. ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์
2.1. Weblogs หรือว่า Blogs
สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่
ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว
โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร
สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็น
เพิ่มเติมได้
4
2.2. Social Networking
เป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ
ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่ม
สังคม (Social Community) เพื่อร่วมกัน
แลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูล
5
2.3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่
เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว”
เป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่
บุคคลทั่วไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความ
สั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า
“Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของ
ตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ
แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์
6
2.4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอ
ออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
เนื้อหาที่นาเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจากัด
โดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทาให้
ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่างต้องการ
7
2.5. Porto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการ
ฝากรูปภาพ
ผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด
รูปภาพเพื่อนามาใช้งานได้นอกเหนือจาก
ผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยัง
สามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเอง
นาเข้าไปฝากได้อีก
8
2.6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็น
แหล่งข้อมูลหรือความรู้
ผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้
อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google
Earth,diggZy Favorites Online
9
2.7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป
จัดเป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ต
ในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือ
องค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์
สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กร
ได้มีช่องทางในการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์
10
2.8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคา
สองคาคือ Crowd และ Outsourcing เป็น
หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่าย
สังคมออนไลน์
จัดทาในรูปของเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลัก
เพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้ง
ทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการสื่อสาร โดย
อาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทาง
สังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็น
หรือให้ข้อเสนอแนะ
11
2.9. Podcasting หรือ Podcast
การบันทึกภาพและเสียงแล้วนามาไว้ในเว็บ
เพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก
(The public in general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพื่อ
นาไปใช้งาน
12
2.10. Discuss / Review/ Opinion
เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถ
แสดงความคิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับ
สินค้าหรือบริการ
13
3. อุปกรณ์เครื่องมือทางสื่อสังคมออนไลน์
3.1. คอมพิวเตอร์
เล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผล
และเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูง
อย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ
14
3.3. แท็บเล็ต (Tablet)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัส
ขนาดใหญ่กว่าโทรศัพท์มือถือ
3.4. เซิร์ฟเวอร์ (Server)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย
ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและ
ทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ
15
3.5. ไคลเอนต์ (Client)
เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอบริการ
และเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่
จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ
ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้
แต่ละคนในระบบเครือข่าย
16
3.6. ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีตเตอร์
(Repeater)
อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ
มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจาก
พอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธ
หรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามี
คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่ง
ข้อมูลลดลง
17
3.7. เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch)
อุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2
และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไป
ยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูล
ถึงกันในเวลาเดียวกัน
18
3.8. เราต์เตอร์ (Router)
ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่
(Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว
(Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและ
ส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางใน
แพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล (Routing Table)
หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไป
ยังเครือข่ายที่ให้ โพรโทคอลต่างกันได้
19
3.9. บริดจ์ (Bridge)
เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน
(LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ
ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่
ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก
เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์
เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจร
ของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์
ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้
สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกัน
ในระดับ Physical และ Data Link
20
3.10. เกตเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่าย
ต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการ
เชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี
(PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช
(MAC) เป็นต้น
21
4. ประโยชน์และข้อจากัดของสังคมออนไลน์
4.1. ประโยชน์ของ Social networks เครือข่าย
สังคมออนไลน์
-- สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจ
ร่วมกันได้
-- เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเรา
สามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้
บุคคลอื่นที่สนใจหรือ
มีคาตอบได้ช่วยกันตอบ
22
--ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคน
อื่น ดสะดวกและรวดเร็ว
--เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น
งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้า
มารับชมและแสดงความคิดเห็น
-- ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือ
บริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วย
สร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า
23
-- ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิด
การจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น
-- คลายเครียดได้สาหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อน
คุยเล่นสนุกๆ
-- สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้
24
4.2. ข้อจากัดของSocial networks เครือข่าย
สังคมออนไลน์
-- เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูล
ส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการไม่ระมัดระวัง
ในการกรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนามาใช้
ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้
25
-- Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง
หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาดวิจารณญาณ
อาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัด
เจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตาม
หน้าหนังสือพิมพ์
26
-- เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมย
ผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network
Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพ
ต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและแสดงความ
คิดเห็น
27
-- ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดง
บนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social Network
ยากแก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจ
เกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่กาหนดอายุการ
สมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคลที่ไม่มี
ตัวตนได้
28
-- ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอ
คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือ
บางคนอาจตาบอดได้
-- ถ้าผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กับ socialnetwork มาก
เกินไปอาจทาให้เสียการเรียนหรือผลการเรียนตก
ต่าลงได้
-- จะทาให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์
29
30

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้รัก นำทาง
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
ใบบัวบก
ใบบัวบกใบบัวบก
ใบบัวบก
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 

Similar to 1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKittitud SaLad
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 

Similar to 1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์ (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Smedu
SmeduSmedu
Smedu
 
022222
022222022222
022222
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Naruepon Seenoilkhaw

3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...Naruepon Seenoilkhaw
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...Naruepon Seenoilkhaw
 
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือNaruepon Seenoilkhaw
 
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...Naruepon Seenoilkhaw
 
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...Naruepon Seenoilkhaw
 
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...Naruepon Seenoilkhaw
 
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...Naruepon Seenoilkhaw
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์Naruepon Seenoilkhaw
 
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงานNaruepon Seenoilkhaw
 
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNaruepon Seenoilkhaw
 
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้องNaruepon Seenoilkhaw
 
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...Naruepon Seenoilkhaw
 
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัยNaruepon Seenoilkhaw
 

More from Naruepon Seenoilkhaw (20)

3.2.5
3.2.5 3.2.5
3.2.5
 
5.2.1 ผู้บริหาร
5.2.1 ผู้บริหาร5.2.1 ผู้บริหาร
5.2.1 ผู้บริหาร
 
3.2.2 ผู้บริหาร
3.2.2 ผู้บริหาร3.2.2 ผู้บริหาร
3.2.2 ผู้บริหาร
 
3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร
 
3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
 
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
 
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
 
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
 
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...
3.2.1 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการนำเสนอความรู้ประกอบการบ...
 
