SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายวิชญ์พล ตรีเนตร เลขที่ 4
2. นางสาวณัฏฐนิช อารีย์กุล เลขที่ 5
3. นางสาวธมลวรรณ จินดารักษ์ เลขที่ 11
4. นางสาวพณัฐวดี ช้างกลาง เลขที่ 12
5. นางสาวสุวัจณี ชูทอง เลขที่ 19
6. นายสุทธิภัทร อิทธิปัญญากุล เลขที่ 22
7. นางสาวอัจจิมา เพ็ชรทองขาว เลขที่ 26
8. นายขจรศักดิ์ แซ่ตั้น เลขที่ 27
9. นางสาวณัฏฐา พุ่มเกลี้ยง เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
รัตนโกสินทร์ตอนต้น
รัชกาลที่ 1 รัชกาลที่ 2 รัชกาลที่ 3
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ
1. เป็นมิตรไมตรีกันเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้า
2. เป็นประเทศคู่สงครามกัน
3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช
1. เป็นมิตรไมตรีกันเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้า
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นช่วงของการก่อสร้างราชธานี
ใหม่ จาเป็นต้องหารายได้เพื่อนามาใช้เป็นการทะนุบารุงประเทศ จึง
ส่งเสริมให้มีการค้าขายกับต่างประเทศ โดยเฉพาะการค้าทางเรือสาเภา
ซึ่งส่วนใหญ่จะค้าขายกับจีน
2. เป็นประเทศคู่สงครามกัน
พม่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการทาสงครามกับพม่า
10 ครั้ง สงครามครั้งสาคัญคือ สงครามเก้าทัพ ซึ่งพระเจ้าปะดุง
ต้องการแผ่อานาจครอบคลุมดินแดนสุวรรณภูมิ และเป็นการทาลาย
อาณาจักรไทยไม่ให้เติบโตเป็นอาณาจักรใหญ่อย่างกรุงศรีอยุธยา
พระเจ้าปะดุง จัดทัพมาถึง 9 ทัพ และมีความพร้อมเต็มที่ ส่วน
ไทยแม้จะมีกาลังน้อยกว่าพม่า แต่อาศัยที่มีผู้นาดีมีความสามารถ ทหาร
จึงมีกาลังใจเข้มแข็ง มีความสามัคคีพร้อมเพรียง และประสานงานกันเป็น
อย่างดี กองทัพพม่าจึงแตกพ่ายกลับไป
2. เป็นประเทศคู่สงครามกัน
ในสงครามครั้งนี้ได้มีวีรสตรีไทยเกิดขึ้น 2 ท่าน คือ คุณหญิง
จันทร์ และนางมุกน้องสาว ได้ร่วมมือกันป้องกันเมืองอย่างเต็ม
ความสามารถ จนพม่าไม่สามารถตีเมืองถลางได้สาเร็จต้องยกทัพกลับไป
เมื่อเสร็จศึกแล้ว รัชกาลที่ 1 ได้พระราชทานบาเหน็จความชอบ คุณหญิง
จันทร์ได้เป็น ท้าวเทพกระษัตรี และนางมุกได้เป็น ท้าวศรีสุนทร
สงครามระหว่างไทยกับพม่าสิ้นสุดลงในรัชกาลที่ 3 เนื่องจาก
พม่ามีกรณีพิพาทเรื่องพรมแดน กับเขตแดนอินเดียของอังกฤษ และต้น
รัชกาลที่ 4 พม่าก็ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
2. เป็นประเทศคู่สงครามกัน
ญวน ความขัดแย้งระหว่างไทยกับญวน ซึ่งเป็นคู่แข่งของไทยใน
คาบสมุทรอินโดจีน คือญวนต้องการเข้าไปมีอิทธิพลในเขมรและลาว ซึ่ง
เป็นประเทศราชของไทย สงครามระหว่างญวนกับไทยยืดเยื้อมานานถึง
24 ปี จนถึงสมัยรัชกาลที่ 3 ญวนไปมีปัญหาขัดแย้งกับฝรั่งเศส ญวนจึง
ยอมสงบศึกกับไทย เพื่อเตรียมกาลังไว้สู้รบกับฝรั่งเศสทางเดียว
3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช
เขมร เป็นเมืองขึ้นของไทยมาแต่สมัยอยุธยา เมื่อกรุงศรีอยุธยา
เสียแก่พม่าในปี พ.ศ.2310 เขมรก็เอาใจออกห่างจากไทยไปฝักใฝ่
ญวน พระเจ้าตากจึงโปรดให้ยกทัพไปปราบ จึงได้เขมรกลับมาเป็น
