SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
ติวเข้มวิทยาศาสตร์ (SCIENCE)
สาหรับนักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์
(GIFTED SCIENCE)
เรื่อง
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
[ตอนที่ 2]
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ [ตอนที่ 2]
• 1. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง
• 2. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
• 3. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
• 4. ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
3. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
• ระบบวงโคจรของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ (SUN - EARTH - MOON CONNECTION) ทาให้เกิดปรากฏการณ์
ทางดาราศาสตร์ ในรอบวัน รอบเดือน หรือรอบปี ส่วนใหญ่จะเป็นปรากฏการณ์ทางแสง ได้แก่ กลางวันกลางคืน, ฤดูกาล, ข้างขึ้นข้างแรม,
สุริยุปราคา, จันทรุปราคา ส่วนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ น้าขึ้นน้าลง
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
•กลางวันกลางคืน เกิดจาก โลกหมุนรอบตัวเอง
•ฤดูกาล เกิดจากแกนโลกเอียงขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
•ข้างขึ้นข้างแรม เกิดจากภาพปรากฏของดวงจันทร์ที่มองจากโลกเปลี่ยนไป เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก
•น้าขึ้นน้าลง เกิดจาก แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ที่กระทาต่อน้าในมหาสมุทร
•สุริยุปราคา เกิดจาก เงาของดวงจันทร์ทอดลงมายังโลก
•จันทรุปราคา เกิดจาก เงาของโลกทอดไปยังดวงจันทร์
เกร็ดความรู้เรื่องเวลา ที่ควรทราบ
• โลกหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบได้มุม 360 องศา ใช้เวลา 23 ชั่วโมง 56 นาที เรียกว่า วันทางดาราคติ (SIDEREAL DAY) โดยถือ
ระยะเวลาที่ดาวฤกษ์ดวงเดิมเคลื่อนที่ผ่านเส้น PRIME MERIDIAN (RA=0 ชั่วโมง) สองครั้งเป็นสิ่งอ้างอิง
• เวลามาตรฐานที่เราใช้ในนาฬิกาบอกเวลาเป็น เวลาสุริยคติ (SOLAR DAY) ซึ่งถือระยะเวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านเส้นเม
อริเดียนสองครั้งเป็นสิ่งอ้างอิง หนึ่งวันจึงเท่ากับ 24 ชั่วโมงพอดี จะเห็นได้ว่า หนึ่งวันสุริยคติมีระยะเวลานานกว่าหนึ่งวัน
ดาราคติ 4 นาที เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงทาให้ตาแหน่งของดาวบนท้องฟ้าในแต่ละวันเปลี่ยนไปวันละ1 องศา
• ปฏิทินสากลเป็นปฏิทินทางสุริยคติ (SOLAR CALENDAR) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็น 12 เดือน ๆ ละ 30 หรือ 31 วัน และ
เดือนกุมภาพันธ์มี28 วัน แต่ในทุกๆ 4 ปี จะมีปีอธิกสุรทิน ซึ่งเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 ว้น เพื่อเพิ่มชดเชยเวลาที่โลกโคจร
รอบดวงอาทิตย์ใช้เวลารอบละ 365.25 ว้น (SIDEREAL YEAR)
• ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 29.5 วัน ทาให้เราจึงมองเห็นดวงจันทร์ ปฏิทินพระเป็นปฏิทินทาง
จันทรคติ (LUNAR CALENDAR) แบ่งออกเป็น 12 เดือนๆ ละ 30 วัน
ข้างขึ้นข้างแรม
• ข้างขึ้นข้างแรม (THE MOON’S PHASES) เกิดขึ้นเนื่องจากดวงจันทร์มีรูปร่างเป็นทรงกลม ไม่มีแสงในตัวเอง ด้านสว่าง
ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ แต่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ถูกบังด้วยเงาของตัวเอง ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ทาให้มุม
ระหว่างดวงอาทิตย์-ดวงจันทร์-โลก เปลี่ยน เปลี่ยนแปลงไปวันละ 12 องศา เมื่อมองดูดวงจันทร์จากโลก เราจึงมองเห็น
เสี้ยวของดวงจันทร์มีขนาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบดังภาพ ใช้ประมาณ 30 วัน
ข้างขึ้นข้างแรม
• คนไทยแบ่งเดือนทางจันทรคติ (LUNAR MONTH) ออกเป็น 30 วัน คือ วันขึ้น 1 ค่า - วันขึ้น 15 ค่า และ วันแรม 1 ค่า - วัน
แรม 15 ค่า โดยถือให้วันขึ้น 15 ค่า (ดวงจันทร์สว่างเต็มดวง),วันแรม 15 ค่า (ดวงจันทร์มืดทั้งดวง), วันแรม 8 ค่า และวัน
ขึ้น 8 ค่า (ดวงจันทร์สว่างครึ่งดวง)เป็นวันพระ
ข้างขึ้นข้างแรม
• วันแรม 15 ค่า (NEW MOON): เมื่อดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านเงามืดเข้าหาโลก ตาแหน่งปรากฏ
ของดวงจันทร์อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์ แสงสว่างของดวงอาทิตย์ ทาให้เราไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้เลย
ข้างขึ้นข้างแรม
• วันขึ้น 8 ค่า (FIRST QUARTER): เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนมาอยู่ในตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้าน
สว่างและด้านมืดของดวงจันทร์มีขนาดเท่ากัน
ข้างขึ้นข้างแรม
• วันขึ้น 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (FULL MOON): ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านที่ได้รับ
แสงอาทิตย์เข้าหาโลกทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง
ข้างขึ้นข้างแรม
• วันแรม 8 ค่า (THIRD QUARTER): ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้าน
สว่างและด้านมืดของดวงจันทร์มีขนาดเท่ากัน
วิธีสังเกตข้างขึ้นข้างแรม
• คนโบราณมองเห็นพื้นที่สีคล้าซึ่งเต็มไปด้วยหลุมอุกาบาตบนดวงจันทร์เป็นรูป
กระต่าย ดังภาพที่ 2 เราสามารถใช้รูปกระต่ายบนดวงจันทร์ช่วยสังเกตข้างขึ้นข้างแรมได้
ดังนี้
• วันขึ้น 15 ค่่า (FULL MOON): ดวงจันทร์อยู่ทางด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เราจะ
มองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง ขึ้นที่ขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกเวลาประมาณ 6 โมงเย็น
• ข้างแรม (WANING MOON): เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 29.5 วัน ทา
ให้เรามองเห็นดวงจันทร์ขึ้นช้าวันละ 50 นาที หรือประมาณ 12 องศา เราจึงมองเห็นดวง
จันทร์ตอนเย็นก่อนดวงอาทิตย์ตก และเห็นหัวกระต่าย เสี้ยวของดวงจันทร์บางขึ้น
จนกระทั่งมืดหมดทั้งดวงในวันแรม 15 ค่า
• วันแรม 15 ค่า (NEW MOON): ดวงจันทร์อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก เราจึงมองเห็นแต่
เงามืดของดวงจันทร์ ดวงจันทร์จะขึ้นและตกพร้อมๆ กับดวงอาทิตย์
• ข้างขึ้น (WAXING MOON): เราจะมองเห็นดวงจันทร์ตอนรุ่งเช้าก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น และ
ไม่เห็นหัวกระต่าย เสี้ยวของดวงจันทร์จะหนาขึ้นจนกระทั่งสว่างเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่า
ควรรู้เพิ่มเติม
• ความเป็นจริงดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 29.5 วัน ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ในวันขึ้น 15 ค่า ในบางเดือน ดวงจันทร์ไม่
สว่างเต็มดวง 100%
• ในช่วงเวลาที่ดวงจันทร์ปรากฏเป็นเสี้ยวบางแต่เราสามารถมองเห็นด้านมืดของดวงจันทร์ได้ดังภาพที่ 3 เนื่องจากแสงอาทิตย์
ส่องกระทบพื้นผิวโลกแล้วสะท้อนไปยังดวงจันทร์ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “แสงโลก” (EARTH SHINE)
น้าขึ้นน้าลง
• แรงไทดัล เมื่อดาวดวงหนึ่งได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหนึ่ง ด้านที่อยู่ใกล้จะได้ถูกดึงดูดมากกว่าด้านที่อยู่
ไกล ความแตกต่างของแรงทั้งด้านจะทาให้เกิดความเครียดภายในถ้าเนื้อของดาวไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทาให้ดาวแตกได้ ถ้า
เนื้อของดาวมีความหยุ่นก็จะทาให้ดาวยืดออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในที่แตกต่างนี้ว่า "แรงไทดัล" (TIDAL FORCE)
ยกตัวอย่างเช่น แรงที่ทาให้ดวงจันทร์บริวารแตกเป็นวงแหวนของดาวเสาร์ แรงที่ทาให้ดาวพุธเป็นทรงรี และแรงที่ทาให้เกิด
น้าขึ้นน้าลง
น้าขึ้นน้าลง
• ตามกฏแปรผกผันยกกาลังสองของนิวตัน เมื่อวัตถุอยู่ไกลจากกันแรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุจะลดลง ดังนั้นเมื่อวางลูก
บิลเลียดสามลูกในอวกาศ โดยเรียงลาดับระยะห่างจากดาวเคราะห์ดังภาพที่ 1 แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูก
บิลเลียดหมายเลข 3 มากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 2 และมากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่าง
ดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 1 ตามลาดับ
น้าขึ้นน้าลง
• เมื่อเวลาผ่านไป ในภาพที่ 2
ลูกบิลเลียดหมายเลข 3 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางมากที่สุด
ลูกบิลเลียดหมายเลข 2 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางน้อยกว่า
ลูกบิลเลียดหมายเลข 1 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางน้อยที่สุด
น้าขึ้นน้าลง
• หากเราจ้องมองที่ลูกบิลเลียดหมายเลข 2 ดังภาพที่ 3 จะมองเห็นว่า ระยะทางระหว่างลูกบิลเลียดหมายเลข 1 และ 2” และ
ระยะทางระหว่างลูกบิลเลียดหมายเลข 2 และ 3” เพิ่มมากขึ้น เราเรียกแรงที่กระทาให้ลูกบิลเลียดทั้งสามลูกกระจายห่างจาก
กันนี้ว่า แรงไทดัล
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
• แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์กระทำ ณ ตำบลต่ำงๆ ของโลกแตกต่ำงกัน โดยสำมำรถวำดลูกศรแสดงขนำดและทิศทำงของแรง
ดึงดูด ซึ่งเกิดจำกอิทธิพลควำมโน้มถ่วงของดวงจันทร์ ได้ดังภำพที่ 4
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
• เมื่อพิจารณาแรงไทดัล ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดัลภายในโลกมีขนาดเท่ากับ ความแตกต่างระหว่างแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ที่
กระทาต่อจุดนั้นๆ กับแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ที่กระทาต่อศูนย์กลางของโลก ซึ่งสามารถเขียนลูกศรแสดงขนาดและทิศทางของ
แรงในภาพที่ 5
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
• เนื่องจากเปลือกโลกเป็นของแข็ง จึงไม่สามารถยืดหยุ่นตัวไปตามแรงไทดัลซึ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ได้ แต่ทว่า
พื้นผิวส่วนใหญ่ของโลกปกคลุมด้วยน้าในมหาสมุทร จึงปรับตัวเป็นรูปทรงรี ตามแรงไทดัลที่เกิดขึ้นดังรูปที่ 6 ทาให้เกิด
ปรากฏการณ์ "น้าขึ้นน้าลง" (TIDES)​ โดยที่ระดับน้าทะเลจะขึ้นสูงสุดบนด้านที่หันเข้าหาดวงจันทร์และด้านตรงข้ามดวง
จันทร์ (ตาแหน่ง H และ H’) และระดับน้าทะเลจะลงต่าสุดบนด้านที่ตั้งฉากกับดวงจันทร์ (ตาแหน่ง L และ L’) โลกหมุนรอบ
ตัวเอง 1 รอบ ทาให้ ณ ตาแหน่งหนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคลื่อนผ่านบริเวณที่เกิดน้าขึ้นและน้าลงทั้งสองด้าน ทาให้เกิดน้าขึ้นน้า
ลง วันละ 2 ครั้ง
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
• เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก ขณะที่โลกเองก็หมุนรอบตัวเอง จึงทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์ขึ้นช้าไปวันละ 50 นาที หนึ่งวัน
มีน้าขึ้น 2 ครั้ง ดังนั้นน้าขึ้นครั้งต่อไปจะต้องบวกไปอีก 12 ชั่วโมง 25 นาที เช่น น้าขึ้นครั้งล่าสุดน้าขึ้นเวลา 24.00 น. น้าขึ้นครั้ง
ต่อไปประมาณเวลา 12.25 น. และในวันถัดไปน้าจะขึ้นประมาณเวลา 00.50 น.