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
6.4.2 : การนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอน...
 
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
6.3.1 : การเผยแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี...
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
 
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
2.2.5 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
 
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
2.2.3 : การระบุแหล่งทรัพยากรอ้างอิงที่นำมาใช้ในผลงาน
 
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.1 : การปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
2.1.3 : การใช้ทรัพยากรดิจิตอลตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ได้อย่างถูกต้อง
 
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
1.3.9 : การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการ...
 
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
1.3.7 : การใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความปลอดภัย
 

1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์

  • 1. 1
  • 2. 2
  • 3. 1. ความหมายของสื่อออนไลน์ 1.1. สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัล ที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันใน เครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต 3
  • 4. 2. ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ 2.1. Weblogs หรือว่า Blogs สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็น เพิ่มเติมได้ 4
  • 5. 2.2. Social Networking เป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่ม สังคม (Social Community) เพื่อร่วมกัน แลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูล 5
  • 6. 2.3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่ เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” เป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่ บุคคลทั่วไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความ สั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของ ตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ 6
  • 7. 2.4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอ ออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เนื้อหาที่นาเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจากัด โดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทาให้ ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่างต้องการ 7
  • 8. 2.5. Porto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการ ฝากรูปภาพ ผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รูปภาพเพื่อนามาใช้งานได้นอกเหนือจาก ผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยัง สามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเอง นาเข้าไปฝากได้อีก 8
  • 10. 2.7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ต ในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือ องค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์ สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กร ได้มีช่องทางในการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ 10
  • 11. 2.8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคา สองคาคือ Crowd และ Outsourcing เป็น หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่าย สังคมออนไลน์ จัดทาในรูปของเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้ง ทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการสื่อสาร โดย อาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทาง สังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็น หรือให้ข้อเสนอแนะ 11
  • 12. 2.9. Podcasting หรือ Podcast การบันทึกภาพและเสียงแล้วนามาไว้ในเว็บ เพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพื่อ นาไปใช้งาน 12
  • 13. 2.10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถ แสดงความคิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ 13
  • 15. 3.3. แท็บเล็ต (Tablet) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัส ขนาดใหญ่กว่าโทรศัพท์มือถือ 3.4. เซิร์ฟเวอร์ (Server) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและ ทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ 15
  • 16. 3.5. ไคลเอนต์ (Client) เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอบริการ และเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่ จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ แต่ละคนในระบบเครือข่าย 16
  • 17. 3.6. ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีตเตอร์ (Repeater) อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจาก พอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธ หรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามี คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่ง ข้อมูลลดลง 17
  • 18. 3.7. เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) อุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไป ยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูล ถึงกันในเวลาเดียวกัน 18
  • 19. 3.8. เราต์เตอร์ (Router) ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและ ส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางใน แพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไป ยังเครือข่ายที่ให้ โพรโทคอลต่างกันได้ 19
  • 20. 3.9. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์ เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจร ของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้ สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกัน ในระดับ Physical และ Data Link 20
  • 21. 3.10. เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่าย ต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการ เชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น 21
  • 22. 4. ประโยชน์และข้อจากัดของสังคมออนไลน์ 4.1. ประโยชน์ของ Social networks เครือข่าย สังคมออนไลน์ -- สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจ ร่วมกันได้ -- เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเรา สามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน ความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้ บุคคลอื่นที่สนใจหรือ มีคาตอบได้ช่วยกันตอบ 22
  • 23. --ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคน อื่น ดสะดวกและรวดเร็ว --เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้า มารับชมและแสดงความคิดเห็น -- ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือ บริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วย สร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า 23
  • 24. -- ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิด การจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น -- คลายเครียดได้สาหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อน คุยเล่นสนุกๆ -- สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ 24
  • 25. 4.2. ข้อจากัดของSocial networks เครือข่าย สังคมออนไลน์ -- เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูล ส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการไม่ระมัดระวัง ในการกรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนามาใช้ ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ 25
  • 26. -- Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาดวิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัด เจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตาม หน้าหนังสือพิมพ์ 26
  • 27. -- เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมย ผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพ ต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและแสดงความ คิดเห็น 27
  • 28. -- ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดง บนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social Network ยากแก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจ เกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่กาหนดอายุการ สมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคลที่ไม่มี ตัวตนได้ 28
  • 29. -- ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอ คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือ บางคนอาจตาบอดได้ -- ถ้าผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กับ socialnetwork มาก เกินไปอาจทาให้เสียการเรียนหรือผลการเรียนตก ต่าลงได้ -- จะทาให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์ 29
  • 30. 30