ประเทศราชของไทย ในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้เกิดเหตุจลาจลขึ้น รัชกาลที่ 1
โปรดให้ยกทัพไปจัดการ และแบ่งเขมรออกเป็น 2 ฝ่าย คือส่วนหนึ่งให้
เจ้านายเขมรปกครอง และอีกส่วนหนึ่งให้ขุนนางไทยไปปกครอง คือเมือง
พระตะบองกับเมืองเสียมราฐ
3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช
เขมร ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 กษัตริย์เขมรได้ไปฝักใฝ่กับ
ญวน ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนจึงเสื่อมลงตามลาดับ จนถึงสมัย
รัชกาลที่ 3 ญวนมีนโยบายเข้าปกครองเขมรโดยตรง ทาให้เกิดปัญหา
ความขัดแย้งระหว่างไทยกับญวน จนถึงขั้นทาสงครามกันเป็นเวลานานถึง
14 ปีผลของสงครามผลัดกันแพ้ชนะ จนในที่สุดสามารถตกลงยุติสงคราม
และร่วมกันปกครองเขมร
3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช
ลาว เป็นเมืองขึ้นของไทยมาแต่สมัยกรุงธนบุรี โดยลาวส่ง
เครื่องราชบรรณาการมาถวายจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ความ
ขัดแย้งระหว่างไทยกับลาว เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 คือได้เกิดข่าวลือไป
ถึงเวียงจันทน์ว่า ไทยขัดใจกับอังกฤษ เจ้าอนุวงศ์เห็นเป็นโอกาสจึงยกทัพ
มาตีเอาดินแดนไทย ขณะที่กองทัพเจ้าอนุวงศ์ถึงเมืองนครราชสีมานั้น ได้
เกิดวีรสตรีขึ้น คือคุณหญิงโมภรรยาปลัดเมืองนครราชสีมา ได้ร่วมกับ
ราษฎรที่ถูกกวาดต้อนมาได้ออกอุบายเลี้ยงสุราอาหารแก่นายทหารไพร่
พลลาว พอเมาแล้วจึงจู่โจมฆ่าฟันจนทหารลาวแตกพ่ายไป เมื่อเสร็จศึก
แล้ว รัชกาลที่ 3 จึงโปรดเกล้าฯให้เป็น ท้าวสุรนารี
3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช
มลายู หัวเมืองมลายู ได้แก่ ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน และตรัง-
กานู ต่างเคยเป็นประเทศราชของไทยมาแต่สมัยอยุธยา เมื่อเสียกรุงศรี
อยุธยาครั้งที่ 2 ในปีพ.ศ.2310 แล้วหัวเมืองเหล่านี้พากันแข็ง
เมือง สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงยกทัพไปปราบ ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 1
หลังเสร็จศึกสงครามเก้าทัพแล้ว ได้ยกทัพไปตีเมืองปัตตานีใน
พ.ศ.2328 ทาให้บรรดาหัวเมืองมลายูที่เหลือ คือ ไทรบุรี กลันตัน และ
ตรังกานู พากันเกรงกลัว จึงส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
โปรตุเกส เป็นชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย
อันโตนิโอ เดอ วีเซนท์ (Autonio de Veesent) ผู้อัญเชิญพระราชสาสน์
จากกรุงลิสบอน มายังประเทศไทย รัชกาลที่ 2 ได้ส่งเรือ มาลาพระนคร
ออกไปค้าขายกับโปรตุเกส ไทยได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี และใน
ขณะนั้นไทยมีความประสงค์จะซื้ออาวุธปืน ซี่งโปรตุเกสก็ยินยอมจัดหาซื้อ
ปืนคาบศิลาให้ไทยถึง 400 กระบอกกษัตริย์โปรตุเกสมีพระราชประสงค์
จะขอตั้งสถานกงสุลขึ้นในประเทศไทย ซี่งไทยก็ยอมรับแต่โดยดี ซึ่งนับว่า
เป็นการตั้งสถานกงสุลต่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
อังกฤษ ครั้งที่ 1 (ในสมัยรัชกาลที่ 2) ทูตจอห์น คอรว์