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
น้าเกิดน้าตาย
•
น้าเกิดน้าตาย
น้าเกิดน้าตาย
•
น้าเกิดน้าตาย
สุริยุปราคา
•
สุริยุปราคา
•
สุริยุปราคา
•
• เงามืด (UMBRA) เป็นเงาที่มืดที่สุดเนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น หากเราเข้าไปอยู่ในเขตเงามืดจะไม่สามารถ
มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย
•
•
• สุริยุปราคาเต็มดวง(TOTAL SOLAR ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อผู้สังเกตการณ์อยู่ในเงามืดบนพื้นผิวโลก (A) จะมองเห็นดวงจันทร์บัง
ดวงอาทิตย์ได้มิดดวง
•
• สุริยุปราคาวงแหวน (ANNULAR SOLAR ECLIPSE) เนื่องจากวงโคจรของดวงจันทร์เป็นรูปวงรี บางครั้งดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลก
มาก จนเงามืดของดวงจันทร์ทอดยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจันทร์จึงมีขนาดปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้สังเกตการณ์
มองเห็นดวงอาทิตย์เป็นรูปวงแหวน
Total Solar Eclipse
Partial Solar Eclipse
Annular Solar Eclipse
•
ประเภทของสุริยุปราคา
หมายเหตุ: เนื่องจากแสงอาทิตย์มีพลังงานสูงมาก การสังเกตสุริยุปราคาจาเป็นต้องใช้แผ่นกรองแสงอาทิตย์ (Solar Filter) ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ใน
การสังเกตการณ์โดยเฉพาะ การสังเกตการณ์ด้วยตาเปล่าจะกระทาได้เฉพาะช่วงเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านัั้น
จันทรุปราคา
• จันทรุปราคา หรือ จันทรคราส เกิดขึ้นจากดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงาของโลก เราจึงมองเห็นดวงจันทร์แหว่งหายไปในเงา
มืดแล้วโผล่กลับออกมาอีกครั้ง คนไทยสมัยโบราณเรียกปรากฎการณ์นี้ว่า "ราหูอมจันทร์" จันทรุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืน
วันเพ็ญ 15 ค่า หรือคืนวันพระจันทร์เต็มดวง อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์จันทรุปราคาไม่เกิดขึ้นทุกเดือนเนื่องจากระนาบที่โลก
โคจรรอบดวงอาทิตย์และระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกันเป็นมุม 5 องศา ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะ
เกิดจันทรุปราคาเพียงปีละ 1 - 2 ครั้ง
เงาโลก
•
เงาโลก
• เงามืด (UMBRA) เป็นเงาที่มืดที่สุด เนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น หากเราเข้าไปอยู่ในเขตเงามืด จะไม่สามารถ
มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย
เงาโลก
•
•
จันทรุปราคา
• เนื่องจากระนาบวงโคจรของดวงจันทร์และระนาบวงโคจรของโลกไม่ซ้อนทับกันพอดี จึงทาให้เกิดจันทรุปราคาได้ 3 แบบ ดังนี้
• จันทรุปราคาเต็มดวง (TOTAL ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ทั้งดวงเข้าไปอยู่ในเงามืดของโลก
• จันทรุปราคาบางส่วน (PARTIAL ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อบางส่วนของดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในเงามืด
• จันทรุปราคาเงามัว (PENUMBRA ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงามัวเพียงอย่างเดียว เราจึงมองเห็นดวง
จันทร์เต็มดวงมีสีคล้าเนื่องจากความสว่างลดน้อยลง จันทรุปราคาเงามัวหาดูได้ยาก เพราะโดยทั่วไปดวงจันทร์มักจะผ่านเข้าไปในเงามืดด้วย
ประเภทของจันทรุปราคา
ประเภทของจันทรุปราคา
Total Eclipse Partial Eclipse
4. ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ระบบสุริยะจักรวาล
• ระบบสุริยะจักรวาล หรือ SOLAR SYSTEM ของเรานั้นประกอบไปด้วย ดาวน้อยใหญ่หลายดวง นอกจากนั้นยังมีพวกก้อนหิน
ขนาดใหญ่หรือดาวเคราะห์น้อยอีกนับไม่ถ้วนซึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ ซึ่งอยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไปถึงบริเวณขอบของ
ระบบสุริยะจักวาลและยังมีดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์อีก 166 ดวง วันนี้เราจะมาดูกันว่าดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาล
ของเรามีอยู่กี่ดวง มีชื่อว่าอะไรบ้าง
• ในระบบสุริยจักรวาลของเรานั้น มีดาวฤกษ์ซึ่งมีแสงสว่างในตัวเองเพียงแค่ดวงเดียวซึ่งก็คือดวงอาทิตย์ ในขณะที่มีดาวที่ถูกจัด
ชั้นเป็นดาวเคราะห์อยู่ทั้งสิ้น 8 ดวง (แต่เดิมมี 9 ดวง เรียกว่ากลุ่มดาวนพเคราะห์ – นพ แปลว่า เก้า แต่ดาวพลูโตถูกลดชั้นจาดดาว
เคราะห์เป็นเป็นดาวเคราะห์แคระ) ไม่นับรวมกับดวงจันทร์บริวาร ซึ่งไม่นับรวมเป็นดาวเคราะห์
ระบบสุริยะจักรวาล
• คาว่า ระบบสุริยะควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า ระบบสุริยะจักรวาลอย่างที่เรียกกันติด
ปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่าจักรวาล ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน
ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และ
ดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3 โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์
เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (PLANET) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อ
สภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่า
ดวงจันทร์ (SATELLITE) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมี
ระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่า
ความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (THE SUN) เป็นศูนย์กลาง มีดาว
เคราะห์ (PLANETS) 8 ดวง เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน
กาแลกซี่ทางช้างเผือก
• และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (MOON OF SATTELITES) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่
มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (MINOR PLANETS) ดาวหาง (COMETS) อุกกาบาต (METEORITES) ตลอดจนกลุ่มฝุ่ นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่
อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลก
กับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1AU.(ASTRONOMY UNIT) หน่วยดาราศาสตร์
ระบบสุริยะจักรวาล
• ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกล เป็นระยะทาง
40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (OORT"S CLOUD) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า
ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ นอกนั้นจะ
เป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่ นและก๊าซ ที่ล่องลอย
ระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (GRAVITY) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไป
ตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน
ระบบสุริยะจักรวาล
• ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจาก
ปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆถึงแม้ว่าดวง
อาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงาน
ออกมา ในอัตรา ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณ
กาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาว
อังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7 ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิกับ
ดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์ ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถูกคนพบภายหลัง
แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวพุธ(Mercury) เป็นดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึงร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลวกลางคืนดาวพุธ
เป็นดาวเคราะห์ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย ภาพถ่ายทั้งหลายที่เกี่ยวกับดาวพุธได้จากยานอวกาศที่ส่งขึ้นไปขณะเข้า
ไปใหล้ดาวพุธที่สุดก็จะถ่ายภาพส่งมายังโลก ทาให้รู้ว่าพื้นผิวดาวพุธคล้ายกับผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็นฝุ่ นและหิน มีหลุม
ลึกมากมาย ไม่มีอากาศ ไม่มีน้า ดาวพุธจึงเป็นดาวแห้งแล้ง ดาวแห่งความตายเป็นโลกแห่งทะเลทราย
ยานสารวจมาริเนอร์ 10
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวศุกร์(Venus)เป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์ร้อนถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทาให้
ของทุกอย่างลุกแดงดาวศุกร์มีไอหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น ไอหมอกนี้ไม่มีวันจางหายแม้ว่าแสงอาทิตย์จะจัดจ้า
เพียงไร จึงเป็นไปไม่ได้ที่มนุษย์จะไปเยี่ยมดาวศุกร์ เพราะพอไปถึงเขาจะถูกย่างจนสุกด้วยความร้อนและถูกผลักดันด้วยแรงลม เขาจะ
หายใจไม่ออกเพราะอากาศหนาหนักที่กดทับตัวนั้นเป็นอากาศพิษจากหมอกควันของกรดอากาศบนดาวศุกร์ประกอบด้วยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศโลกกว่า60เท่าผิวดาวศุกร์แห้งแล้ง เป็นหินและร้อนจัดนอกจากนี้ก็มี
รอยแยกลึกและภูเขาไฟดับ
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
โลก(Earth)หมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี
1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วัน
เหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่ง
มันจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ดังนั้น
ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อนและซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาว
และซีกโลกใต้เป็นฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวงอาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาว
เท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือนกันยายน สถานการณ์จะกลับกัน
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
โลกมีอายุประมาณ 4,700 ปี โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง เส้นรอบวงที่เส้นศูนย์สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล์)
และที่ขั้วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล์)
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวอังคาร(Mars)บางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็นหินสีแดงหินบนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้าของ
ดาวดังคารเป็นสีชมพูเพราะฝุ่ นจากหินแดงที่ว่านี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหินแดงมีก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง
หุบ เหว และเนินมากมาย หนึ่งปีบนดาวอังคารเกือบเทาสองปีโลก แต่หนึ่งวันบนดาวอังคารจะนานกว่าครึ่งชั่งโมงโลกเพียง
เล็กน้อยดาวอังคารมีอากาศห่อหุ้มอยู่ไม่มากและเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลมพัดแรงจัดทาให้ฝุ่ นฟุ้ง ไปทั้งดวงดาว ดาวอังคาร
มีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของโลกดาวอังคารอยูไกลดวงอาทิตย์มากกว่าโลกจึงทาให้มีบรรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมิบนดาวดวง
นี้จะต่ากว่าจุดเยือกแข็ง
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวพฤหัสบดี(Jupiter)เป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า
นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่น
ของดาวพฤหัสบดีจึงต่า (1.33 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์ จะเห็นเป็นดวงกลมโตกว่าดาวเคราะห์ดวง
อื่นๆ พร้อมสังเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตรด้วย กาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้องส่อง
พบบริวารสี่ดวงใหญ่นี้ จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวพฤหัสบดีมีบริวาร 63 ดวง โดยมี 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ซึ่งกาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้อง
ส่องพบบริวารสี่ดวงใหญ่นี้เมื่อ ค.ศ. 1610 จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons) ซึ่งได้แก่ Callisto Io
Europa และ Ganymede
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวเสาร์(Saturn) เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงามจากวงแหวนที่ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้
ดาวเสาร์มีลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆดาวเสาร์มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีลมพายุพัดแรง
ความเร็วถึง 1,125 ไมล์ต่อชั่วโมง มีขนาดใหญ่รองจากดาวพฤหัสบดีถ้านับวงแหวนเข้าไปด้วย จะมีขนาดเท่าดาวพฤหัสบดีดาว
เสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุดกล่าวคือมีความหนาแน่นเพียง 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่า
ความหนาแน่นของน้า ดังนั้นหากมีน้าจานวนมากรองรับ ดาวเสาร์ก็จะลอยน้าได้ เนื่องจากดาวเสาร์อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์
ประมาณ 2 เท่าของระยะดาวพฤหัสบดีจากดวงอาทิตย์ จึงใช้เวลานานเกือบ 30 ปีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ แต่ดาวเสาร์
หมุนรอบตัวเองเร็วมาก จึงทาให้โป่ งออกทางด้านข้างมากกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นสามารถสังเกตได้แม้ในภาพถ่ายขนาดเล็ก
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวยูเรนัส(Uranus)เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์
เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัส
เป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่มีรอย ต่อมา นักดาราศาสตร์ได้พบดาวบริวารห้าดวงในปี 1977 ได้มีการพบวงแหวน
ของดาวยูเรนัส ถึงแม้ว่านักดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุดแต่เขาก็ยังไม่สามารถค้นหาอะไรได้มากมายนัก
เกี่ยวกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยานอวกาศวอยาเจอร์2 ได้บินผ่านดาวยูเรนัสและได้ส่งภาพที่ชัดเจนของดาวยูเรนัสและวง
แหวนตลอดจนดาวบริวารของมันกลับมายังพื้นโลก
ยานสารวจวอยเอเจอร์ 2 โคจรผ่านดาวยูเรนัสในปีค.ศ.1986
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวเนปจูน(Neptune) ดาวเคราะห์ดวงใหม่มีสีน้าเงินมีชื่อว่าดาวเนปจูนตามชื่อเทพเจ้าแห่งทะเลโรมัน ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาว
ยูเรนัส มันเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ในระบบสุริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลกมาก จึงทาให้มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูน
สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตา มันดูคล้ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่มียานอวกาศที่เคยไปยังดาวเนปจูน สิ่งที่เรารู้ทั้งหมดก็คือ ดาว
เคราะห์ดวงนี้มองเห็นจากโลก
ภาพวาดยานวอยเอเจอร์ 2 ขณะเดินทางไปถึงดาวเนปจูนและดวงจันทร์ Triton ของดาวเนปจูน
ดาวเคราะห์น้อย
• ดาวเคราะห์น้อย เป็นเทหวัตถุขนาดเล็กๆ จานวนมากอยู่ในระบบสุริยะ เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์
โดยมีแถบวงโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีและโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 2.8 หน่วยดาราศาสตร์
ขณะนี้เชื่อว่าในระบบสุริยะมีดาวเคราะห์น้อยอยู่ประมาณ 100,000 ดวงแล้ว เราไม่สามารถมองเห็นดาวเคราะห์น้อยด้วยตา
เปล่าได้ จะต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่จึงจะเห็นได้
ดาวเคราะห์น้อย
•
Giuseppe Piazzi
ดาวเคราะห์น้อยซีเรส
ดาวเคราะห์น้อย
• จุดกาเนิดของดาวเคราะห์น้อย จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ต่างให้รายละเอียดไม่ตรงกัน แต่โดยทั่วไปก็มีผลการวิจัยเป็น
หลักฐานสนับสนุนอยู่มากกว่าว่าดาวเคราะห์น้อยนั้นเกิดจากการแตกสลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยของดาวเคราะห์ใหญ่ดวงหนึ่งใน
อดีต เมื่อคานวณมวลรวมของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด เข้าด้วยกันเป็นก้อนเดียว พบว่าวัตถุนั้นอาจมีขนาดเล็ก กว่าครึ่งหนึ่ง
ของดวงจันทร์เท่านั้น นอกจากนั้นยังพบว่าดาวเคราะห์น้อยมีองค์ประกอบที่เต็มไปด้วยแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์สาหรับงาน
อุตสาหกรรมบนโลก เช่น เหล็ก ไททาเนียม
แถบดาวเคราะห์น้อย (ASTEROID BELT)
•
แถบดาวเคราะห์น้อย (ASTEROID BELT)
•
•
ดาวเคราะห์แคระ
•
ปัจจุบัน มีวัตถุบนท้องฟ้ าที่จัดเป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่
ดาวหาง (COMETS)
• ดาวหางเป็นเทหวัตถุที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีแสงสว่างในตัว เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ โดยมีวงโคจรอยู่ระหว่างดาวเคราะห์ และ
เคลื่อนที่อยู่รอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีมาก รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงจะแตกต่างกันไปตามระยะทางที่ดาวหางอยู่
ห่างไกลจากดวงอาทิตย์
ฝนดาวตก
•
ดาวตก ( METEOR )
•
สะเก็ดดาวหาง หรือ อุกกาบาต
•
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์

More Related Content

What's hot

ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงyasotornrit
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 

What's hot (20)

ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลง
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้นWichai Likitponrak
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากnokbiology
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองnokbiology
 

Viewers also liked (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนอง
 

Similar to 7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์

บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4pageใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1pageใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 

Similar to 7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์ (20)

บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาว
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4pageใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-4page
 
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1pageใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1page
ใบความรู้+ถดุกาลตอนที่ 2+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f20-1page
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์

  • 2. ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ [ตอนที่ 2] • 1. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง • 2. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ • 3. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ • 4. ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
  • 4. • ระบบวงโคจรของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ (SUN - EARTH - MOON CONNECTION) ทาให้เกิดปรากฏการณ์ ทางดาราศาสตร์ ในรอบวัน รอบเดือน หรือรอบปี ส่วนใหญ่จะเป็นปรากฏการณ์ทางแสง ได้แก่ กลางวันกลางคืน, ฤดูกาล, ข้างขึ้นข้างแรม, สุริยุปราคา, จันทรุปราคา ส่วนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ น้าขึ้นน้าลง ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ •กลางวันกลางคืน เกิดจาก โลกหมุนรอบตัวเอง •ฤดูกาล เกิดจากแกนโลกเอียงขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ •ข้างขึ้นข้างแรม เกิดจากภาพปรากฏของดวงจันทร์ที่มองจากโลกเปลี่ยนไป เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก •น้าขึ้นน้าลง เกิดจาก แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ที่กระทาต่อน้าในมหาสมุทร •สุริยุปราคา เกิดจาก เงาของดวงจันทร์ทอดลงมายังโลก •จันทรุปราคา เกิดจาก เงาของโลกทอดไปยังดวงจันทร์
  • 5. เกร็ดความรู้เรื่องเวลา ที่ควรทราบ • โลกหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบได้มุม 360 องศา ใช้เวลา 23 ชั่วโมง 56 นาที เรียกว่า วันทางดาราคติ (SIDEREAL DAY) โดยถือ ระยะเวลาที่ดาวฤกษ์ดวงเดิมเคลื่อนที่ผ่านเส้น PRIME MERIDIAN (RA=0 ชั่วโมง) สองครั้งเป็นสิ่งอ้างอิง • เวลามาตรฐานที่เราใช้ในนาฬิกาบอกเวลาเป็น เวลาสุริยคติ (SOLAR DAY) ซึ่งถือระยะเวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านเส้นเม อริเดียนสองครั้งเป็นสิ่งอ้างอิง หนึ่งวันจึงเท่ากับ 24 ชั่วโมงพอดี จะเห็นได้ว่า หนึ่งวันสุริยคติมีระยะเวลานานกว่าหนึ่งวัน ดาราคติ 4 นาที เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงทาให้ตาแหน่งของดาวบนท้องฟ้าในแต่ละวันเปลี่ยนไปวันละ1 องศา • ปฏิทินสากลเป็นปฏิทินทางสุริยคติ (SOLAR CALENDAR) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็น 12 เดือน ๆ ละ 30 หรือ 31 วัน และ เดือนกุมภาพันธ์มี28 วัน แต่ในทุกๆ 4 ปี จะมีปีอธิกสุรทิน ซึ่งเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 ว้น เพื่อเพิ่มชดเชยเวลาที่โลกโคจร รอบดวงอาทิตย์ใช้เวลารอบละ 365.25 ว้น (SIDEREAL YEAR) • ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 29.5 วัน ทาให้เราจึงมองเห็นดวงจันทร์ ปฏิทินพระเป็นปฏิทินทาง จันทรคติ (LUNAR CALENDAR) แบ่งออกเป็น 12 เดือนๆ ละ 30 วัน
  • 6. ข้างขึ้นข้างแรม • ข้างขึ้นข้างแรม (THE MOON’S PHASES) เกิดขึ้นเนื่องจากดวงจันทร์มีรูปร่างเป็นทรงกลม ไม่มีแสงในตัวเอง ด้านสว่าง ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ แต่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ถูกบังด้วยเงาของตัวเอง ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ทาให้มุม ระหว่างดวงอาทิตย์-ดวงจันทร์-โลก เปลี่ยน เปลี่ยนแปลงไปวันละ 12 องศา เมื่อมองดูดวงจันทร์จากโลก เราจึงมองเห็น เสี้ยวของดวงจันทร์มีขนาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบดังภาพ ใช้ประมาณ 30 วัน