ฟอร์ด (John Crawford) ซึ่งคนไทยเรียกว่า การะฝัด นาเครื่องราช
บรรณาการเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ใน พ.ศ. 2365 ขอเจรจาทา
สนธิสัญญาทางการค้ากับไทย โดยขอให้ไทยยกเลิกการผูกขาดและ
ลดหย่อนภาษีบางอย่าง และให้ไทยยอมรับอธิปไตยของไทร
บุรี โดยเฉพาะการที่อังกฤษเช่าเกาะหมาก (ปีนัง) และสมารังไพร กับขอ
ทาแผนที่ และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย เช่น เรื่องพันธุ์พืช พันธุ์
สัตว์ และสภาพประชากรของไทย เพื่อทารายงานเสนอรัฐบาลอังกฤษ
ปรากฏว่าการเจรจาคราวนี้ไม่ประสบความสาเร็จ
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
การเจรจาคราวนี้ไม่ประสบความสาเร็จ เนื่องจากเหตุผลต่อไปนี้
1. ทั้งสองฝ่ายไม่เข้าใจภาษากันดีพอ ต้องใช้ล่ามแปลกันหลายต่อ ทาให้
เกิดคลาดเคลื่อนไป ล่ามของทังสองฝ่ายเป็นพวกคนชั้นต่าพวกกะลาสี
เรือ ทาให้ขุนนางออกรับแขกเมืองไม่นิยมสวมเสื้อ
2. ครอว์ฟอร์ดไม่พอใจที่ไทยไม่ยอมอ่อนน้อมต่ออังกฤษเหมือนพวกชวา
และมลายู ส่วนไทยก็ไม่พอใจที่อังกฤษแสดงท่าทางเย่อหยิ่งข่มขู่ดุหมิ่นข่ม
ดุหมิ่นไทย ไม่เหมือนกับพวกจีนที่ปฏิบัติตนอ่อนน้อมยินยอม ทาตาม
ระเบียบต่างๆ อย่างดี
3. ไทยไม่ยอมตกลงปัญหาดินแดนไทรบุรีที่อังกฤษขอร้อง
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
อังกฤษ ครั้งที่ 2 (ตอนต้นรัชกาลที่ 3) ขณะที่พระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เสด็จขึ้นครองราชย์ใหม่ๆ นั้นอังกฤษ
กาลังมีข้อพิพาททาสงครามกับพม่า ลอร์ด แอมเฮิร์สต์ (Lord
Amherst) ผู้สาเร็จราชการอังกฤษประจาอินเดียได้ส่งร้อยเอกเฮนรี่ เบอร์
นี่ (Henry Berney) ซึ่งคนไทยเรียกว่า บารนี เป็นทูตเข้ามาเจรจาขอทา
สนธิสัญญากับไทย จุดมุ่งหมายของอังกฤษในการส่งทูตมาทาสนธิสัญญา
กับไทยในครั้งนี้
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
สนธิสัญญาเบอร์นี ซึ่งมีสาระสาคัญดังนี้
1. ไทยกับอังกฤษจะมีไมตรีอันดีต่อกัน
2. เมื่อเกิดคดีความขึ้นในประเทศไทย ก็ให้ไทยตัดสินตามกฎหมาย
ขนบธรรมเนียม และประเพณีของไทย
3. ทั้งสองฝ่ายจะอานวยความสะดวกในด้านการค้าซึ่งกันและกัน และ
อนุญาตให้ฝ่ายตรงข้ามเช่าที่ดินเพื่อตั้งโรงสินค้า ร้านค้า หรือ
บ้านเรือนได้
4. อังกฤษยอมรับว่าดินแดนไทรบุรี กลันตัน และตรังกานู เประ เป็นของ
ไทย
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
นอกจากสัญญาทางพระราชไมตรีแล้ว ยังมีสนธิสัญญาต่อท้าย
เป็นสนธิสัญญาทางการค้าระหว่างไทยกับอังกฤษ ซึ่งมีสาระสาคัญดังนี้
2. อาวุธและกระสุนดินดาที่อังกฤษนามาต้องขายให้แก่รัฐบาลไทยแต่ผู้
เดียว ถ้ารัฐบาลไทยไม่ต้องการ ต้องนาออกไป
1. ห้ามนาฝิ่นเข้ามาขายในไทย และห้ามนาข้าวสาร ข้าวเปลือก ออก
นอก ประเทศไทย
3. เรือสินค้าที่เข้ามาต้องเสีย
ภาษีเบิกร่อง หรือภาษีปากเรือ
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
4. อนุญาตให้พ่อค้าอังกฤษขายสินค้าทั่วราชอาณาจักร
5. พ่อค้าหรือคนในบังคับอังกฤษ พูดจาดูหมิ่น หรือไม่เคารพขุนนาง
ไทย อาจถูกขับไล่ออกจากประเทศไทยได้ทันที