  • 7. ข้างขึ้นข้างแรม • คนไทยแบ่งเดือนทางจันทรคติ (LUNAR MONTH) ออกเป็น 30 วัน คือ วันขึ้น 1 ค่า - วันขึ้น 15 ค่า และ วันแรม 1 ค่า - วัน แรม 15 ค่า โดยถือให้วันขึ้น 15 ค่า (ดวงจันทร์สว่างเต็มดวง),วันแรม 15 ค่า (ดวงจันทร์มืดทั้งดวง), วันแรม 8 ค่า และวัน ขึ้น 8 ค่า (ดวงจันทร์สว่างครึ่งดวง)เป็นวันพระ
  • 8. ข้างขึ้นข้างแรม • วันแรม 15 ค่า (NEW MOON): เมื่อดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านเงามืดเข้าหาโลก ตาแหน่งปรากฏ ของดวงจันทร์อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์ แสงสว่างของดวงอาทิตย์ ทาให้เราไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้เลย
  • 9. ข้างขึ้นข้างแรม • วันขึ้น 8 ค่า (FIRST QUARTER): เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนมาอยู่ในตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้าน สว่างและด้านมืดของดวงจันทร์มีขนาดเท่ากัน
  • 10. ข้างขึ้นข้างแรม • วันขึ้น 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (FULL MOON): ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านที่ได้รับ แสงอาทิตย์เข้าหาโลกทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง
  • 11. ข้างขึ้นข้างแรม • วันแรม 8 ค่า (THIRD QUARTER): ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้าน สว่างและด้านมืดของดวงจันทร์มีขนาดเท่ากัน
  • 12. วิธีสังเกตข้างขึ้นข้างแรม • คนโบราณมองเห็นพื้นที่สีคล้าซึ่งเต็มไปด้วยหลุมอุกาบาตบนดวงจันทร์เป็นรูป กระต่าย ดังภาพที่ 2 เราสามารถใช้รูปกระต่ายบนดวงจันทร์ช่วยสังเกตข้างขึ้นข้างแรมได้ ดังนี้ • วันขึ้น 15 ค่่า (FULL MOON): ดวงจันทร์อยู่ทางด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เราจะ มองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง ขึ้นที่ขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกเวลาประมาณ 6 โมงเย็น • ข้างแรม (WANING MOON): เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 29.5 วัน ทา ให้เรามองเห็นดวงจันทร์ขึ้นช้าวันละ 50 นาที หรือประมาณ 12 องศา เราจึงมองเห็นดวง จันทร์ตอนเย็นก่อนดวงอาทิตย์ตก และเห็นหัวกระต่าย เสี้ยวของดวงจันทร์บางขึ้น จนกระทั่งมืดหมดทั้งดวงในวันแรม 15 ค่า • วันแรม 15 ค่า (NEW MOON): ดวงจันทร์อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก เราจึงมองเห็นแต่ เงามืดของดวงจันทร์ ดวงจันทร์จะขึ้นและตกพร้อมๆ กับดวงอาทิตย์ • ข้างขึ้น (WAXING MOON): เราจะมองเห็นดวงจันทร์ตอนรุ่งเช้าก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น และ ไม่เห็นหัวกระต่าย เสี้ยวของดวงจันทร์จะหนาขึ้นจนกระทั่งสว่างเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่า
  • 13. ควรรู้เพิ่มเติม • ความเป็นจริงดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ ใช้เวลา 29.5 วัน ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ในวันขึ้น 15 ค่า ในบางเดือน ดวงจันทร์ไม่ สว่างเต็มดวง 100% • ในช่วงเวลาที่ดวงจันทร์ปรากฏเป็นเสี้ยวบางแต่เราสามารถมองเห็นด้านมืดของดวงจันทร์ได้ดังภาพที่ 3 เนื่องจากแสงอาทิตย์ ส่องกระทบพื้นผิวโลกแล้วสะท้อนไปยังดวงจันทร์ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “แสงโลก” (EARTH SHINE)
  • 14. น้าขึ้นน้าลง • แรงไทดัล เมื่อดาวดวงหนึ่งได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหนึ่ง ด้านที่อยู่ใกล้จะได้ถูกดึงดูดมากกว่าด้านที่อยู่ ไกล ความแตกต่างของแรงทั้งด้านจะทาให้เกิดความเครียดภายในถ้าเนื้อของดาวไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทาให้ดาวแตกได้ ถ้า เนื้อของดาวมีความหยุ่นก็จะทาให้ดาวยืดออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในที่แตกต่างนี้ว่า "แรงไทดัล" (TIDAL FORCE) ยกตัวอย่างเช่น แรงที่ทาให้ดวงจันทร์บริวารแตกเป็นวงแหวนของดาวเสาร์ แรงที่ทาให้ดาวพุธเป็นทรงรี และแรงที่ทาให้เกิด น้าขึ้นน้าลง
  • 15. น้าขึ้นน้าลง • ตามกฏแปรผกผันยกกาลังสองของนิวตัน เมื่อวัตถุอยู่ไกลจากกันแรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุจะลดลง ดังนั้นเมื่อวางลูก บิลเลียดสามลูกในอวกาศ โดยเรียงลาดับระยะห่างจากดาวเคราะห์ดังภาพที่ 1 แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูก บิลเลียดหมายเลข 3 มากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 2 และมากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่าง ดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 1 ตามลาดับ
  • 16. น้าขึ้นน้าลง • เมื่อเวลาผ่านไป ในภาพที่ 2 ลูกบิลเลียดหมายเลข 3 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางมากที่สุด ลูกบิลเลียดหมายเลข 2 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางน้อยกว่า ลูกบิลเลียดหมายเลข 1 จะเคลื่อนที่เข้าหาดาวเคราะห์ เป็นระยะทางน้อยที่สุด
  • 17. น้าขึ้นน้าลง • หากเราจ้องมองที่ลูกบิลเลียดหมายเลข 2 ดังภาพที่ 3 จะมองเห็นว่า ระยะทางระหว่างลูกบิลเลียดหมายเลข 1 และ 2” และ ระยะทางระหว่างลูกบิลเลียดหมายเลข 2 และ 3” เพิ่มมากขึ้น เราเรียกแรงที่กระทาให้ลูกบิลเลียดทั้งสามลูกกระจายห่างจาก กันนี้ว่า แรงไทดัล
  • 18. เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน • แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์กระทำ ณ ตำบลต่ำงๆ ของโลกแตกต่ำงกัน โดยสำมำรถวำดลูกศรแสดงขนำดและทิศทำงของแรง ดึงดูด ซึ่งเกิดจำกอิทธิพลควำมโน้มถ่วงของดวงจันทร์ ได้ดังภำพที่ 4
  • 19. เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน • เมื่อพิจารณาแรงไทดัล ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดัลภายในโลกมีขนาดเท่ากับ ความแตกต่างระหว่างแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ที่ กระทาต่อจุดนั้นๆ กับแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ที่กระทาต่อศูนย์กลางของโลก ซึ่งสามารถเขียนลูกศรแสดงขนาดและทิศทางของ แรงในภาพที่ 5
  • 20. เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน • เนื่องจากเปลือกโลกเป็นของแข็ง จึงไม่สามารถยืดหยุ่นตัวไปตามแรงไทดัลซึ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ได้ แต่ทว่า พื้นผิวส่วนใหญ่ของโลกปกคลุมด้วยน้าในมหาสมุทร จึงปรับตัวเป็นรูปทรงรี ตามแรงไทดัลที่เกิดขึ้นดังรูปที่ 6 ทาให้เกิด ปรากฏการณ์ "น้าขึ้นน้าลง" (TIDES)​ โดยที่ระดับน้าทะเลจะขึ้นสูงสุดบนด้านที่หันเข้าหาดวงจันทร์และด้านตรงข้ามดวง จันทร์ (ตาแหน่ง H และ H’) และระดับน้าทะเลจะลงต่าสุดบนด้านที่ตั้งฉากกับดวงจันทร์ (ตาแหน่ง L และ L’) โลกหมุนรอบ ตัวเอง 1 รอบ ทาให้ ณ ตาแหน่งหนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคลื่อนผ่านบริเวณที่เกิดน้าขึ้นและน้าลงทั้งสองด้าน ทาให้เกิดน้าขึ้นน้า ลง วันละ 2 ครั้ง
  • 21. เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน • เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก ขณะที่โลกเองก็หมุนรอบตัวเอง จึงทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์ขึ้นช้าไปวันละ 50 นาที หนึ่งวัน มีน้าขึ้น 2 ครั้ง ดังนั้นน้าขึ้นครั้งต่อไปจะต้องบวกไปอีก 12 ชั่วโมง 25 นาที เช่น น้าขึ้นครั้งล่าสุดน้าขึ้นเวลา 24.00 น. น้าขึ้นครั้ง ต่อไปประมาณเวลา 12.25 น. และในวันถัดไปน้าจะขึ้นประมาณเวลา 00.50 น.
  • 29. สุริยุปราคา • • เงามืด (UMBRA) เป็นเงาที่มืดที่สุดเนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น หากเราเข้าไปอยู่ในเขตเงามืดจะไม่สามารถ มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย •
  • 30. • • สุริยุปราคาเต็มดวง(TOTAL SOLAR ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อผู้สังเกตการณ์อยู่ในเงามืดบนพื้นผิวโลก (A) จะมองเห็นดวงจันทร์บัง ดวงอาทิตย์ได้มิดดวง • • สุริยุปราคาวงแหวน (ANNULAR SOLAR ECLIPSE) เนื่องจากวงโคจรของดวงจันทร์เป็นรูปวงรี บางครั้งดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลก มาก จนเงามืดของดวงจันทร์ทอดยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจันทร์จึงมีขนาดปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้สังเกตการณ์ มองเห็นดวงอาทิตย์เป็นรูปวงแหวน
  • 31. Total Solar Eclipse Partial Solar Eclipse Annular Solar Eclipse
  • 32. • ประเภทของสุริยุปราคา หมายเหตุ: เนื่องจากแสงอาทิตย์มีพลังงานสูงมาก การสังเกตสุริยุปราคาจาเป็นต้องใช้แผ่นกรองแสงอาทิตย์ (Solar Filter) ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ใน การสังเกตการณ์โดยเฉพาะ การสังเกตการณ์ด้วยตาเปล่าจะกระทาได้เฉพาะช่วงเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านัั้น
  • 33. จันทรุปราคา • จันทรุปราคา หรือ จันทรคราส เกิดขึ้นจากดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงาของโลก เราจึงมองเห็นดวงจันทร์แหว่งหายไปในเงา มืดแล้วโผล่กลับออกมาอีกครั้ง คนไทยสมัยโบราณเรียกปรากฎการณ์นี้ว่า "ราหูอมจันทร์" จันทรุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืน วันเพ็ญ 15 ค่า หรือคืนวันพระจันทร์เต็มดวง อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์จันทรุปราคาไม่เกิดขึ้นทุกเดือนเนื่องจากระนาบที่โลก โคจรรอบดวงอาทิตย์และระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกันเป็นมุม 5 องศา ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะ เกิดจันทรุปราคาเพียงปีละ 1 - 2 ครั้ง
  • 35. เงาโลก • เงามืด (UMBRA) เป็นเงาที่มืดที่สุด เนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น หากเราเข้าไปอยู่ในเขตเงามืด จะไม่สามารถ มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย
  • 38. • เนื่องจากระนาบวงโคจรของดวงจันทร์และระนาบวงโคจรของโลกไม่ซ้อนทับกันพอดี จึงทาให้เกิดจันทรุปราคาได้ 3 แบบ ดังนี้ • จันทรุปราคาเต็มดวง (TOTAL ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ทั้งดวงเข้าไปอยู่ในเงามืดของโลก • จันทรุปราคาบางส่วน (PARTIAL ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อบางส่วนของดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในเงามืด • จันทรุปราคาเงามัว (PENUMBRA ECLIPSE) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงามัวเพียงอย่างเดียว เราจึงมองเห็นดวง จันทร์เต็มดวงมีสีคล้าเนื่องจากความสว่างลดน้อยลง จันทรุปราคาเงามัวหาดูได้ยาก เพราะโดยทั่วไปดวงจันทร์มักจะผ่านเข้าไปในเงามืดด้วย ประเภทของจันทรุปราคา
  • 41. ระบบสุริยะจักรวาล • ระบบสุริยะจักรวาล หรือ SOLAR SYSTEM ของเรานั้นประกอบไปด้วย ดาวน้อยใหญ่หลายดวง นอกจากนั้นยังมีพวกก้อนหิน ขนาดใหญ่หรือดาวเคราะห์น้อยอีกนับไม่ถ้วนซึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ ซึ่งอยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไปถึงบริเวณขอบของ ระบบสุริยะจักวาลและยังมีดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์อีก 166 ดวง วันนี้เราจะมาดูกันว่าดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาล ของเรามีอยู่กี่ดวง มีชื่อว่าอะไรบ้าง • ในระบบสุริยจักรวาลของเรานั้น มีดาวฤกษ์ซึ่งมีแสงสว่างในตัวเองเพียงแค่ดวงเดียวซึ่งก็คือดวงอาทิตย์ ในขณะที่มีดาวที่ถูกจัด ชั้นเป็นดาวเคราะห์อยู่ทั้งสิ้น 8 ดวง (แต่เดิมมี 9 ดวง เรียกว่ากลุ่มดาวนพเคราะห์ – นพ แปลว่า เก้า แต่ดาวพลูโตถูกลดชั้นจาดดาว เคราะห์เป็นเป็นดาวเคราะห์แคระ) ไม่นับรวมกับดวงจันทร์บริวาร ซึ่งไม่นับรวมเป็นดาวเคราะห์
  • 42. ระบบสุริยะจักรวาล • คาว่า ระบบสุริยะควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า ระบบสุริยะจักรวาลอย่างที่เรียกกันติด ปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่าจักรวาล ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และ ดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3 โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (PLANET) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อ สภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่า ดวงจันทร์ (SATELLITE) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมี ระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่า ความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (THE SUN) เป็นศูนย์กลาง มีดาว เคราะห์ (PLANETS) 8 ดวง เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน
  • 44. • และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (MOON OF SATTELITES) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่ มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (MINOR PLANETS) ดาวหาง (COMETS) อุกกาบาต (METEORITES) ตลอดจนกลุ่มฝุ่ นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่ อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลก กับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1AU.(ASTRONOMY UNIT) หน่วยดาราศาสตร์ ระบบสุริยะจักรวาล
  • 45. • ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกล เป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (OORT"S CLOUD) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ นอกนั้นจะ เป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่ นและก๊าซ ที่ล่องลอย ระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (GRAVITY) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไป ตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ระบบสุริยะจักรวาล
  • 46. • ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจาก ปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆถึงแม้ว่าดวง อาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงาน ออกมา ในอัตรา ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี ระบบสุริยะจักรวาล
  • 48. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณ กาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาว อังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7 ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิกับ ดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์ ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถูกคนพบภายหลัง แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง
  • 49. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวพุธ(Mercury) เป็นดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึงร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลวกลางคืนดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย ภาพถ่ายทั้งหลายที่เกี่ยวกับดาวพุธได้จากยานอวกาศที่ส่งขึ้นไปขณะเข้า ไปใหล้ดาวพุธที่สุดก็จะถ่ายภาพส่งมายังโลก ทาให้รู้ว่าพื้นผิวดาวพุธคล้ายกับผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็นฝุ่ นและหิน มีหลุม ลึกมากมาย ไม่มีอากาศ ไม่มีน้า ดาวพุธจึงเป็นดาวแห้งแล้ง ดาวแห่งความตายเป็นโลกแห่งทะเลทราย ยานสารวจมาริเนอร์ 10