สนธิสัญญาฉบับนี้นับเป็นสนธิสัญญาโดยสมบูรณ์ฉบับแรกในสมัย
รัตนโกสินทร์ผลของสนธิสัญญาฉบับนี้ ทาให้ไทยกับอังกฤษมีความผูกมัด
ซึ่งและกัน มีความเท่าเทียมกัน ไม่มีใครได้เปรียบหรือเสียเปรียบกัน แต่
ไม่เป็นที่พอใจของอังกฤษนัก เพราะอังกฤษต้องการค้าขายแบบเสรี
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
อังกฤษ ครั้งที่ 3 (ตอนปลายรัชกาลที่ 3) ลอร์ด ปาลเมอร์
สตัน (Lord Palmerston) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของ
อังกฤษส่ง เซอร์ เจมส์ บรูค (James Brooke) เป็นทูตมาขอแก้
สนธิสัญญากับไทยใน พ.ศ. 2393 โดยขอลดค่าภาษีปากเรือ ขอตั้งสถาน
กงสุลในไทย ขอนาฝิ่นเข้ามาขาย และขอนาข้าวออกไปขายนอก
ประเทศ แต่ขณะนั้นรัชกาลที่ 3 กาลังประชวร จึงไม่มีโอกาสได้เข้า
เฝ้า สนธิสัญญาเบอร์นีจึงยังมีผลใช้บังคับต่อไปโดยไม่มีการแก้ไข
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
ในรัชกาลที่ 3 พ่อค้าอเมริกันชื่อ กัปตันเฮล (Captain Hale) เดิน
ทางเข้ามาค้าขายที่กรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2364 ได้นาปืนคาบศิลามาถวาย
จานวน 500 กระบอกจึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และได้
พระราชทานสิ่งของให้คุ้มค่ากับราคาปืนทั้งหมด ทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้งด
เว้นการเก็บภาษีจังกอบอีกด้วย หลังจากนั้นอเมริกาได้ส่งนายเอ็ดมั้นด์ โร
เบิร์ต (Edmund Roberts) คนไทยเรียกว่า เอมินราบัด เดินทางเข้ามาขอ
ทาสัญญาการค้ากับไทย ซึ่งมีใจความทานองเดียวกับที่ไทยทากับอังกฤษ
ในปีพ.ศ. 2375 หลังจากนั้นรัฐบาลอเมริกาเห็นว่าสัญญาที่ทากันไว้มิได้
เกิดประโยชน์จึงได้ส่งนายโจเซฟ บัลเลสเดียร์ (Joseph Balestier) เข้า
มาทบทวนสนธิสัญญาเสียใหม่ แต่การเจรจาไม่ประสบผลสาเร็จ
อ้างอิง
1.http://www.kwc.ac.th/0e-
book%20ThaiKingdom/10RaTaNaGoSin6-1-3.htm
2.http://www.thaigoodview.com/node/31228
3.http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/13
355-025672/
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 

What's hot (20)

รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Similar to ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลtommy
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพItt Bandhudhara
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (14)

การเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้นการเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้น
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
01
0101
01
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเล
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 

More from Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่มNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 

More from Nattha Namm (13)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่ม
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น