  • 50. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวศุกร์(Venus)เป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์ร้อนถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทาให้ ของทุกอย่างลุกแดงดาวศุกร์มีไอหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น ไอหมอกนี้ไม่มีวันจางหายแม้ว่าแสงอาทิตย์จะจัดจ้า เพียงไร จึงเป็นไปไม่ได้ที่มนุษย์จะไปเยี่ยมดาวศุกร์ เพราะพอไปถึงเขาจะถูกย่างจนสุกด้วยความร้อนและถูกผลักดันด้วยแรงลม เขาจะ หายใจไม่ออกเพราะอากาศหนาหนักที่กดทับตัวนั้นเป็นอากาศพิษจากหมอกควันของกรดอากาศบนดาวศุกร์ประกอบด้วยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศโลกกว่า60เท่าผิวดาวศุกร์แห้งแล้ง เป็นหินและร้อนจัดนอกจากนี้ก็มี รอยแยกลึกและภูเขาไฟดับ
  • 51. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล โลก(Earth)หมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วัน เหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่ง มันจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ดังนั้น ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อนและซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาว และซีกโลกใต้เป็นฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวงอาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาว เท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือนกันยายน สถานการณ์จะกลับกัน
  • 52. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล โลกมีอายุประมาณ 4,700 ปี โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง เส้นรอบวงที่เส้นศูนย์สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล์) และที่ขั้วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล์)
  • 53. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวอังคาร(Mars)บางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็นหินสีแดงหินบนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้าของ ดาวดังคารเป็นสีชมพูเพราะฝุ่ นจากหินแดงที่ว่านี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหินแดงมีก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง หุบ เหว และเนินมากมาย หนึ่งปีบนดาวอังคารเกือบเทาสองปีโลก แต่หนึ่งวันบนดาวอังคารจะนานกว่าครึ่งชั่งโมงโลกเพียง เล็กน้อยดาวอังคารมีอากาศห่อหุ้มอยู่ไม่มากและเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลมพัดแรงจัดทาให้ฝุ่ นฟุ้ง ไปทั้งดวงดาว ดาวอังคาร มีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของโลกดาวอังคารอยูไกลดวงอาทิตย์มากกว่าโลกจึงทาให้มีบรรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมิบนดาวดวง นี้จะต่ากว่าจุดเยือกแข็ง
  • 54. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวพฤหัสบดี(Jupiter)เป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่น ของดาวพฤหัสบดีจึงต่า (1.33 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์ จะเห็นเป็นดวงกลมโตกว่าดาวเคราะห์ดวง อื่นๆ พร้อมสังเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตรด้วย กาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้องส่อง พบบริวารสี่ดวงใหญ่นี้ จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
  • 55. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวพฤหัสบดีมีบริวาร 63 ดวง โดยมี 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ซึ่งกาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้อง ส่องพบบริวารสี่ดวงใหญ่นี้เมื่อ ค.ศ. 1610 จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons) ซึ่งได้แก่ Callisto Io Europa และ Ganymede
  • 56. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวเสาร์(Saturn) เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงามจากวงแหวนที่ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้ ดาวเสาร์มีลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆดาวเสาร์มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีลมพายุพัดแรง ความเร็วถึง 1,125 ไมล์ต่อชั่วโมง มีขนาดใหญ่รองจากดาวพฤหัสบดีถ้านับวงแหวนเข้าไปด้วย จะมีขนาดเท่าดาวพฤหัสบดีดาว เสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุดกล่าวคือมีความหนาแน่นเพียง 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่า ความหนาแน่นของน้า ดังนั้นหากมีน้าจานวนมากรองรับ ดาวเสาร์ก็จะลอยน้าได้ เนื่องจากดาวเสาร์อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 2 เท่าของระยะดาวพฤหัสบดีจากดวงอาทิตย์ จึงใช้เวลานานเกือบ 30 ปีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ แต่ดาวเสาร์ หมุนรอบตัวเองเร็วมาก จึงทาให้โป่ งออกทางด้านข้างมากกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นสามารถสังเกตได้แม้ในภาพถ่ายขนาดเล็ก
  • 57. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวยูเรนัส(Uranus)เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์ เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่มีรอย ต่อมา นักดาราศาสตร์ได้พบดาวบริวารห้าดวงในปี 1977 ได้มีการพบวงแหวน ของดาวยูเรนัส ถึงแม้ว่านักดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุดแต่เขาก็ยังไม่สามารถค้นหาอะไรได้มากมายนัก เกี่ยวกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยานอวกาศวอยาเจอร์2 ได้บินผ่านดาวยูเรนัสและได้ส่งภาพที่ชัดเจนของดาวยูเรนัสและวง แหวนตลอดจนดาวบริวารของมันกลับมายังพื้นโลก ยานสารวจวอยเอเจอร์ 2 โคจรผ่านดาวยูเรนัสในปีค.ศ.1986
  • 58. ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ดาวเนปจูน(Neptune) ดาวเคราะห์ดวงใหม่มีสีน้าเงินมีชื่อว่าดาวเนปจูนตามชื่อเทพเจ้าแห่งทะเลโรมัน ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาว ยูเรนัส มันเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ในระบบสุริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลกมาก จึงทาให้มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูน สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตา มันดูคล้ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่มียานอวกาศที่เคยไปยังดาวเนปจูน สิ่งที่เรารู้ทั้งหมดก็คือ ดาว เคราะห์ดวงนี้มองเห็นจากโลก ภาพวาดยานวอยเอเจอร์ 2 ขณะเดินทางไปถึงดาวเนปจูนและดวงจันทร์ Triton ของดาวเนปจูน
  • 59. ดาวเคราะห์น้อย • ดาวเคราะห์น้อย เป็นเทหวัตถุขนาดเล็กๆ จานวนมากอยู่ในระบบสุริยะ เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีแถบวงโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีและโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 2.8 หน่วยดาราศาสตร์ ขณะนี้เชื่อว่าในระบบสุริยะมีดาวเคราะห์น้อยอยู่ประมาณ 100,000 ดวงแล้ว เราไม่สามารถมองเห็นดาวเคราะห์น้อยด้วยตา เปล่าได้ จะต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่จึงจะเห็นได้
  • 61. ดาวเคราะห์น้อย • จุดกาเนิดของดาวเคราะห์น้อย จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ต่างให้รายละเอียดไม่ตรงกัน แต่โดยทั่วไปก็มีผลการวิจัยเป็น หลักฐานสนับสนุนอยู่มากกว่าว่าดาวเคราะห์น้อยนั้นเกิดจากการแตกสลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยของดาวเคราะห์ใหญ่ดวงหนึ่งใน อดีต เมื่อคานวณมวลรวมของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด เข้าด้วยกันเป็นก้อนเดียว พบว่าวัตถุนั้นอาจมีขนาดเล็ก กว่าครึ่งหนึ่ง ของดวงจันทร์เท่านั้น นอกจากนั้นยังพบว่าดาวเคราะห์น้อยมีองค์ประกอบที่เต็มไปด้วยแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์สาหรับงาน อุตสาหกรรมบนโลก เช่น เหล็ก ไททาเนียม
  • 65. ดาวหาง (COMETS) • ดาวหางเป็นเทหวัตถุที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีแสงสว่างในตัว เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ โดยมีวงโคจรอยู่ระหว่างดาวเคราะห์ และ เคลื่อนที่อยู่รอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีมาก รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงจะแตกต่างกันไปตามระยะทางที่ดาวหางอยู่ ห่างไกลจากดวงอาทิตย์